ไปหน้าแรก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1

พระวินัยปิฏก

เล่ม ๑ ภาค ๓

มหาวิภังค์ ปฐมภาค

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

เตรสกัณฑ์

ท่านทั้งหลาย ก็ธรรมคือสังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบทเหล่านี้แล

มาสู่อุเทศ.

สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๑

เรื่องพระเสยยสกะ

[๓๐๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ท่านพระเสยยสกะ ไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ เพราะความกระสันนั้น

เธอจึงซูบผอมเศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีร่างกาย

สะพรั่งด้วยเอ็น ท่านพระอุทายีได้เห็นท่านพระเสยยสกะ ซูบผอมเศร้า-

หมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีร่างกายสะพรั่งด้วยเอ็น

ครั้นแล้วจึงได้ถามว่า อาวุโส เสยยสกะ เพราะเหตุไร คุณจึงซูบผอม

เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีร่างกายสะพรั่งด้วยเอ็น

คุณจะไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์กระมังหนอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 2

ท่านพระเสยยสกะรับสารภาพว่า จริงอย่างนั้น ขอรับ

ท่านพระอุทายีแนะนำว่า ดูก่อนคุณเสยยสกะ ถ้าอย่างนั้น คุณจง

ฉันอาหารให้พอแก่ความต้องการ จำวัดให้พอแก่ความต้องการ สรงน้ำ

ให้พอแก่ความต้องการ ครั้นฉันอาหาร จำวัด สรงน้ำ พอแก่ความ

ต้องการแล้ว เมื่อใดความกระสันบังเกิดแก่คุณ ราคะรบกวนจิตคุณ

เมื่อนั้นคุณจงใช้มือพยายามปล่อยอสุจิ

เส. ทำเช่นนั้น ควรหรือ ขอรับ

อุ. ควรชิ คุณ แม้ผมก็ทำเช่นนั้น

ต่อมา ท่านพระเสยยสกะฉันอาหารพอแก่ความต้องการ จำวัดพอ

แก่ความต้องการ สรงน้ำพอแก่ความต้องการ ครั้นฉันอาหาร จำวัด

สรงน้ำพอแก่ความต้องการแล้ว เมื่อใดความกระสันบังเกิด ราคะรบกวน

จิต เมื่อนั้นก็ใช้มือพยายามปล่อยอสุจิ สมัยต่อมา ท่านเสยยสกะได้เป็นผู้

มีผิวพรรณ มีอินทรีย์อิ่มเอิบ มีสีหน้าสดใส มีฉวีวรรณผุดผ่อง จึงพวก

ภิกษุสหายของท่านพระเสยยสกะถามท่านพระเสยยสกะว่า อาวุโส เสยยสกะ

เมื่อก่อนคุณซูบผอมเศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีร่าง-

กายสะพรั่งด้วยเอ็น เดี๋ยวนี้คุณมีผิวพรรณ มีอินทรีย์อิ่มเอิบ มีสีหน้าสดใส

มีฉวีวรรณผุดผ่อง คุณทำอะไรฉันหรือ

เส. ผมไม่ได้ทำยาฉัน แต่ผมฉันอาหารพอแก่ความต้องการ จำวัด

พอแก่ความต้องการ สรงน้ำพอแก่ความต้องการ ครั้นฉันอาหาร สรงน้ำ

จำวัดพอแก่ความต้องการแล้ว เมื่อใดความกระสันบังเกิดแก่ผม ราคะ

รบกวนจิตผม เมื่อนั้นผมก็ใช้มือพยายามปล่อยอสุจิ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 3

ภิ. อาวุโส เสยยสกะ คุณพยายามปล่อยอสุจิ ด้วยมือซึ่งเป็นเครื่อง

ฉันอาหารที่เขาถวายด้วยศรัทธาเทียวหรือ

เส. เป็นอย่างนั้น ขอรับ

บรรดาภิกษุที่มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านพระเสยยสกะ

จึงได้ใช้มือพยายามปล่อยอสุจิเล่า ภิกษุเหล่านั้น พากันติเตียนท่านพระ-

เสยยสกะโดยอเนกปริยาย แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

เสยยสกะว่า ดูก่อนเสยยสกะ ข่าวว่า เธอใช้มือพยายามปล่อยอสุจิ

จริงหรือ

ท่านเสยยสกะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้ใช้มือพยายามปล่อยอสุจิเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อ

คลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่

เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมีความถือมั่น มิใช่

หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดงแล้ว เพื่อคลายความกำหนัด

เธอยังจักคิดเพื่อมีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจัก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 4

คิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อ

มีความถือมั่น

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อ

เป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อเป็นสร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่

บรรเทาความระหาย เพื่อเพิกถอนอาลัย เพื่อเข้าไปตัดวัฏฏะ เพื่อสิ้น

แห่งตัณหา เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับทุกข์ เพื่อความไม่มี

กิเลสเครื่องร้อยรัด มิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม

การกำจัดความระหายในกาม การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม

การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดยอเนกปริยาย

มิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การการทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

(พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนท่านพระเสยยสกะโดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว) ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 5

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๕. ๑. ปล่อยสุกกะเป็นไปด้วยความจงใจ เป็นสังฆาทิเสส

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องพระเสยยสกะ จบ

เรื่องภิกษุหลายรูป

[๓๐๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายฉันโภชนะอันประณีตแล้ว

จำวัดปล่อยสติไม่มีสัมปชัญญะ เมื่อเธอจำวัดปล่อยสติไม่มีสัมปชัญญะ อสุจิ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 6

เคลื่อนโดยฝัน เธอมีความรังเกียจว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ

สิกขาบทไว้ว่า ปล่อยสุกกะเป็นไปด้วยความจงใจ เป็นสังฆาทิเสส แต่

อสุจิของพวกเราเคลื่อนโดยฝัน ทั้งเจตนาความฝันนี้จะว่ามีก็ได้ ชะรอย

พวกเราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เจตนานี้มีอยู่ แต่นั่น

เป็นอัพโพหาริก

ทรงบัญญัติพระอนุบัญญัติ

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ...

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระอนุบัญญัติ

๕. ๑. ก. ปล่อยสุกกะเป็นไปด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน

เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องภิกษุหลายรูป

สิกขาบทวิภังค์

[๓๐๓] บทว่า เป็นไปด้วยความจงใจ ความว่า รู้อยู่ รู้ดีอยู่ จงใจ

ตั้งใจละเมิด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 7

บทว่า สุกกะ อธิบายว่า สุกกะมี ๑๐ อย่าง คือ สุกกะสีเขียว ๑

สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง ๑ สุกะสีขาว ๑ สุกกะสีเหมือนเปรียง ๑

สุกกะสีเหมือนน้ำท่า ๑ สุกกะสีเหมือนน้ำมัน ๑ สุกกะสีเหมือนนมสด ๑

สุกกะสีเหมือนนมส้ม ๑ สุกกะสีเหมือนเนยใส ๑

การกระทำอสุจิให้เคลื่อนจากฐานตรัสเรียกว่า การปล่อย ชื่อว่า

การปล่อย.

บทว่า เว้นไว้แต่ฝัน คือว่า ยกเว้นความฝัน.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ได้ ชักเข้าหาอาบัติเดิมได้ ให้มานัตได้ เรียกเข้าหมู่ได้ ไม่ใช่คณะมาก

รูปด้วยกัน ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆา-

ทิเสส คำว่า สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของหมวด

อาบัตินั้นแล แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

(อุบาย ๔)

[๓๐๔] ภิกษุปล่อยสุกกะในรูปภายใน ๑ ปล่อยสุกกะในรูปภาย

นอก ๑ ปล่อยสุกกะในรูปทั้งที่เป็นภายในทั้งที่เป็นภายนอก ๑ ปล่อยเมื่อ

ยังสะเอวให้ไหวในอากาศ ๑

(กาล ๕)

ปล่อยเมื่อเวลาเกิดความกำหนัด ๑ ปล่อยเมื่อเวลาปวดอุจจาระ

ปล่อยเมื่อเวลาปวดปัสสาวะ ๑ ปล่อยเมื่อเวลาต้องลม ๑ ปล่อยเมื่อเวลา

ถูกบุ้งขน ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 8

(ความประสงค์ ๑๐)

ปล่อยเพื่อประสงค์ความหายโรค ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์ความสุข ๑

ปล่อยเพื่อประสงค์เป็นยา ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์ให้ทาน ๑ ปล่อยเพื่อ

ประสงค์เป็นบุญ ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์บูชายัญ ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์ไป

สวรรค์ ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์เป็นพืช ๑ ปล่อยเพื่อประสงค์จะทดลอง ๑

ปล่อยเพื่อประสงค์ความสนุก ๑

(วัตถุประสงค์ ๑๐)

ปล่อยสุกกะสีเขียว ๑ ปล่อยสุกกะสีเหลือง ๑ ปล่อยสุกกะสีแดง ๑

ปล่อยสุกกะสีขาว ๑ ปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง ๑ ปล่อยสุกะสีเหมือน

น้ำท่า ๑ ปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด ๑ ปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม

ปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส ๑. ปล่อยสุกกะสีเหมือน้ำมัน ๑

[๓๐๕] บทว่า รูปภายใน ได้แก่ รูปที่มีวิญญาณครอง เป็น

ภายใน.

บทว่า รูปภายนอก ได้แก่ รูปที่มีวิญญาณครอง หรือรูปที่ไม่มี

วิญญาณครอง เป็นภายนอก.

บทว่า รูปทั้งที่เป็นภายในทั้งที่เป็นภายนอก ได้แก่ รูปทั้งสองนั้น.

บทว่า เมื่อยังสะเอวให้ไหวในอากาศ คือ เมื่อพยายามในอากาศ

องค์กำเนิดเป็นอวัยวะใช้การได้.

บทว่า เมื่อเวลาเกิดความกำหนัด คือ เมื่อถูกราคะบีบคั้นแล้ว

องค์กำเนิดเป็นอวัยวะใช้การได้.

บทว่า เมื่อเวลาปวดอุจจาระ คือ เมื่อปวดอุจจาระ องค์กำเนิด

เป็นอวัยวะใช้การได้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 9

บทว่า เมื่อเวลาปวดปัสสาวะ คือเมื่อปวดปัสสาวะ องค์กำเนิด

เป็นอวัยวะใช้การได้.

บทว่า เมื่อเวลาต้องลม คือเมื่อลมโชยแล้ว องค์กำเนิดเป็น

อวัยวะใช้การได้.

บทว่า เมื่อเวลาถูกบุ้งขน คือเมื่อถูกบุ้งขนเบียดเบียนแล้ว องค์

กำเนิดเป็นอวัยวะใช้การได้.

บทว่า เพื่อประสงค์ความหายโรค คือเพื่อหวังว่าจักเป็นคนไม่มีโรค.

บทว่า เพื่อประสงค์ความสุข คือเพื่อหวังว่าจักยังสุขเวทนาให้เกิด.

บทว่า เพื่อประสงค์เป็นยา คือเพื่อนุ่งว่าจักเป็นยา.

บทว่า เพื่อประสงค์ให้ทาน คือเพื่อมุ่งว่าจักให้ทาน.

บทว่า เพื่อประสงค์เป็นบุญ คือเพื่อมุ่งว่าจักเป็นบุญ.

บทว่า เพื่อประสงค์บูชายัญ คือเพื่อมุ่งว่าจักบูชายัญ.

บทว่า เพื่อประสงค์ไปสวรรค์ คือเพื่อมุ่งว่าจักได้ไปสวรรค์.

บทว่า เพื่อประสงค์เป็นพืช คือเพื่อมุ่งว่าจักเป็นพืช.

บทว่า เพื่อประสงค์ทดลอง คือเพื่อมุ่งว่าจักทดลองดูว่า สุกกะ

จักเป็นเขียว สีเหลือง สีแดง สีขาว สีเหมือนเปรียง สีเหมือนน้ำท่า

สีเหมือนน้ำมัน สีเหมือนนมสด สีเหมือนน้ำมันหรือสีเหมือนเนยใส.

บทว่า เพื่อประสงค์ความสนุก คือมีความมุ่งหมายจะเล่น.

สุทธิกสังฆาทิเสส

อุบาย ๔ อย่าง

[๓๐๖] ภิกษุจงใจ พยายาม ในรูปภายใน สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 10

ภิกษุจงใจ พยายาม ในรูปภายนอก สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม ในรูปทั้งที่เป็นภายใน ทั้งที่เป็นภายนอก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อยังสะเอวให้ไหวในอากาศ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กาล ๕ อย่าง

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อเวลาเกิดความกำหนัด สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อปวดอุจจาระ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อเวลาปวดปัสสาวะ สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อเวลาต้องลม สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เมื่อเวลาถูกบุ้งขน สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ความประสงค์ ๑๐ อย่าง

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ความหายโรค สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ความสุข สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 11

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์เป็นยา สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ให้ทาน สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์เป็นบุญ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์บูชายัญ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์เป็นพืช สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ทดลอง สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อประสงค์ความสนุก สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

วัตถุประสงค์ ๑๐ อย่าง

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียวเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลืองเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดงเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาวเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 12

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียงเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่าเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือน้ำมันเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสดเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้มเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใสเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

สุทธิกสังฆาทิเสส จบ

ขัณฑจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๓๐๗] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อเป็นยา สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อให้ทาน สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 13

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อเป็นบุญ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อบูชายัญ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อควานหายโรคและเพื่อเป็นพืช สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อทดลอง สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรคและเพื่อความสนุก สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ขัณฑจักร มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๑ จบ

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๓๐๘] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อเป็นยา สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 14

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุขและเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๒

[๓๐๙] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อให้ทาน สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 15

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อความหายโรค สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยาและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๓

[๓๑๐] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อเป็นบุญ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 16

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทานและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๔

[๓๑๑] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อบูชายัญ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 17

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พุทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๕

[๓๑๒] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 18

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญและเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๖

[๓๑๓] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อเป็นพืช สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และทดลอง สุกกะเคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 19

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์และเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๗

[๓๑๔] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อทดลอง สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อความหายโรค และสุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 20

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืชและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๘

[๓๑๕] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อความสนุก สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อความหายโรค สุกกะ

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม พยายามทดลองและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 21

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๓๑๖] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อความหายโรค

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อความสุข สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 22

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อเป็นบุญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุก และเพื่อบูชายัญ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อเป็นพืช สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสนุกและเพื่อทดลอง สุกกะเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร มีความประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล จบ

แม้ขัณฑจักรและพัทธจักรมีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูลเป็น

ก็พึงทราบโดยนี้แล.

ขัณฑจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล

[๓๑๗] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข

และเพื่อเป็นยา สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

ให้ทาน สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

เป็นบุญ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 23

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

บูชายัญ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

ไปสวรรค์ สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

เป็นพืช สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

ทดลอง สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

ความสนุก สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักร มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล จบ

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๓๑๘] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และ

เพื่อให้ทาน สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 24

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา และเพื่อความหายโรค

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๒

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 25

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๓

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 26

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๔

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญเพื่อบูชายัญ และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 27

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อให้ทาน

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๕

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อให้ทาน

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 28

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๖

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อทดลอง

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อให้ทาน

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๗

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อความสนุก

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 29

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อให้ทาน

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๘

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อความ

หายโรค สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อความสุข

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 30

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อเป็นยา

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อให้ทาน

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อเป็นบุญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อบูชายัญ

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลองเพื่อความสนุก และเพื่อไปสวรรค์

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อทดลอง เพื่อความสนุก และเพื่อเป็นพืช

สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร มีความประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล จบ

[๓๑๙] ขัณฑจักร และพัทธจักร มีความประสงค์ ๓ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๔ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๕ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๖ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๗ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๘ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ ๙ อย่างเป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 31

ขัณฑจักรและพัทธจักร

มีความประสงค์ทุกอย่างเป็นมูล ดังต่อไปนี้:-

[๓๒๐] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข

เพื่อเป็นยา เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์

เพื่อเป็นพืช เพื่อทดลอง และเพื่อความสนุก สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีความประสงค์ทุกอย่างเป็นมูล จบ

ขัณฑจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล

[๓๒๑] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียวและสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 32

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียวและสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ขัณฑจักร มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล จบ

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๓๒๒] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 33

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๒

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 34

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๓

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 35

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๔

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 36

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสะ

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๕

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเขียวเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 37

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องฆาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๖

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือนนม

ส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 38

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๗

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 39

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๘

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 40

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสีเหมือนนม

สด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล หมวดที่ ๙

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 41

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส และสุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส.

พัทธจักรมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวเป็นมูล จบ

แม้ขัณฑจักร และพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๒อย่างเป็นมูลเป็นต้น

ก็พึงทราบโดยนัยนี้แล.

ขัณฑจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล

[๓๒๓] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และ

สุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 42

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักร มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล จบ

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๓๒๔] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และ

สุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 43

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๒

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 44

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๓

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และ

สุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๔

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 45

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๕

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 46

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พุทธจักร

วัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๖

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อนต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 47

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด

และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๗

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 48

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม

และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล หมวดที่ ๘

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีเขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 49

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

สุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม สุกกะสีเหมือนเนยใส

และสุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๒ อย่างเป็นมูล จบ

[๓๒๕] ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๓ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๔ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๕ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๖ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๗ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๘ อย่างเป็นมูล

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ ๙ อย่างเป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

ขัณฑจักรและพัทธจักร

มีวัตถุประสงค์ทุกอย่างเป็นมูล ดังต่อไปนี้:-

[๓๒๖] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะ

สีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 50

สุกกะสีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม และ

สุกกะสีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักร มีวัตถุประสงค์ทุกอย่างเป็นมูล จบ

อุภโตพัทธมิสสกจักร

[๓๒๗] ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค และสุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข สุกกะ

เขียว และสุกกะสีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข และเพื่อ

เป็นยา สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง และสุกกะสีแดง เคลื่อน ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

และเพื่อให้ทาน สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง และสุกกะ

สีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

เพื่อให้ทาน และเพื่อเป็นบุญ สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง

สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อ

เป็นยา เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ และเพื่อบูชายัญ สุกกะสีเขียว สุกกะ

สีเหลือง สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง และสุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 51

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ และเพื่อไปสวรรค์ สุกกะสีเขียว

สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว และสุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะ

สีเหมือนน้ำท่า และสุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ และเพื่อเป็นพืช

สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง

สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือนน้ำมัน และสุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช

และเพื่อทดลอง สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะสีแดง สุกกะสีขาว

สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะสีเหมือน้ำมัน สุกกะ

สีเหมือนนมสด และสุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม เพื่อความหายโรค เพื่อความสุข เพื่อเป็นยา

เพื่อให้ทาน เพื่อเป็นบุญ เพื่อบูชายัญ เพื่อไปสวรรค์ เพื่อเป็นพืช

เพื่อทดลอง และเพื่อความสนุก สุกกะสีเขียว สุกกะสีเหลือง สุกกะ

สีแดง สุกกะสีขาว สุกกะสีเหมือนเปรียง สุกกะสีเหมือนน้ำท่า สุกกะ

สีเหมือนน้ำมัน สุกกะสีเหมือนนมสด สุกกะสีเหมือนนมส้ม และสุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

อุภโตพัทธมิสสกจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 52

ขัณฑจักร

[๓๒๘] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะ

สีเหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียวพยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเชียว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนเนย-

ใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 53

พัทธจักร

[๓๒๙] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะ

สีแดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

เปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

น้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือ ง พยายาม สุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเขียวเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 54

กุจฉิจักร

กุจฉิจักร หมวดที่ ๑

[๓๓๐] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกะสีแดง พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กุจฉิจักร หมวดที่ ๒

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 55

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

[พึงทราบจักรทั้งหลายอย่างนี้]

กุจฉิจักร หมวดที่ ๓

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 56

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร หมวดที่ ๔

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 57

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร หมวดที่ ๕

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 58

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร หมวดที่ ๖

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 59

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร หมวดที่ ๗

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 60

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร หมวดที่ ๘

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยสด พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

แดง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 61

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

กุจฉิจักร จบ

ปิฏฐิจักร

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๑

[๓๓๑] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสี

เขียว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเขียว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 62

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสีเขียว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๑ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๒

[๓๓๒] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหลือง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 63

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหลือง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหลือง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๒ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๓

[๓๓๓] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสีแดง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 64

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีแดง เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๓ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๔

[๓๓๔] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม

สุกกะสีขาว เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อย สุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสีขาว

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีขาวเคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 65

ภิกษุใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีขาว เคลื่อน

่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีขาว เคลื่อน

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๔ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๕

[๓๓๕] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม

สุกกะสีเหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนเปรียง เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลีอง พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 66

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนเปรียง

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๕ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๖

[๓๓๖] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะ

สีเหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลีอง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 67

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำท่า

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำท่า เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๖ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๗

[๓๓๗] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม

สุกกะสีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสี

เหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะ

สีเหมือนน้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนน้ำมัน

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 68

ภิกษุจงใจว่า ปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหมือน

น้ำมัน เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๗

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๘

[๓๓๘] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม

สุกกะสีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม สุกกะ

สีเหมือนนมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมสด

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 69

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมสด เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๘ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๙

[๓๓๙] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเนยใส พยายาม

สุกกะสีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกกะสีเขียว พยายาม สุกกะเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนนมส้ม

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 70

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะ

สีเหมือนนมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีเหมือน

นมส้ม เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๙ จบ

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๑๐

[๓๘๐] ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเขียว พยายาม สุกกะ

สีเหมือนเนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหลือง พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีแดง พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีขาว พยายาม สุกกะสีเหมือนเนยใส

เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนเปรียง พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำท่า พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนน้ำมัน พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 71

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมสด พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจว่า จักปล่อยสุกกะสีเหมือนนมส้ม พยายาม สุกกะสีเหมือน

เนยใส เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ปิฏฐิจักร รอบที่ ๑๐ จบ

ปิฏฐิจักร จบ

[๓๔๑] ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะเคลื่อน ต้องอาบัติ สังฆาทิเสส

ภิกษุจงใจ พยายาม สุกกะไม่เคลื่อน ต้องอาบัติถุลลัจจัย

ภิกษุจงใจ ไม่พยายาม สุกกะเคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุจงใจ ไม่พยายาม สุกกะไม่เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุไม่จงใจ พยายาม สุกกะเคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุไม่จงใจ พยายาม สุกกะไม่เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุไม่จงใจ ไม่พยายาม สุกกะเคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุไม่จงใจ ไม่พยายาม สุกกะไม่เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๓๔๒] ภิกษุมีอสุจิเคลื่อนเพราะฝัน ๑ ภิกษุไม่ประสงค์จะให้

อสุจิเคลื่อน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน ภิกษุผู้กระสับ-

กระส่ายเพราะเวทนา ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 72

วินีตวัตถุ

คาถาแสดงชื่อเรื่อง

[๓๔๓] เรื่องฝัน เรื่องถ่ายอุจจาระ เรื่องถ่ายปัสสาวะ

เรื่องตรึกถึงกามวิตก เรื่องอาบน้ำร้อน เรื่องทายา

เรื่องเกาอัณฑะ เรื่องเดินทาง เรื่องหนังหุ้มองค์กำเนิด

เรื่องเรือนไฟ เรื่องขา เรื่องสามเณร

เรื่องสามเณรหลัก เรื่องหนีบด้วยขา เรื่องบีบด้วยกำมือ

เรื่องแอ่นในอากาศ เรื่องดัดกาย เรื่องเพ่งองค์กำเนิด

เรื่องสอดเข้าช่องดาล เรื่องสีกับไม้ เรื่องอาบน้ำทวนกระแส

เรืองเล่นโคลน เรื่องลุยน้ำ เรื่องเล่นไถลกัน

เรื่องลุยสระบัว เรื่องสอดเข้าในทราย เรื่องสอดเข้าในตม

เรื่องตักน้ำรด เรื่องสีบนที่นอน เรื่องสีกับนิ้วแม่มือ.

เรื่องฝัน

[ ๓๔๔] ก็โดยสมัยนั้นแล อสุจิของภิกษุรูปหนึ่งเคลื่อนเพราะฝัน

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแค่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ อสุจิ

เคลื่อนเพราะฝัน ไม่ต้องอาบัติ.

เรื่องถ่ายอุจจาระ

[๓๘๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังถ่ายอุจจาระอยู่ อสุจิ

เคลื่อนแล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัส ถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 73

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อนเลย พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ.

เรื่องถ่ายปัสสาวะ

[๓๔๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังถ่ายปัสสาวะอยู่ อสุจิ

เคลื่อนแล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อนเลย พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ.

เรื่องตรึกถึงกามวิตก

[๓๔๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังตรึกถึงกามวิตกอยู่

อสุจิเคลื่อนแล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อนเลย พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ ภิกษุตรึกถึงกามวิตก ไม่ต้องอาบัติ.

เรื่องอาบน้ำร้อน

[๓๔๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังอาบน้ำร้อนอยู่ อสุจิ

เคลื่อนแล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 74

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อนเลย พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุผู้ไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ.

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังอาบน้ำร้อน อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังอาบน้ำร้อนอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แค่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องทายา

[๓๙๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีแผลที่องค์กำเนิด เมื่อ

เธอกำลังทายา อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 75

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์ให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีแผลที่องค์กำเนิด เธอมีความ

ประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน กำลังทาย อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีแผลที่องค์กำเนิด เธอมีความ

ประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน กำลังทายา แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องเกาอัณฑะ

[๓๕๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังเกาอัณฑะ อสุจิเคลื่อน

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

คิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 76

ภ. ภิกษุผู้ไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังเกาอัณฑะ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้ทีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังเกาอัณฑะ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องเดินทาง

[๓๕๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังเดินทาง อสุจิเคลื่อน

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

คิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความจุประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังเดินทางไป อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 77

สังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังเดินทาง แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องหนังหุ้มองค์กำเนิด

[๓๕๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งจับหนังหุ้มองค์กำเนิด ถ่าย

ปัสสาวะอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัส

ถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

จับหนังหุ้มองค์กำเนิด ถ่ายปัสสาวะอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจ

ว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 78

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

จับหนังหุ้มองค์กำเนิด ถ่ายปัสสาวะอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องเรือนไฟ

[๓๕๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังผิงเกลียวท้องอยู่ใน

เรือนไฟ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้น แล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน ผิง

เกลียวท้องอยู่ในเรือนไฟ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 79

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน ผิง

เกลียวท้องอยู่ในเรือนไฟ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

[๓๕๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังทำบริกรรมหลังให้

พระอุปัชฌายะอยู่ในเรือนไฟ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน ทำ

บริกรรมหลังให้พระอุปัชฌายะอยู่ในเรือนไฟ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดย สมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน ทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 80

บริกรรมหลังให้อุปัชฌายะอยู่ในเรือนไฟ อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แค่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องขา

[๓๕๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งทำองค์กำเนิดให้เสียดสีขา

อยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ทำองค์กำเนิดให้เสียดสีขาอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน ทำ

องค์กำเนิดให้เสียดสีขาอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 81

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องสามเณร

[๓๕๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน ได้บอกสามเณรรูปหนึ่งว่า พ่อสามเณร เธอจงมาจับองค์กำเนิด

ของฉัน สามเณรได้จับองค์กำเนิดของภิกษุนั้นแล้ว อสุจิของภิกษุนั้น

เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว .

เรื่องสามเณรหลับ

[๓๕๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งได้จับองค์กำเนิดของสาม-

เณรผู้นอนหลับ อสุจิของภิกษุนั้นเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้าๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 82

เรื่องหนีบด้วยขา

[๓๕๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง หนีบองค์กำเนิดด้วยขา

ทั้งสอง อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิคอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

หนีบองค์กำเนิดด้วยขาทั้งสอง อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

หนีบองค์กำเนิดด้วยขาทั้งสอง แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิคอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 83

เรื่องบีบด้วยกำมือ

[๓๕๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งบีบองค์กำเนิดด้วยกำมือ

อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

บีบองค์กำเนิดด้วยกำมือ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

บีบองค์กำเนิดด้วยกำมือ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 84

เรื่องแอ่นในอากาศ

[๓๖๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน ยังสะเอวให้ไหวในอากาศ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ยังสะเอวให้ไหวในอากาศ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องดัดกาย

[๓๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งกำลังดัดกายอยู่ อสุจิเคลื่อน

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

คิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 85

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังดัดกายอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

กำลังดัดกายอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย.

เรื่องเพ่งองค์กำเนิด

[๓๖๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัดเพ่งองค์

กำเนิดของมาตุคาม อสุจิของภิกษุนั้นเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันภิกษุมีความกำหนัด ไม่ควรเพ่งองค์กำเนิดของ

มาตุคาม รูปใดเพ่ง ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 86

เรื่องสอดเข้าช่องดาล

[๓๖๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน สอดองค์กำเนิดเข้าช่องดาล อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจ

ว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สอดองค์กำเนิดเข้าช่องดาล แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องสีกับไม้

[๓๖๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน สีองค์กำเนิดกับไม้ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสเเล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 87

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สีองค์กำเนิดกับไม้ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องอาบน้ำทวนกระแส

[๓๖๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาบน้ำทวนกระแส อสุจิ

เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

อาบน้ำทวนกระแส อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 88

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

อาบน้ำทวนกระแส แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องเล่นโคลน

[๓๖๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเล่นอยู่ในโคลน อสุจิ

เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

เล่นอยู่ในโคลน อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 89

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

เล่นอยู่ในโคลน แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต่องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องลุยน้า

[๓๖๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งลุยน้ำอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอ

ได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบ

ทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิด

อย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ลุยน้ำอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 90

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ลุยน้ำอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัส

ถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ . เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องเล่นไถลก้น

[๓๖๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเล่นไถลก้นอยู่ อสุจิเคลื่อน

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

คิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

เล่นไถลก้นอยู่ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

เล่นไถลก้นอยู่ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 91

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องลุยสระบัว

[๓๖๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งลุยอยู่ในสระบัว อสุจิ

เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

คิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธ-

เจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ลุยอยู่ในสระบัว อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ลุยอยู่ในสระบัว แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 92

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย.

เรื่องสอดเข้าในทราย

[๓๗๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน สอดองค์กำเนิดเข้าในทราย อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้จะเคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สอดองค์กำเนิดเข้าในทราย แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว แต่ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย.

เรื่องสอดเข้าในตม

[๓๗๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน สอดองค์กำเนิดเข้าในตม อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 93

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สอดองก์กำเนิดเข้าในตม แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย.

เรื่องตักน้ำรด

[๓๗๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งตักน้ำรดองค์กำเนิด อสุจิ

เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ภิกษุไม่มีความประสงค์จะให้เคลื่อน ไม่ต้องอาบัติ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ตักน้ำรดองก์กำเนิด อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 94

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

ตักน้ำรดองค์กำเนิด แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย.

เรื่องสีบนที่นอน

[๓๗๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิ

เคลื่อน สีองค์กำเนิดบนที่นอน อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สีองค์กำเนิดบนที่นอน แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เรา

ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 95

เรื่องสีกับนิ้วแม่มือ

[๓๗๔] ก็สมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สีองค์กำเนิดกับนิ้วแม่มือ อสุจิเคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้อง

อาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความประสงค์จะให้อสุจิเคลื่อน

สีองค์กำเนิดกับนิ้วแม่มือ แต่อสุจิไม่เคลื่อน เธอได้มีความรังเกียจว่า

เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอคิดอย่างไร

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์จะให้เคลื่อน พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 96

สมันตปาสาทิกาแปล อรรถกถาพระวินัย

มหาวิภังควรรณนา

ภาค ๒

เตรสกัณฑวรรณนา

เตรสกะ (หมวด ๑๓) ท่านพระธรรมสังคหกาจารย์

ทั้งหลาย ได้ร้อยกรองไว้ในลำดังแห่งปาราชิกกัณฑ์

มีการพรรณนาบทที่ยังไม่มีในก่อน ดังต่อไปนี้

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑

สุกกวิสัฏฐิสิกขาบทวรรณนา

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระเสยยสกะ]

บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในคำว่า โดยสมัยนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า

ประทันอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคฤหบดี เขตพระ-

นครสาวัตถี. ก็ในสมัยนั้นแล ท่านพระเสยยสกะไม่ยินดีประพฤติ

พรหมจรรย์นี้ ดังต่อไปนี้.

คำว่า อายสฺมา เป็นคำไพเราะ.

บทว่า เสยฺยสโก เป็นชื่อ ของภิกษุรูปนั้น.

คำว่า อนภิรโต ความว่า เป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่าน คือ ถูกความ

เร่าร้อนเพราะกำหนัดในกามแผดเผาอยู่ แต่ไม่ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 97

ข้อว่า โส เตน กิโส โหติ ความว่า พระเสยยสกะนั้นย่อม

เป็นผู้ผ่ายผอม เพราะความเป็นผู้ไม่ยินดีนั้น.

ในคำว่า อทฺทสา โข อายสฺมา อุทายี นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:-

บทว่า อุทายี เป็นชื่อของพระเถระนั้น. จริงอยู่ พระเถระ

ชื่อโลลุทายีนี้ เป็นอุปัชฌาย์ ของพระเสยยสกะ เป็นผู้มีส่วนเปรียบด้วย

เนื้อตื่น คือ เป็นภิกษุโลเลรูปใดรูปหนึ่งหนึ่ง บรรดาภิกษุผู้ตามประกอบ

เหตุแห่งความเกียจคร้าน มีความเป็นผู้มีความหลับนอนเป็นที่มายินดี

เป็นต้น.

บทว่า กจฺจิ โน ตฺว ไขความว่า กจฺจ นุ ตฺว แปลว่าท่าน.....

ละหรือหนอ. พึงทราบวินิจฉัย ในคำมีอาทิว่า ยาวทตฺถ ภุญฺช

ดังต่อไปนี้ :- ความต้องการมีประมาณเพียงใด ชื่อว่า ยาวทัตถะ

(เท่าที่ต้องการ). มีคำอธิบายว่า เธอมีความประสงค์ด้วยโภชนะประมาณ

เท่าใด, คือ เธอต้องการประมาณเท่าใด, จงบริโภคประมาณเท่านั้น,

หรือว่า เธอปรารถนาเพื่อจะหลับในเวลากลางคืน หรือกลางวัน สิ้นกาล

ประมาณเท่าใด, จงหลับสิ้นกาลประมาณเท่านั้น เธอปรารถนาการ

ชโลมกายด้วยดินเหนียวเป็นต้น ขัดสีด้วยแป้งเป็นต้น แล้วอาบน้ำ

ประมาณเท่าใด, จงอาบน้ำประมาณเท่านั้น, ไม่มีประโยชน์ด้วยบาลี

อรรถกถา ข้อวัตรปฏิบัติ หรือด้วยกรรมฐาน.

คำว่า ยทา เต อนภิรติ อุปฺปชฺชติ ความว่า ในกาลใด ความ

กระสัน คือ ความเป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่าน ด้วยอำนาจแห่งความกำหนัด ในกาม

เกิดแก่เธอ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 98

คำว่า ราโค จิตฺต อนุทฺธเสติ ความว่า กามราคะย่อมกำจัด

ทำลาย คือ ซัดส่ายจิตไปมา และทำจิตให้เหี่ยวแห้ง.

ข้อว่า ตทา หตฺเถน อุปกฺกมิตฺวา อสุจิ โมเจหิ มีความว่า

ในกาลนั้น เธอจงเอามือพยายามกระทำการไปล่อยอสุจิ, จริงอยู่ด้วยการ

กระทำอย่างนี้ เอกัคคตาจิต จักมีแก่เธอ อุปัชฌาย์พร่ำสอนเธออย่างนี้

เช่นกับคนโง่สอนคนโง่ คนใบ้สอนคนใบ้ฉะนั้น.

(แก้อรรคปฐมบัญญัติเรื่องภิกษุหลายรูป)

คำว่า เตส ฯ เป ฯ โอกฺกมฺตาน มีความว่า เมื่อภิกษุเหล่านั้น

ละสติสัมปชัญญะจำวัด. ในคำนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อภิกษุทั้งหลาย

กำลังจำวัด ภวังควารที่เป็นอัพยากฤตเป็นไปอยู่, สติสัมปชัญะวาระ

จะคลาดไป แม้ก็จริง; ถึงกระนั้น ในการจำวัด ภิกษุควรทำมนสิการ.

ภิกษุเมื่อจะจำวัดในกลางวัน พึงจำวัดพร้อมด้วยความอุตสาหะว่า เรา

จักจำวัดชั่วเวลาที่ผมของภิกษุผู้สรงน้ำ ยังไม่แห้ง แล้วจักลุกขึ้น ดังนี้

จะจำวัดในเวลากลางคืน พึงเป็นผู้มีความอุตสาหะจำวัดว่า เราจักหลับ

สิ้นส่วนแห่งราตรี ชื่อมีประมาณเท่านี้ แล้วลุกขึ้นในเวลาที่ดวงจันทร์

หรือดวงดาวโคจรมาถึงสถานที่ชื่อนี้.

อีกอย่างหนึ่ง พึงกำหนดกรรมฐานอย่างหนึ่ง ในบรรดากรรมฐาน

ทั้ง ๑๐ มีพุทธานุสติเป็นต้น หรือกรรมฐานที่ใจชอบอย่างอื่น แล้ว

จึงจำวัด . ก็เมื่อภิกษุกระทำเช่นนั้น ท่านเรียกว่า มีสติสัมปชัญญะ คือ

ไม่ละสติและสัมปชัญญะจำวัด, ก็ภิกษุเหล่านั้นเป็นคนโง่ โลเล มีส่วน

เปรียบด้วยเนื้อตื่น ไม่ได้กระทำอย่างนั้น. ด้วยเหตุนั้น พระธรรม-

สังคาหกาจารย์ทั้งหลาย จงกล่าวว่า เตส ฯ ป ฯ โอกฺกมนฺตาน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 99

ข้อว่า อตฺถิ เจตฺถ เจตนา อุปลพฺภติ มีความว่า ก็ความจงใจ

ยินดีในความฝัน มีอยู่ คือหาได้อยู่.

ข้อว่า อตฺเถสา ภกฺขเว เจตนา สา จ โข อพฺโพหาริกา

มีความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เจตนาเป็นเหตุยินดี นี้ มีอยู่ , แต่

เจตนานั้นแล ชื่อว่า เป็นอัพโพหาริก คือ ไม่เป็นองค์แห่งอาบัติ เพราะ

บังเกิดในฐานอันไม่ใช่วิสัย.

พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงความที่เจตนาในความฝันเป็น

อัพโพหาริก ด้วยประการอย่างนี้แล้ว จึงทรงบัญญัติสิกขาบทพร้อมทั้ง

อนุบัญญัติว่า ภิกษุทั้งหลาย ! ก็แล เธอทั้งหลาย พึงสวดสิกขาบทนี้

อย่างนี้ว่า การปล่อยสุกกะเป็นไปด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน เป็น

สังฆาทิเสส ดังนี้.

[อธิบายสิกขาบทวิภังค์ ว่าด้วยสัญเจตนิกาศัพท์]

ในสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- เจตนาแห่งการปล่อย

สุกกะนั้น มีอยู่; เหตุนั้น การไปล่อยสุกกะนั้น จึงชื่อว่า สัญเจตนา

(มีเจตนา), สัญเจตนานั่นแหละชื่อสัญเจตนิกา. อีกอย่างหนึ่ง ความจงใจ

ของการไปล่อยสุกกะนั้น มีอยู่; เหตุนั้น การปล่อยสุกกะนั้น จึงชื่อว่า

สัญเจตนิกา (มีความจงใจ). การไปล่อยสุกกะมีความจงใจ เป็นของ

ภิกษุใด, ภิกษุนั้นเป็นผู้รู้ คิด รู้สึกตัว, และการไปล่อยสุกกะนั้น ของ

ภิกษุนั้น เป็นการแกล้ง คือ ฝ่าฝืนล่วงละเมิด; เพราะเหตุนั้น เพื่อ

แสดงแต่ใจความเท่านั้น ไม่ทำความเอื้อเฟื้อในพยัญชนะ พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า สญฺเจตนิกา นั้น อย่างนี้ว่า อาการ

ที่รู้ คือ รู้สึก แกล้ง คือ ฝ่าผื่น ล่วงละเมิด (ชื่อว่ามีความจงใจ).

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 100

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ชานนฺโต ได้แก่ รู้อยู่ว่า เรากำลัง

พยายาม.

บทว่า สญฺชานนฺโต ได้แก่ รู้สึกตัวอยู่ว่า เรากำลังปล่อยสุกกะ

อธิบายว่า รู้พร้อมกับอาการที่พยายามและความรู้นั้นนั่นเอง.

บทว่า เจจฺจ ได้แก่ แกล้ง คือ จงใจ ด้วยอำนาจเจตนา คือ

ความยินดีในการปล่อย.

บทว่า อภิวิตริตฺวา ได้แก่ เมื่อฝ่าฝืนด้วยอำนาจความพยายาม

ส่งจิตอันปราศจากความรังเกียจไป.

บทว่า วีติกฺกโม มีคำอธิบายว่า ความล่วงละเมิดใดของภิกษุ

ผู้ประพฤติอย่างนั้น ความล่วงละเมิดนี้นั้น เป็นใจความสุดยอดแห่ง

สัญเจตนิกาศัพท์.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำว่า สุกฺกนฺติ ทส สุกฺกานิ เป็นต้น

ก็เพื่อแสดงสุกกะและการปล่อย ในบทว่า สุกฺกวิสฏิ นี้ โดยจำนวน

และโดยความต่างแห่งสีก่อน. ในจำนวนและความต่างแห่งสีนั้น พึง

ทราบความต่างแห่งสีมีสีเขียวเป็นต้น โดยความต่างแห่งที่อาศัยของสุกกะ

ทั้งหลาย และโดยความเป็นต่าง ๆ แห่งธาตุ. การสละชื่อว่า การปล่อย

ก็คำว่า ปล่อยนี้ โดยใจความ เป็นการทำให้เคลื่อนจากฐาน. ด้วย

เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า กิริยาที่ทำให้เคลื่อนจากฐาน

เรียกว่าปล่อย. ในคำนั้น พระอาจารย์ทั้งหลายกำหนดฐานแห่งสุกกะ

ไว้ ๓ ส่วน คือ กระเพาะเบา ๑ สะเอว ๑ กาย ๑. ได้ยินว่า พระอาจารย์

รูปหนึ่งกล่าวว่า กระเพาะเบาเป็นฐานของสุกกะ. รูปหนึ่งกล่าวว่า

สะเอวเป็นฐานของสุกกะ. รูปหนึ่งกล่าวว่า กายทั้งสิ้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 101

ใน ๓ อาจารย์นั้น ภาษิตของรูปที่ ๓ กล่าวชอบ. เพราะว่าเว้น

ที่ซึ่ง ผม ขน เล็บ และฟัน พ้น จากเนื้อ และอุจจาระปัสสาวะ

น้ำลายน้ำมูก และหนังที่แห้งเสียแล้ว กายแม้ทั้งหมดที่เหลือซึ่งมีหนัง

และเนื้ออันโลหิตเดินได้ตลอด เป็นฐานของกายประสาท ภาวะชีวิติน-

ทรีย์และดีไม่เป็นฝัก และเป็นฐานของน้ำสมภพเหมือนกัน. จริงอย่างนั้น

น้ำสมภพ ย่อมไหลออกทางหมวกหูทั้งสองของช้างทั้งหลาย ที่ถูกความ

กลัดกลุ้มด้วยราคะครอบงำแล้ว. และพระเจ้ามหาเสนะผู้ทรงกลัดกลุ้มด้วย

ราคะ ไม่ทรงสามารถจะอดทนกำลังน้ำสมภพได้ จึงรับสั่งให้ผ่าต้นพระ-

พาหุด้วยมีด ทรงแสดงน้ำสมภพ ซึ่งไหลออกทางปากแผล ฉะนั้นแล.

ก็บรรดาวาทะเหล่านั้น ในวาทะของอาจารย์ที่หนึ่ง เมื่อภิกษุ

พยายามที่นิมิตด้วยความยินดีจะให้เคลื่อน แมลงวันน้อย ๆ ตัวหนึ่งพึง

ดื่มน้ำอสุจิมีประมาณเท่าใดได้ เมื่ออสุจิมีประมาณเท่านั้นมาตรว่าเคลื่อน

จากกระเพาะเบา ไหลลงสู่คลองปัสสาวะ จะออกข้างนอกก็ตาม ไม่ออก

ก็ตาม เป็นสังฆาทิเสส. ในวาทะของอาจารย์ที่สองก็เหมือนกัน เมื่อ

อสุจิมาตรว่าเคลื่อนจากสะเอวไหลสู่คลองปัสสาวะเป็นสังฆาทิเสส. ใน

วาทะของอาจารย์ที่สาม ก็เหมือนกัน เพราะยังกายทั้งสิ้นให้หวั่นไหว

เมื่ออสุจิมาตรว่าเคลื่อนออกจากกายนั้นไหลลงสู่คลองปัสสาวะ จะออก

ข้างนอกก็ตาม ไม่ออกก็ตาม เป็นสังฆาทิเสส. ก็แลความไหลลงสู่คลอง

ปัสสาวะ. ท่านกล่าวไว้ในการไปล่อยสุกกะนี้ ก็เพราะ เป็นของที่ใคร ๆ

ไม่พึงอาจจะกลั้นห้ามเสียในระหว่างได้.

จริงอยู่ อสุจิะเคลื่อนจากฐานแล้ว ย่อมลงสู่คลองปัสสาวะเป็นแน่;

เพราะฉะนั้น ในการปล่อยสุกกะนี้ พึงทราบอาบัติ ด้วยเหตุเพียงให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 102

เคลื่อนจากฐานเท่านั้น. และอาบัตินั้นแล ย่อมมีแก่ภิกษุผู้พยายามที่นิมิต

เท่านั้น. ส่วนในการทำหัตถบริกรรม ปาทบริกรรม และคัตตบริกรรม

ถ้าแม้นอสุจิเคลื่อนก็ไม่เป็นอาบัติ. นี้เป็นวินิจฉัยทั่วไปแห่งอาจารย์ทั้ง-

ปวง.

[อธิบายเหตุให้เกิดความฝัน ๔ อย่าง]

ในคำว่า อญฺตรฺ สุปินนฺตา นี้มีวินิจฉัยดังนี้:-

สุปินะนั่นแหละ ชื่อสุปินันตะ มีคำอธิบายว่า ยกเว้น คือ

นำความฝันนั้นออกไปเสีย. ก็แล บุคคลเมื่อจะฝันนั้น ย่อมฝันเพราะเหตุ

๔ ประการคือ เพราะธาตุกำเริบ ๑ เพราะเคยทราบมาก่อน ๑ เพราะ

เทวดาสังหรณ์ ๑ เพราะบุพนิมิต ๑.

บรรดาเหตุ ๔ อย่างนั้น คนผู้มีธาตุกำเริบ เพราะประกอบด้วย

ปัจจัยอันทำให้ดีเป็นต้นกำเริบ ชื่อว่า ย่อมฝัน เพราะธาตุกำเริบ. และ

เมื่อฝัน ย่อมฝันต่าง ๆ เช่นเป็นเหมือนตกจากภูเขา เหมือนเหาะไป

ทางอากาศ และเหมือนถูกเนื้อร้าย ช้างร้าย และโจรเป็นต้น ไล่ติดตาม.

เมื่อฝันเพราะเคยทราบมาก่อน ชื่อว่า ย่อมฝันถึงอารมณ์ที่ตนเคยเสวยมา

แล้วในกาลก่อน . พวกเทวดาย่อมนำอารมณ์มีอย่างต่าง ๆเข้าไป เพื่อ

ความเจริญบ้าง เพื่อความเสื่อมบ้าง เพราะเป็นผู้มุ่งความเจริญบ้าง

เพราะเป็นผู้มุ่งความเสื่อมบ้าง แก่บุคคลผู้ฝัน เพราะเทวดาสังหรณ์ ผู้นั้น

ย่อมฝันเห็นอารมณ์เหล่านั้นด้วยอนุภาพของพวกเทวดานั้น. เมื่อบุคคล

ฝันเพราะบุพนิมิต ชื่อว่า ย่อมฝันที่เป็นบุพนิมิตแห่งความเจริญบ้าง แห่ง

ความเสื่อมบ้าง ซึ่งต้องการจะเกิดขึ้น ด้วยอำนาจแห่งบุญและบาป

เหมือนพระมารดาของพระโพธิสัตว์ ทรงพระสุบินนิมิตในการที่จะได้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 103

พระโอรสฉะนั้น, เหมือนพระโพธิสัตว์ทรงมหาสุบิน ๕ และเหมือน

พระเจ้าโกศลทรงพระสุบิน ๑๖ ประการฉะนั้นแล.

บรรดาความฝัน ๔ อย่างนั้น ความฝันที่คนฝัน เพราะธาตุกำเริบ

และเพราะเคยทราบมาก่อนไม่เป็นจริง. ความฝันที่ฝันเพราะเทวดา

สังหรณ์ จริงก็มี เหลวไหลก็มี, เพราะว่าพวกเทวดาโกรธแล้ว ประสงค์

จะให้พินาศโดยอุบาย จึงแสดงให้เห็นวิปริตไปบ้าง. ส่วนความฝันที่คนฝัน

เพราะบุพนิมิต เป็นความจริงโดยส่วนเดียวแล. ความแตกต่างแห่ง

ความฝัน แม้เพราะความแตกต่างแห่งมูลเหตุทั้ง ๔ อย่างนี้คละกันก็มี

ได้เหมือนกัน. ก็แลความฝันทั้ง ๔ อย่างนี้นั้น พระเสขะและปุถุชน

เท่านั้น ย่อมฝันเพราะยังละวิปลาสไม่ได้. พระอเสขะทั้งหลาย ย่อมไม่ฝัน

เพราะท่านละวิปลาสได้แล้ว.

ถามว่า ก็บุคคลเมื่อฝันนั้น หลับ ฝัน หรือตื่นฝัน หรือว่าไม่หลับ

ไม่ตื่นฝัน.

แก้ว่า ในเรื่องความฝันนี้ ท่านควรกล่าวเพิ่มอีกสักเล็กน้อย.

ชั้นแรก ถ้าคนหลับฝันก็จะต้องขัดแย้งกับพระอภิธรรม. เพราะว่า คน

หลับด้วยภวังคจิต. ภวังคจิตนั้น หามีรูปนิมิตเป็นต้นเป็นอารมณ์หรือ

สัมปยุตด้วยราคะเป็นต้นไม่. ก็เมื่อบุคคลฝัน จิตทั้งหลายเช่นนี้ ย่อม

เกิดขึ้นได้. ถ้าบุคคล ตื่นฝัน ก็จะต้องขัดแย้งกับพระวินัย. เพราะว่า

คนตื่นฝันเห็นสิ่งใด, เขาเห็นสิ่งนั้น ด้วยสัพโพหาริกจิต* (ด้วยจิตตามปกติ).

ก็ชื่อว่า อนาบัติ ย่อมไม่มีในเพราะความล่วงละเมิด-ที่ภิกษุทำด้วยสัพโพ-

*. วิมติวโนทนีฏีกา, สพฺโพหาริกจิตฺเตนาติ ปฏิพุทฺธสฺส ปกติวีถิจิตฺเตน แปลว่า บทว่า

ด้วยสัพโพหาริกจิต นั้น คือ ด้วยวิถีจิตตามปกติของคนผู้ตื่นอยู่.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 104

หาริกจิต แต่เมื่อผู้กำลังฝันทำการล่วงละเมิด เป็นอนาบัติโดยส่วนเดียว

แท้. ถ้าบุคคลไม่หลับไม่ตื่นฝัน ชื่อว่าใคร ๆ จะฝันไม่ได้ และเมื่อ

เป็นอย่างนั้น ความฝันก็จะต้องไม่มีแน่. จะไม่มีได้. เพราะเหตุไร ?

เพราะคนผู้ถูกความหลับดุจลิงครอบงำ จึงฝัน. สมจริงดังคำที่พระ-

นาคเสนเถระกล่าวไว้ว่า มหาบพิตร ! คนถูกความหลับดุจลิงหลับครอบงำ

จึงฝันแล.

บทว่า กปิมิทฺธปเรโต แปลว่า ประกอบด้วยความหลับดุจลิง

หลับ. เหมือนอย่างว่า ความหลับของลิงเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ฉันใด,

ความหลับใดเปลี่ยนแปลงเร็ว เพราะเกลื่อนกล่นด้วยจิตเป็นกุศลเป็นต้น

บ่อย ๆ ก็ฉันนั้น คือ มีการตื่นขึ้นจากภวังค์บ่อย ๆ ในเวลาความ

หลับใดเป็นไป บุคคลผู้นั้นประกอบด้วยความหลับนั้น ย่อมฝันได้

เพราะเหตุนั้น ความฝันนี้ จึงเป็นกุศลบ้าง เป็นอกุศลบ้าง เป็น

อัพยากฤตบ้าง. บรรดาความฝัน ๓ อย่างนั้น ความฝันของผู้ที่ฝันว่า

กำลังทำการไหว้พระเจดีย์ ฟังธรรมและแสดงธรรมเป็นต้น พึงทราบ

ว่าเป็นกุศล, ของผู้ที่ฝันว่า กำลังทำบาป มีการฆ่าสัตว์เป็นต้น

พึงทราบว่า เป็นอกุศล, ความฝันที่พ้นไปจากองค์สอง พึงทราบว่า

เป็นอัพยากฤต ในขณะแห่งอาวัชชนจิตและตทารัมมณจิต. ความฝันนี้

นั้นไม่สามารถเพื่อจะชักปฏิสนธิมาได้ เพราะเจตนามีวัตถุอ่อนกำลัง แต่

ในปวัตติกาล อันกุศลและอกุศลเหล่าอื่นสนับสนุนแล้ว ย่อมให้วิบากได้

จะให้วิบากได้แม้ก็จริง ถึงอย่างนั้น เจตนาในความฝัน ก็จัดเป็น

อัพโพหาริกทีเดียว เพราะบังเกิดในฐานะอันมิใช่วิสัย. เพราะเหตุนั้น

ท่านพระอุบาลีจึงกล่าวว่า เว้นไว้แต่ฝัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 105

[อธิบายคำว่าสังฆาทิเสส]

คำว่า สังฆาทิเสส เป็นชื่อของกองอาบัตินี้. เพราะเหตุนั้น

ผู้ศึกษาพึงทราบสัมพันธ์ในสิกขาบทนี้อย่างนี้ว่า การปล่อยสุกกะมีความ

จงใจเว้นความฝันอันใด, อันนี้เป็นกองแห่งอาบัติชื่อสังฆาทิเสส. ก็แล

เนื้อความเฉพาะคำในบทว่า สังฆาทิเสส นี้ ว่า สงฆ์อันภิกษุ

พึงปรารถนาในกรรมเบื้องต้น และในกรรมที่เหลือแห่งกองอาบัตินั้น;

เพราะฉะนั้น กองอาบัตินั้น จึงชื่อสังฆาทิเสส. มีคำอธิบายอย่างไร ?

มีคำอธิบายว่า ภิกษุต้องอาบัตินี้แล้วพึงปรารถนาสงฆ์ เพื่อประโยชน์

แก่ปริวาสในกรรมเบื้องต้นแห่งการออกจากอาบัติ ของผู้ใคร่จะออก และ

เพื่อประโยชน์แก่การให้มานัต หรือเพื่อประโยชน์แก่การให้มานัตรวม

กับมูลายปฏิกัสสนา ในกรรมอันเป็นท่ามกลาง เพื่อประโยชน์แก่อัพภาน

ในกรรมที่สุด ซึ่งเหลือจากกรรมเป็นเบื้องต้น เพราะว่า บรรดากรรม

เหล่านี้ กรรมแม้อันหนึ่ง เว้นสงฆ์เสียแล้ว ใคร ๆ ไม่สามารถจะทำได้.

สงฆ์อันภิกษุพึงปรารถนาในกรรมเบื้องต้น และกรรมที่เหลือแห่งกอง

อาบัตินั้น. เพราะฉะนั้น กองอาบัตินั้น จึงชื่อว่าสังฆาทิเสส.

ก็แล เพื่อไม่เอื้อเฟื้อพยัญชนะ แสดงแต่ใจความเท่านั้น พระ-

มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า สังฆาทิเสส นั้น ดังนี้ว่า

สงฆ์แล ย่อมให้ปริวาส เพื่ออาบัตินั้น ย่อมชักเข้าหาอาบัติเดิม ย่อมให้

มานัต ย่อมอัพภาน, ไม่ใช่ภิกษุมากรูป ไม่ใช่บุคคลผู้เดียว; เพราะเหตุ

นั้น อาบัตินั้น ท่านจึงเรียกว่า สังฆาทิเสส. และตรัสเหตุแห่งคำไว้ใน

คัมภีร์ปริวารว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 106

อาบัติที่เรากล่าวว่า สังฆาทิเสส, ท่านจงฟังอาบัตินั้น

ตามที่ได้กล่าวแล้ว, สงฆ์เท่านั้น ย่อมให้ปริวาส ย่อมชักเข้า

หาอาบัติเดิม ย่อมให้มานัต ย่อมอัพภาน; เพราะเหตุนั้น

อาบัตินั้น บัณฑิตเรียกว่า สังฆาทิเสส.

สองบทว่า ตสฺเสว วา อาปตฺตินิกายสฺส มีความว่า (อีกอย่างหนึ่ง

กรรมเป็นชื่อสำหรับเรียก) ประชุมแห่งอาบัตินั้นนั่นเอง. ในพระบาลีนั้น

อาบัตินี้ มีเพียงตัวเดียว แม้ก็จริง, ถึงอย่างนั้นนิกายศัพท์ท่านกล่าวด้วย

รุฬหิศัพท์ หรือด้วยโวหารที่เรียกส่วนทั้งหลายรวมกัน อย่างขันธศัพท์

ในคำว่าว่า เวทนาขันธ์หนึ่ง วิญญาณขันธ์หนึ่ง ดังนี้เป็นต้น.

พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงจำแนกสิกขาบทที่พระองค์ทรงอุเทศ

ไว้ตามลำดับอย่างนั้นแล้ว บัดนี้ จึงตรัสคำว่า อชฺฌตฺตรูเป โมเจติ เป็น

อาทิ เพื่อแสดงอุบาย กาล ความประสงค์และวัตถุแห่งความประสงค์ของ

ภิกษุผู้ถึงการปล่อยสุกกะนี้

[อธิบายบทภาชนีย์ว่าด้วยเหตุให้ปล่อยสุกกะ]

จริงอยู่ ในส่วนทั้ง ๔ มีอุบายเป็นต้นนี้ อุบายทรงแสดงแล้ว

ด้วย ๔ บท มีอัชฌัตตรูปเป็นต้น เพราะว่า ภิกษุพึงปล่อยในรูปภายใน

บ้าง ในรูปภายนอกบ้าง ในรูปทั้งสองบ้าง พึงแอ่นเอวในอากาศปล่อย

บ้าง. อุบายอื่นนอกจากนี้ ย่อมไม่มี. ในอุบายนั้น ภิกษุพยายามปล่อย

ในรูปก็ดี พยายามปล่อยด้วยรูปก็ดี พึงทราบว่า "ปล่อยในรูปทั้งนั้น"

เพราะว่าเมื่อมีรูป เธอจึงปล่อยได้, ไม่ได้รูป ปล่อยไม่ได้ ฉะนี้แล.

ส่วนกาลทรงแสดงด้วย ๕ บท มีราคะอุปถัมภ์เป็นต้น. จริงอยู่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 107

เมื่อความที่องคชาตใด เป็นของควรแก่การงาน มีอยู่ ภิกษุจึงปล่อยได้,

องคชาตนั้นย่อมเป็นของควรแก่การงาน ในกาลที่ราคะอุปถัมภ์เป็นต้น

(ในเวลามีความกำหนัดหนุนเป็นต้น ) กาลอื่นนอกจากนี้ ย่อมไม่มี

เพราะว่า เว้นจากกาลที่ราคะอุปถัมภ์เป็นต้นนั้นเสียแล้ว กาลต่างชนิด

มีเวลาเช้าเป็นต้นจะเป็นที่กำหนดในการให้เคลื่อนหาได้ไม่. ความประสงค์

ทรงแสดงด้วย ๑๐ บท มีบทว่า อโรคฺยตฺถาย เป็นต้น. จริงอยู่ ภิกษุ

ย่อมให้เคลื่อนตามชนิดแห่งความประสงค์เห็นปานนี้. หาใช่โดยประการ

อย่างอื่นไม่, ส่วนวัตถุแห่งความประสงค์ที่ ๙ ทรงแสดงด้วย ๑๐ บท

มีนีลบทเป็นต้น. จริงอยู่ ภิกษุเมื่อจะทดลอง ย่อมทดลองด้วยอำนาจ

แห่งสีเขียวเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง สีอื่นพ้นจากสีเหล่านั้นไปย่อมไม่มี

ฉะนั้นแล.

ต่อนี้ไป พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำว่า อชฺฌตฺตรูเปติ อชฺฌตฺตอุปา-

ทินฺนรูเป เป็นต้น เพื่อประกาศบททั้งหลายมีอัชฌัตตรูปบทเป็นต้น

เหล่านี้นั่นแล. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อชฺฌตฺตอุปาทินฺนรูเป คือ

ในรูปต่างชนิด มีมือเป็นต้นของตน.

บทว่า พหิทฺธอุปาทินเน คือ ในรูปเช่นนั้นเหมือนกันของคนอื่น.

บทว่า อนุปาทินฺเน คือ ในรูปต่างชนิด มีช่องลูกดาลประตู

เป็นต้น.

บทว่า ตทุภเย คือ ในรูปทั้งของตนและของคนอื่น. การให้

สุกกะเคลื่อนนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วยอำนาจความพยายามในรูป

ทั้งสอง. การให้สุกกะเคลื่อน ย่อมมีได้ แม้ในความพยายามรวมกัน

โดยรูปของตน และโดยอนุปาทินนรูป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 108

สองบทว่า อากาเส วายมนฺตสฺส ความว่า ไม่พยายามโดยรูป

อะไร ๆ เลย ส่ายองคชาตโดยประโยค คือ การแอ่นเอวในอากาศ

อย่างเดียว.

บทว่า ราคูปตฺถมฺเภ ความว่า ในเวลาองคชาตเกิดความกำหนัด

เพราะราคะมีกำลัง หรือเพราะความกำหนัด มีอธิบายว่า เมื่อองคชาต

เกิดความแข็งตัวขึ้นแล้ว.

สองบทว่า กมฺมนิย โหติ ความว่า องคชาตเป็นอวัยวะควรแก่

การงานในอันให้เคลื่อน คือ เหมาะแก่การพยายามในอัชฌัตตรูปเป็นต้น.

บทว่า อุจฺจาลิงฺคปาณกทฏฺฐุปตฺถมฺเภ ความว่า เมื่อองคชาต

ถูกหนุนให้เกิดความกำหนัดเพราะบุ้งขนกัด. ที่ชื่อว่าบุ้งขน เป็นสัตว์

เล็ก ๆ มีขน, องคชาตอันขนของสัตว์เล็ก ๆ เหล่านั้นถูกต้อง ก็รู้สึกคัน

แล้วแข็งตัว ( ? ) ในบาลีนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า "เพราะถูก

บุ้งกัด" (ก็ ) เพราะขนเหล่านั้น ย่อมสำเร็จเหมือนกัดองคชาต. แต่

โดยใจความ มีอธิบายว่า เพราะถูกขนของบุ้งขนแทงเอา.

คำว่า อโรโค ภวิสฺสามิ ความว่า เราให้สุกกะเคลื่อนแล้วจักเป็น

ผู้หายโรค.

คำว่า สุขเวทน อุปฺปาเทสฺสามิ ความว่า สุขเวทนาอันใดย่อมมี

เพราะการให้เคลื่อน คือ เพราะเกิดการปล่อย และเพราะสุกกะเคลื่อน

แล้วเป็นปัจจัย, เราจักยังสุขเวทนานั้น ให้เกิดขึ้น.

คำว่า เภสชฺช ภิสฺสติ ความว่า สุกกะที่เราให้เคลื่อนแล้วนี้ จัก

เป็นยาบางชนิดทีเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 109

คำว่า ทาน ทสฺสามิ ความว่า เราทำให้เคลื่อนแล้ว จักให้ทาน

แก่สัตว์เล็ก ๆ มีแมลงและมดเป็นต้น .

คำว่า ปุญฺ ภวิสฺสติ ความว่า เมื่อเราปล่อยให้เป็นทานแก่แมลง

เป็นต้น จักเป็นบุญ.

คำว่า ยญฺ ยชิสฺสามิ ความว่า เราทำให้เคลื่อนแล้ว จักบูชา

ยัญแก่พวกแมลงเป็นต้น, มีอธิบายว่า เราจักกล่าวบทมนต์อะไรบางอย่าง

แล้วให้.

คำว่า สคฺค คมิสฺสามิ ความว่า เราจักไปสวรรค์ด้วยการที่ปล่อย

ให้ทานแก่พวกแมลงเป็นต้น ด้วยบุญ หรือด้วยยัญวิธี.

คำว่า วีช ภวิสฺสติ ความว่า จักเป็นพืชเพื่อทารกผู้เป็นหน่อแห่ง

วงศ์สกุล. อธิบายว่า ย่อมปล่อยโดยประสงค์นี้ว่า บุตรจักเกิดด้วยพืช

ของเรานี้.

บทว่า วีมสตฺถาย คือ เพื่อต้องการรู้.

ในคำว่า นีล ภวิสฺสติ เป็นต้น บัณฑิตพึงทราบใจความอย่างนี้ว่า

เราจักรู้ก่อนว่า สุกกะที่ปล่อยแล้ว จักเป็นสีเขียว หรือสีอย่างใด

อย่างหนึ่ง มีสีเหลืองเป็นต้น.

บทว่า ขิฑฺฑาธิปฺปาโย คือ ขวนขวายในการเล่น. มีคำอธิบายว่า

ภิกษุย่อมปล่อยเล่นโดยความประสงค์นั้น ๆ.

[อธิบายสุทธิกสังฆาทิเสส]

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงอาการที่ภิกษุให้สุกกะ

เคลื่อนต้องอาบัติและจำนวนชนิดอาบัติ ด้วยอำนาจแห่งบทเหล่านั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 110

ทั้งหมด ในพระดำรัสที่ตรัสไว้ว่า อชฺฌตฺตรูเป โมเจติ เป็นต้น จึง

ตรัสพระดำรัสมีอาทิว่า ภิกษุจงใจ คือ พยายามในรูปภายใน, สุกกะ

เคลื่อน ต้องสังฆาทิเสส ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เจเตติ ความว่า ย่อมจงใจว่า สุกกะ

จงเคลื่อน ด้วยเจตนาที่ถึงความยินดีในการให้เคลื่อน.

บทว่า อุปกฺกมติ ความว่า ย่อมกระทำความพยายามอันสมควร

แก่ความจงใจนั้น.

บทว่า มุจฺจติ ความว่า เมื่อภิกษุจงใจอยู่อย่างนั้น พยายามด้วย

ความพยายามอันสมควรแก่ความจงใจนั้น สุกกะย่อมเคลื่อนจากฐาน.

คำว่า อาปตฺติ สงฺฆาทิเสสสฺส ความว่า ย่อมเป็นอาบัติชื่อสังฆา-

ทิเสส แก่ภิกษุนั้น ด้วยองค์ ๓ เหล่านี้. แม้ใน ๒๘ บทที่เหลือมีบทว่า

พหิทฺพารูเป เป็นต้น ก็นัยนี้.

ก็ในปัญจกะทั้ง ๔ นี้ บัณฑิตพึงนำอาบัติสองพันตัวออกแสดง.

แสดงอย่างไร ? คือ เมื่อภิกษุปล่อยสุกกะสีเขียวเพื่อประสงค์ความไม่มีโรค

ในเวลาเกิดความกำหนัดในรูปภายในก่อน ย่อมเป็นอาบัติตัวเดียว, เป็น

อาบัติ อีก ๙ ตัว ด้วยอำนาจปล่อยสุกกะสีเหลืองเป็นต้นในรูปภายในนั่นแล

เพื่อประสงค์ความไม่มีโรค ในเวลามีความกำหนัด; ฉะนั้น จึงรวมเป็น

อาบัติ ๑๐ ตัว. เหมือนอย่างว่า เพื่อประสงค์ความไม่มีโรค มีอาบัติ

๑๐ ตัว ฉันใด, เพื่อประสงค์ ๙ บท มีสุขบทเป็นต้น ก็มีอาบัติ ๑๐ ตัว

เพราะแบ่งออกไปแต่ละบทเป็นบทละ ๑๐ ตัว ๆ ฉันนั้น. อาบัติ ๙๐ ตัว

เหล่านี้ และอาบัติ ๑๐ ตัวก่อน ด้วยประการอย่างนี้; ฉะนั้น จึงเป็น

อาบัติ ๑๐๐ ตัว ในเวลาเกิดความกำหนัดก่อน. เหมือนอย่างว่า ในเวลา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 111

เกิดความกำหนัด มีอาบัติ ๑๐๐ ตัว ฉันใด, แม้ในเหตุหนุน ๔ อย่าง

มีปวดอุจจาระเป็นต้น ก็มีอาบัติ ๔๐๐ ตัว เพราะแบ่งเหตุหนุนแต่ละอย่าง

ออกไปเป็นอย่างละ ๑๐๐ ตัว ๆ ฉันนั้น. อาบัติ ๔๐๐ ตัวเหล่านี้ และ

อาบัติ ๑๐๐ ตัวก่อนดังกล่าวมานี้ จึงเป็นอาบัติ ๕๐๐ ตัว ด้วยอำนาจ

แห่งเหตุหนุน ๕ อย่าง ในรูปภายในก่อน. เหมือนอย่างว่าในรูปภายใน

มีอาบัติ ๕๐๐ ตัว ฉันใด, ในรูปภายนอกมีอาบัติ ๕๐๐ ตัว ในรูปทั้งที่

เป็นภายในทั้งที่เป็นภายนอก มีอาบัติ ๕๐๐ ตัว, เมื่อภิกษุแอ่นสะเอวใน

อากาศ มีอาบัติ ๕๐๐ ตัว ฉันนั้น, บัณฑิตพึงทราบ อาบัติทั้งหมด

๒,๐๐๐ ตัว ด้วยอำนาจปัญจกะทั้ง ๔ ด้วยประการฉะนี้.

[อธิบายขัณฑจักรและพัทธจักรเป็นต้น]

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสพระบาลีมีความวิจิตรไปด้วยชนิด

แห่งขัณฑจักรและพัทธจักรเป็นต้นว่า เพื่อความหายโรคและเพื่อความ

สุข ดังนี้ ก็เพื่อแสดงว่า เมื่อมีการปล่อยสุกกะให้เคลื่อนด้วยความ

พยายามโดยความจงใจ ของภิกษุผู้จับ (องคชาต) ตามลำดับ หรือผิด

ลำดับ หรือเบื้องต่ำใน ๑๐ บท มีบทว่า อาโรคฺยตฺถาย เป็นต้นก่อน

แล้วจับเบื้องบนก็ดี จับเบื้องบนแล้วจับเบื้องต่ำก็ดี จับทั้งสองข้างแล้ว

หยุดอยู่ที่ตรงกลางก็ดี จับที่ตรงกลางแล้วขยับไปทั้งสองข้างก็ดี จับให้มี

มูลรวมกันทั้งหมดก็ดี ชื่อว่าความผิดที่หมาย ย่อมไม่มี.

ในพระบาลีนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสขัณฑจักรอันหนึ่ง ประกอบ

อาโรคยบท ด้วยทุก ๆ บท อย่างนี้ว่า เพื่อความหายโรคและเพื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 112

ความสุข เพื่อความหายโรคและเพื่อเภสัช ดังนี้ เป็นต้น ทรงประกอบ

สุขบทเป็นต้นด้วยทุก ๆ บท นำมาจนถึงบทเป็นลำดับที่ล่วงไปแห่งตน ๆ

แล้วตรัส ๙ พัทธจักร, ด้วยประการดังกล่าวมานี้ จึงเป็นจักรมีมูลเดียว

กัน ๑๐ จักร. จักรเหล่านั้นกับด้วยจักรมีมูลสองเป็นต้น อันผู้ศึกษาพึง

ทราบให้พิสดาร โดยความไม่งมงาย. ส่วนใจความในเอกมูลกจักรแม้นี้

ปรากฏชัดแล้วแล. และตรัสจักรทั้งหลาย แม้ในสุกกะสีเขียวเป็นต้น

โดยนัยมีอาทิว่า ภิกษุจงใจ พยายามปล่อยสุกกะสีเขียวและสีเหลือง

ดังนี้ เหมือนใน ๑๐ บท มีบทว่า เพื่อความหายโรค เป็นต้น

ฉะนั้น. แม้จักรเหล่านั้น ก็ควรทราบให้พิสดารโดยความไม่งมงาย. ส่วน

ใจความแม้ในจักรทั้งหลายเหล่านั้น ก็ปรากฏชัดแล้วเหมือนกัน . ตรัส

มิสสกจักรอันหนึ่งอีกประกอบบทหลังกับบทหน้าอย่างนี้ คือ บทหนึ่งกับ

บทหนึ่ง สองบทกับสองบท ฯลฯ สิบบทกับสิบบทว่า อาโรคฺยตฺถญฺจ

นีลญฺจ อาโรคฺยตฺถญฺจ สุขตฺถญฺจ นีลญฺจ ปีตกญฺจ ดังนี้ เป็นต้น.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสจักรโดยนัยมีอาทิว่า ภิกษุจงใจ

พยายามว่า 'เราจักปล่อยสุกกะสีเขียว' แต่สุกกะสีเหลืองเคลื่อน ดังนี้

เพื่อแสดงนัยแม้น เพราะเมื่อภิกษุจงใจพยายามว่า " จักปล่อยสุกกะสีเขียว"

ครั้นสุกกะสีเขียวเป็นต้นเคลื่อนก็ดี จงใจพยายามด้วยอำนาจแห่งสุกกะสี-

เหลืองเป็นต้น ครั้นสุกกะสีเหลืองเป็นต้นนอกนี้ เคลื่อนก็ดี ไม่มีความ

ผิดสังเกตเลย. ต่อจากนั้น ทรงประกกอบบทหลังทั้งหมดด้วย ๙ บท มี

นีลบทเป็นต้น แล้วตรัสให้ชื่อว่า กุจฉิจักร. ต่อจากนั้น ทรงประกอบ

๙ บท มีปีตกบทเป็นต้น เข้าด้วยนีลบทเพียงบทเดียว แล้วตรัสให้ชื่อว่า

ปิฏฐิจีกร. ต่อจากนั้น ทรงประกอบ ๙ บทมีโลหิตกะเป็นต้น เข้าด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 113

ปีตกบทเดียวเท่านั้น แล้วตรัสทุติยปิฏฐิจักร. ทรงประกอบ ๙ บท ๆ

นอกนี้ แม้กับด้วยโลหิตกบทเป็นต้นอย่างนั้น แล้วตรัส ๘ จักรแม้เหล่า

อื่น; เพราะฉะนั้น พึงทราบปิฏฐิจักรมีคติ ๑๐ อย่าง ด้วยประการฉะนี้.

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงครุกาบัติอย่างเดียว โดยพิสดารค้วย

อำนาจแห่งจักรมิใช่น้อยมีขัณฑจักรเป็นต้นอย่างนี้แล้ว เพื่อจะทรงแสดง

ครุกาบัติ ลหุกาบัติ และอนาบัติ ด้วยอำนาจแห่งองค์เท่านั้น จึงตรัส

คำเป็นต้นว่า ย่อมจงใจ ย่อมพยายาม, สุกกะเคลื่อน ดังนี้.

บรรดานัยเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสครุกาบัติถึงพร้อม

ด้วยองค์ ๓ ในเพราะพยายามปล่อยอสุจิแห่งภิกษุผู้จงใจ เพื่อต้องการ

ความหายโรคเป็นต้น ในเวลาเกิดมีความกำหนัดเป็นต้น ในอัชฌัตตรูป

เป็นต้น แม้โดยนัยก่อนนั่นแล. ตรัสลหุกาบัติ คือ อาบัติถุลลัจจัย สำเร็จ

ด้วยองก์ ๒ ในเมื่อไม่มีการปล่อยแห่งภิกษุผู้จงใจและพยายามโดยนัยที่

สอง. ตรัสอนาบัติโดย ๖ นัย มีนัยว่า จงใจไม่พยายาม อสุจิเคลื่อน

ดังนี้เป็นต้น. ก็ความต่างแห่งอาบัติและอนาบัตินี้ ละเอียด สุขุม เพราะ-

ฉะนั้น พระวินัยธรควรกำหนดหมายให้ดี ครั้นกำหนดให้ดีแล้ว ถูก

ซักถามถึงความรังเกียจ พึงบอกอาบัติ หรืออนาบัติ หรือพึงกระทำ

วินัยกรรม. จริงอยู่ พระวินัยธรเมื่อกำหนดไม่ได้ ทำลงไป ย่อมถึง

ความลำบาก และไม่สามารถจะแก้ไขซึ่งบุคค เช่นนั้นได้ ดุจหมดผู้ไม่รู้

ต้นเหตุแห่งโรคแล้วปรุงยาฉะนั้น.

วิธีกำหนดในอธิการว่าด้วยความต่างแห่งอาบัติ และอนาบัตินั้น

ดังต่อไปนี้:- ภิกษุผู้มาเพราะความรังเกียจ อันพระวินัยธรพึงถามจน

ถึง ๓ ครั้งว่า ท่านต้องด้วยประโยคไหน ด้วยความกำหนัดไหน. ถ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 114

ครั้งแรกเธอกล่าวอย่างหนึ่ง แล้วภายหลังกล่าวอีกอย่างหนึ่ง ไม่กล่าวโดย

ทางเดียว, พึงกล่าวเตือนเธอว่า ท่านไม่พูดทางเดียวพูดเลี่ยงไป, เรา

ไม่อาจเพื่อจะทำวินัยกรรมแก่ท่านได้, ท่านจงไปแสวงหาความสวัสดีเถิด.

ก็ถ้าเธอกล่าวยืนยันโดยทางเดียวเท่านั้นถึง ๓ ครั้ง, กระทำตนให้แจ้งตาม

ความเป็นจริง, ลำดับนั้น พระวินัยธรพึงพิจารณาประโยค ๑๑ ด้วย

อำนาจแห่งราคะ ๑๑ อย่าง เพื่อวินิจฉัย อาบัติ อนาบัติ ครุกาบัติและ

ลหุกาบัติของเธอ.

[อธิบายราคะและประโยค ๑๑ อย่าง]

บรรดาราคะและประโยค ๑๑ นั้น ราคะ ๑๑ เหล่านี้ คือ ความ

ยินดีเพื่อจะให้เคลื่อน ๑ ความยินดีในขณะเคลื่อน ๑ ความยินดีในเมื่อ

อสุจิเคลื่อนแล้ว ๑ ความยินดีในเมถุน ๑ ความยินดีในผัสสะ ๑ ความ

ยินดีในความคัน ๑ ความยินดีในการดู ๑ ความยินดีในกิริยานั่ง ๑ ความ

ยินดีในคำพูด ความรักอาศัยเรือน ๑ ความยินดีด้วยกิ่งไม้ที่พึงหักได้ ๑.

ในราคะ ๑๑ อย่างนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- ความยินดีเพื่อจะ

ให้สุกกะเคลื่อน ชื่อว่า โมจนัสสาทะ. ความยินดีในขณะอสุจิเคลื่อน ชื่อว่า

มุจจนัสสาทะ. ความยินดีในเมื่ออสุจิเคลื่อนแล้ว ชื่อว่า มุตตัสสาทะ.

ความยินดีในเมถุน ชื่อว่า เมถุนัสสาทะ. ความยินดีในผัสสะ ชื่อว่า

ผัสสัสสาทะ. ความยินดีในความคัน ชื่อว่า กัณฑวนัสสาทะ. ความยินดี

ในการดู ชื่อว่า ทัสสนัสสาทะ. ความยินดีในกิริยานั่ง ชื่อว่า นิสสัชชัส-

สาทะ. ความยินดีในถ้อยคำ ชื่อว่า วาจัสสาทะ. ความรักอาศัยเรือน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 115

ชื่อว่า เคหสิตเปมะ. รุกขาวัยวะอย่างใดอย่างหนึ่ง มีดอกไม้และผลไม้

เป็นต้นที่เขาหักเอามาจากป่า ชื่อว่า วนภังคิยะ (ของขวัญ).

ก็บรรดาบททั้ง ๑๑ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสราคะ โดยยกความ

ยินดีที่สัมปยุตเป็นประธานด้วย ๙ บท ตรัส โดยสรูปด้วยบทเดียว, ตรัส

โดยวัตถุด้วยบทเดียว. จริงอยู่ วนภังคะ เป็นที่ตั้งแห่งราคะ, ไม่ใช่

เป็นตัวราคะทีเดียว. แต่ประโยค (ในการปล่อย) พระวินัยธรพึงทราบ

ด้วยอำนาจแห่งราคะเหล่านี้ โดยนัยดังจะกล่าวต่อไปนี้:-

ในความยินดีเพื่อจะให้สุกกะเคลื่อน พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อ

ภิกษุจงใจและยินดีอยู่ด้วยโมจนัสสาทเจตนา พยายาม, อสุจิเคลื่อนเป็น

สังฆาทิเสส, เมื่อภิกษุจงใจและยินดีอยู่ด้วยเจตนาอย่างนั้นเหมือนกัน

พยายาม. แต่อสุจิไม่เคลื่อน เป็นถุลลัจจัย. ถ้าว่าในเวลานอน ภิกษุ

เป็นผู้กลัดกลุ้มด้วยราคะ เอาขาอ่อน หรือกำมือบีบองคชาตให้แน่นแล้ว

หลับไปทั้งที่ยังมีความอุตสาหะ เพื่อต้องการจะปล่อย ก็เมื่อภิกษุนั้นหลับ

อยู่ อสุจิเคลื่อน, เป็นสังฆาทิเสส, ถ้าหากว่า เธอยังความกลัดกลุ้มด้วย

ราคะให้สงบโดยมนสิการอสุภะ มีใจบริสุทธิ์หลับไป, แต่เมื่ออสุจิเคลื่อน

ขณะเธอหลับ ก็เป็นอนาบัติ.

ในความยินดีขณะเคลื่อน พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุยินดีอสุจิ

ที่กำลังเคลื่อนโดยธรรมดาของมัน ไม่พยายาม, อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ

ก็ถ้าหากว่า เธอยินดีอสุจิที่กำลังจะเคลื่อนย่อมพยายาม, เมื่ออสุจิเคลื่อน

แล้วด้วยความพยายามนั้น เป็นสังฆาทิเสส. ในมหาปัจจรีกล่าวว่า เมื่อ

อสุจิเคลื่อนโดยธรรมดาของมัน เธอจับองคชาตไว้ด้วยคิดว่า 'อย่าเปื้อน

ผ้ากาสาวะ หรือ เสนาสนะ' ไปสู่ที่มีน้ำ เพื่อทำความสะอาด ย่อมควร.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 116

ในความยินดีเมื่ออสุจิเคลื่อนแล้ว พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อ

อสุจิเคลื่อน คือ เคลื่อนจากฐานโดยธรรมดาของมันแล้ว เมื่อภิกษุยินดี

ภายหลัง อสุจิเคลื่อนเว้นจากความพยายาม เป็นอนาบัติ. ถ้าเธอยินดี

พยายามที่นิมิตเพื่อต้องการให้เคลื่อนอีก แล้วให้เคลื่อน, เป็นสังฆาทิเสส.

ในความยินดีในเมถุน พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุจับมาตุคาม

ด้วยความกำหนัดในเมถุน อสุจิเคลื่อนเพราะประโยคนั้น เป็นอนาบัติ

แต่การจับต้อง (มาตุคาม) เช่นนั้น เป็นทุกกฏ. เพราะเป็นประโยคแห่ง

เมถุนธรรม เมื่อถึงที่สุด เป็นปาราชิก. ถ้าหากภิกษุกำหนัดด้วยความ

กำหนัดในเมถุน กลับยินดี พยายามที่นิมิต เพื่อต้องการจะปล่อย แล้ว

ปล่อย, เป็นสังฆาทิเสส. พึงทราบวินิจฉัยในความยินดีในผัสสะ ดัง

ต่อไปนี้:- ผัสสะมี ๒ อย่าง ผัสสะที่เป็นภายใน ๑ ผัสสะที่เป็นภาย

นอก ๑. พึงทราบวินิจฉัยในผัสสะที่เป็นภายในในก่อน:- เมื่อภิกษุเล่น

นิมิตของคนโดยคิดว่า เรารู้จักว่า ตึง หรือ หย่อนก็ดี โดยความซุกซน

ก็ดี อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ . ถ้าเธอเล่นอยู่ยินดี พยายามที่นิมิต เพื่อ

ประสงค์จะปล่อย แล้วปล่อย, เป็นสังฆาทิเสส.

ส่วนในผัสสะภายนอก พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อภิกษุลูบคลำ

อวัยวะน้อยใหญ่ของมาตุคาม และสวมกอดด้วยความกำหนัดในการเคล้า

คลึงกาย อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ. แต่เธอต้องกายสังสัคคสังฆาทิเสส.

ถ้าว่า ภิกษุกำหนัดด้วยความกำหนัดในการเคล้าคลึงกายกลับยินดี พยายาม

ในนิมิตเพื่อต้องการปล่อย แล้วปล่อย, เป็นสังฆาทิเสส แม้เพราะการ

ปล่อยสุกกะเป็นปัจจัย .

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 117

พึงทราบวินิจฉัยความยินดีโนความคัน ดังนี้:- เมื่อภิกษุเกานิมิต

ที่กำลังคัน ด้วยอำนาจแห่งหิตด้านและหิดเปื่อย ผื่นคัน และสัตว์เล็ก

เป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ด้วยความยินดีในความคันเท่านั้น อสุจิ

เคลื่อน เป็นอนาบัติ. ภิกษุกำหนัดด้วยความยินดีในความ กลับยินดี

พยายามในนิมิต เพี่อต้องการจะปล่อย แล้วปล่อย เป็นสังฆาทิเสส.

พึงทราบวินิจฉัยความยินดีในการดู ดังนี้:- ภิกษุเพ่งดูโอกาสอัน

ไม่สมควร (กำเนิด) ของมาตุคามบ่อย ๆ ด้วยอำนาจความยินดีในการดู

อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ. แต่เป็นทุกกฎเพราะเพ่งดูที่ไม่ใช่โอกาสอัน

สมควรแห่งมาตุคาม. ถ้าภิกษุกำหนัดด้วยความยินดีในการดู กลับยินดี

พยายามในนิมิต เพี่อต้องการจะปล่อย แล้วปล่อย เป็นสังฆาทิเสส.

พึงทราบวินิจฉัยความยินดีในการนั่ง ดังนี้:- เมื่อภิกษุนั่งด้วย

ความกำหนัดยินดีการนั่งในที่ลับกับมาตุคาม อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ.

แต่พระวินัยธร พึงปรับเธอด้วยอาบัติที่ต้องเพราะการนั่งในที่ลับเป็น

ปัจจัย. ถ้าภิกษุกำหนัดด้วยความยินดีในการนั่ง แล้วกลับยินดี พยายาม

ที่นิมิตเพี่อต้องการจะปล่อย แล้วปล่อย, เป็นสังฆาทิเสส.

พึงทราบวินิจฉันในความยินดีในคำพูด ดังนี้:- ภิกษุพูดเกี้ยว

มาตุคาม ด้วยคำพูดพาดพิงเมถุนด้วยความกำหนัดยินดีในถ้อยคำ อสุจิ

เคลื่อน เป็นอนาบัติ. แต่เธอต้องสังฆาทิเสส เพราะวาจาชั่วหยาบ. ถ้า

ภิกษุกำหนัดด้วยความยินดีในถ้อยคำแล้ว กลับยินดี พยายามที่นิมิต เพื่อ

ต้องการจะปล่อย แล้วปล่อย เป็นสังฆาทิเสส.

พึงทราบวินิจฉัยในความรักอาศัยเรือน ดังนี้:- เมื่อภิกษุลูบคลำ

และสวมกอดบ่อย ๆ ซึ่งมารดาด้วยความรักฐานมารดาก็ดี ซึ่งพี่สาว น้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 118

สาวด้วยความรักฉันพี่สาวน้องสาวก็ดี อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ แต่เป็น

ทุกกฎ เพราะถูกต้องด้วยความรักอาศัยเรือนเป็นปัจจัย. ถ้าหากว่า ภิกษุ

กำหนัดด้วยความรักอาศัยเรือนแล้วกลับยินดี พยายามที่นิมิตเพื่อต้องการ

จะปล่อย แล้วปล่อย เป็นสังฆาทิเสส.

พึงทราบวินิจฉัยในวนภังคะ (ของขวัญ) ดังนี้:- หญิงกับชายย่อม

ส่งบรรณาการ (ของขวัญ) มีชนิด คือ หมากพลู ของหอมดอกไม้ และ

เครื่องอบกลิ่นเป็นต้นไร ๆ ไปให้กันและกัน เพื่อต้องการความมีสันถว-

ไมตรีที่มั่นคง นี้ชื่อว่า วนภังคะ. ถ้า มาตุคามส่งของขวัญเช่นนั้น ไปให้

แก่ภิกษุผู้เข้าสู่ตระกูล ผู้อยู่ใกล้ชิดกันบางรูป, และเมื่อเธอกำหนัดหนักว่า

ของนี้หญิงชื่อโน้นส่งมาให้ ดังนี้แล้ว เอามือลูบคลำของขวัญเล่น

บ่อย ๆ อสุจิเคลื่อน เป็นอนาบัติ. ถ้าว่า ภิกษุกำหนัดหนักในวนภังคะ

แล้วกลับยินดี พยายามที่นิมิตเพื่อประสงล์จะปล่อย แล้วปล่อย, เป็น

สังฆาทิเสส. ถ้าแม้ เมื่อภิกษุพยายาม แต่อสุจิไม่เคลื่อน เป็นถุลลัจจัย.

พระวินัยธรพึงพิจารณาประโยค ๑๑ เหล่านี้ ด้วยอำนาจแห่งราคะ

๑๑ เหล่านี้แล้ว กำหนดอาบัติ หรืออนาบัติ ด้วยประการอย่างนี้ ครั้น

กำหนดดีแล้ว ถ้าเป็นครุกาบัติ พึงบอกว่า " เป็นครุกาบัติ" ถ้าเป็น

ลหุกาบัติ พึงบอกว่า " เป็นลหุกาบัติ" และพึงกระทำวินัยกรรมให้

สมควรแก่อาบัติเหล่านั้น ๆ. จริงอยู่ วินัยกรรมที่ทำแล้วอย่างนี้ ชื่อว่า

เป็นกรรมที่ทำดีแล้ว ดุจหมอรู้สมุฎฐานแห่งโรคแล้วปรุงยาฉะนั้น และ

ย่อมเป็นไปเพื่อความสวัสดีแก่บุคคลผู้นั้น.

พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า เจเตติ น อุปกฺกมติ เป็นต้น ดังนี้:-

ภิกษุจงใจด้วยเจตนายินดีที่จะปล่อย แต่ไม่พยายาม อสุจิเคลื่อน ไม่เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 119

อาบัติ. ภิกษุถูกความยินดีในการปล่อยบีบคั้นแล้ว จงใจว่า "ไฉนหนอ !

อสุจิจะพึงเคลื่อน" แต่ไม่พยายาม, อสุจิไม่เคลื่อน ไม่เป็นอาบัติ. ภิกษุ

ไม่จงใจด้วยความยินดีในการปล่อย พยายามด้วยความยินดีในผัสสะก็ดี

ด้วยความยินดีในการคันก็ดี อสุจิเคลื่อนไม่เป็นอาบัติ. ภิกษุไม่จงใจ

อย่างนั้นเหมือนกัน แต่พยายาม อสุจิไม่เคลื่อนไม่เป็นอาบัติ. ภิกษุเมื่อ

ตรึกถึงวิตก ไม่จงใจ ไม่พยายาม เพื่อต้องการปล่อย แต่อสุจิ

เคลื่อน, ไม่เป็นอาบัติ. ถ้าแม้เมื่อภิกษุนั้นตรึกถึงกามวิตกอยู่ อสุจิไม่

เคลื่อน. คำนี้ เป็นคำที่ชักมาอ้างในอรรถกถาโบราณว่า ภิกษุไม่จงใจ

ไม่พยายาม อสุจิไม่เคลื่อน ไม่เป็นอาบัติ ดังนี้.

คำว่า อนาปคฺติ สุปินนฺเตน ความว่า เมื่อภิกษุหลับแล้ว ฝัน

เหมือนว่าเสพเมถุนธรรมก็ดี ฝันเหมือนว่าถึงความเคล้าคลึงกาย (มาตุ-

คาม) เป็นต้นก็ดี ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้มีอสุจิเคลื่อนเพราะเหตุในความ

ฝันนั้นเลย. แต่เมื่อเจตนายินดีบังเกิดในความฝัน ถ้าหากเป็นวิสัยของเธอ.*

อย่าพึงเคลื่อนไหว ไม่พึงเอามือจับนิมิตเล่น แต่เพื่อจะรักษาผ้ากาสาวะ

และผ้าปูที่นอน จะเอาอุ้งมือจับ ไปสู่ที่มีน้ำ เพื่อทำความสะอาค ควรอยู่.

บทว่า นโมจนาธิปฺปายสฺส มีความว่า เมื่อภิกษุใด พอกนิมิต

ด้วยเภสัชก็ดี กระทำการถ่ายอุจจาระเป็นต้นก็ดี ไม่มีความประสงค์ในการ

ให้เคลื่อน อสุจิเคลื่อน, ไม่เป็นอาบัติแม้แก่ภิกษุนั้น. ไม่เป็นอาบัติ แม้

แก่ภิกษุบ้าทั้งสองจำพวก. ในสิกขาบทนี้ พระเสยยสกะเป็นต้นบัญญัติ.

ไม่เป็นอาบัติ แก่พระเสยยสกะผู้เป็นต้นบัญญัตินั้น ฉะนี้แล.

บทภาชนียวรรณา จบ

* โยชนาปาฐะ ๑/๔๓๔. สจสฺสาสโยติ สเจ อสฺส ภิกฺขุสฺส อวิสโย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 120

พึงทราบวินิจฉัยในสมุฏฐานเป็นต้น ดังนี้:- สิกขาบทนี้ มีสมุฏ-

ฐานดุจปฐมปาราชิกสิกขาบท ย่อมตั้งขึ้นทางกายกับจิตเป็นกิริยา เป็น

สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม อกุศลจิต มีเวทนา ๒

โดยเป็นสุขเวทนาและอุเบกขาเวทนาทั้งสองแล.

วินีตวัตถุในสังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๑

บรรดาวินีตวัตถุทั้งหลาย เรื่องความฝันมีนัยดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ตรัสแล้ว ในอนุบัญญัตินั้นแล. เรื่องถ่ายอุจจาระปัสสาวะหลายเรื่อง มี

เนื้อความชัดเจนทั้งนั้น.

ในเรื่องวิตก บทว่า กามวิตกฺก ได้แก่ ความตรึกถึงกามที่อาศัย

เรือน. ในเรื่องกามวิตกนั้น ตรัสอนาบัติไว้แม้โดยแท้, ถึงกระนั้น ภิกษุ

ไม่ควรตกอยู่ในอำนาจแห่งวิตก. เรื่องน้ำร้อนเรื่องแรกง่ายแล. ในเรื่อง

ที่ ๒ ภิกษุนั้นใคร่เพื่อจะปล่อย เอาน้ำร้อนสาดแล้วสาดอีกซึ่งนิมิตแล้ว

อาบน้ำ. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงปรับอาบัติแก่เธอ. ในเรื่อง

ที่ ๓ เป็นถุลลัจจัยเพราะมีความพยายาม. เรื่องยาและเรื่องเกา มีเนื้อความ

กระจ่างทั้งนั้นแล.

พึงทราบวินิจฉัยในมัคควัตถุหลายเรื่อง ดังนี้:- เมื่อภิกษุรูปแรก

มีขาล่ำกำลังเดินทาง อสุจิได้เคลื่อน เพราะความเสียดสีในที่แคบ ไม่

เป็นอาบัติแก่เธอ เพราะไม่มีความประสงค์ในการให้เคลื่อน. สำหรับรูป

ที่สอง อสุจิได้เคลื่อนอย่างนั้นเหมือนกัน แต่เป็นสังฆาทิเสส เพราะมี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 121

ความประสงค์ในการให้เคลื่อน. รูปที่สาม อสุจิไม่เคลื่อน แต่เป็นถุล-

ลัจจัย เพราะมีความพยายาม. เพราะเหตุนั้น ภิกษุกำลังเดินทาง เมื่อ

ความกลัดกลุ้มเกิดขึ้น ไม่ควรเดินทาง พึงหยุดเดิน ยังจิตให้สงบโดย

มนสิการในอสุภเป็นต้น กำหนดกรรมฐานด้วยจิตบริสุทธิ์ แล้วจึงเดิน

ต่อไป ถ้าหยุดยืนแล้วไม่อาจบรรเทาได้ พึงแวะออกจากหนทาง นั่ง

บรรเทาแล้วเดินกำหนดกรรมฐานด้วยจิตบริสุทธิ์นั่นแล.

ในเรื่องฝักหัวไส้หลายเรื่อง พวกภิกษุเหล่านั้น จับหัวไส้*ให้แน่น

ปล่อย (เบา) ให้เต็มแล้ว ๆ ถ่ายปัสสาวะ เหมือนพวกเด็กชาวบ้าน.

ในเรื่องเรือนไฟเมื่อภิกษุอังท้องอยู่ มีความประสงค์จะให้เคลื่อนก็ดี

ไม่ประสงค์จะให้เคลื่อนก็ดี เมื่ออสุจิเคลื่อนแล้ว เป็นอนาบัติเหมือนกัน.

เมื่อกระทำบริกรรมอยู่ อสุจิเคลื่อนด้วยอำนาจแห่งการยังนิมิตให้เคลื่อน

ไหว เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงปรับอาบัติในฐานะแห่งอาบัติ.

ในเรื่องเสียดสีด้วยขาหลายเรื่อง ท่านกล่าวไว้ในกุรุนทีอรรถกถา

อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าปรับอาบัติแก่ภิกษุเหล่าใด, ภิกษุเหล่านั้น

บัณฑิตพึงทราบว่า เสียดสีอยู่โดยรอบองคชาต ให้ถูกต้ององคชาตนั้น

แล้ว. เรื่องสามเณรเป็นต้น มีเนื้อความกระจ่างทั้งนั้น.

ในเรื่องดัดกาย คำว่า กาย ถมฺเภนฺตสฺส มีความว่า เมื่อภิกษุ

นั่งนานหรือนอนนานก็ดี กระทำนวกรรมก็ดี แล้วดัดกายเพื่อแก้ความ

เมื่อขยบ.

*สารัตถทีปนี ๒/๒๖. วตฺถึ ทฬฺห คเหตฺวาติ องฺคชาตสฺส อคฺเค ปสฺสาวนิคฺคมนาเน จมฺม

ทฬฺห คเหตฺวา แปลว่า ข้อว่า จับหัวไส้ให้แน่นนั้น ได้แก่ จับที่ปลายองคชาต คือ หนังใน

ที่ซึ่งปัสสาวะไหลออกให้แน่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 122

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องเพ่งดู ดังนี้:- แม้ถ้าว่า หญิงนั้นนุ่งผ้า

ตั้งร้อยชั้น ภิกษุยืนข้างหน้าก็ตาม ข้างหลังก็ตาม เพ่งดูว่า "นิมิตอยู่

ในโอกาสชื่อนี้" เป็นทุกกแท้. ก็เมื่อเพ่งดูนิมิตแห่งพวกเด็กหญิงชาว

บ้านผู้ไม่นุ่งผ้า จะต้องกล่าวอะไรเล่า ? ในนิมิตแม้แห่งสัตว์เดียรัจฉาน

ก็มีนัยเหมือนกันนี้. แต่เมื่อภิกษุไม่เหลียวไปข้างโน้นข้างนี้ เพ่งดูโดย

ประโยคเดียว แม้ตลอดทั้งวัน ก็เป็นทุกกฏตัวเดียวเท่านั้น. เมื่อเหลียวดู

ทางโน้นและทางนี้ เพ่งดูแล้ว ๆ เล่า ๆ เป็นทุกกฏทุก ๆ ประโยค. พระ-

วินัยธร ไม่พึงปรับด้วยอำนาจแห่งการลืมตาและหลับตา (กะพริบตา).

เมื่อเพ่งดูโดยบังเอิญ กลับพิจารณาแล้วตั้งอยู่ในสังวรอีก เป็นอนาบัติ.

เมื่อละสังวรนั้นแล้ว เพ่งดูอีก เป็นทุกกฏทีเดียว. เรื่องช่องลูกดาล

เป็นต้น มีเนื้อความกระจ่างทั้งนั้น .

ในเรื่องอาบน้ำหลายเรื่อง พระผู้มีพระภาคเจ้าปรับอาบัติแก่พวก

ภิกษุผู้เอานิมิตฟาดกระแสน้ำ. แม้เรื่องน้ำโคลนหลายเรื่อง ก็มีนัยเหมือน

กันนี้. ก็ในเรื่องน้ำโคลนนี้ น้ำโคลนท่านเรียกว่า อุทัญชละ. เรื่อง

อื่น ๆ นอกนี้ทั้งหมดเรื่องวิ่งในน้ำเป็นต้น บัณฑิตพึงทราบโดยอุบายนี้

เหมือนกัน. ส่วนความแปลกกัน ในเรื่องบุปผาวลีย์ดังต่อไปนี้:- ถึงว่า

จะไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่มีความประสงค์ในอันให้เคลื่อน. แต่กระนั้น

ก็เป็นทุกกฏ เพราะการเล่นเป็นปัจจัย ดังนี้แล.

สุกกวิสัฏฐิสิกขาบทวรรณนา ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 123

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒

เรื่องพระอุทายี

[๓๗๕] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นท่าน

พระอุทายีอยู่ในป่า วิหารของท่านงดงาม น่าดู น่าชม มีห้องกลาง มี

ระเบียงโดยรอบ เตียงตั่งฟูกหมอน จัดไว้เรียบร้อย น้ำฉัน น้ำใช้ ตั้ง

ไว้ดีแล้ว บริเวณเตียนสะอาด ประชาชนเป็นอันมากพากันมาชมวิหาร

ของท่านพระอุทายี แม้พราหมณ์คนหนึ่งกับภรรยาก็เข้าไปหาท่านพระ-

อุทายี แล้วได้กล่าวกะท่านว่า พวกผมอยากชมวิหารของท่าน ท่าน

พระอุทายีกล่าวเชิญว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญชมเถิดพราหมณ์ แล้วถือลูกดาล

ไขลิ่มผลักบานประตูเข้าไป

แม้พราหมณ์นั้นก็ตามหลังท่านพระอุทายีเข้าไป ส่วนพราหมณีตาม

หลังพราหมณ์เข้าไป ขณะนั้น ท่านพระอุทายีเดินไปเปิดบานหน้าต่างบาง

ตอน ปิดบานหน้าต่างบางตอนรอบห้อง แล้วย้อนมาทางหลัง จับอวัยวะ

น้อยใหญ่ของพราหมณีนั้น

ครั้น พราหมณ์นั้นสนทนากับ ท่านพระอุทายีแล้ว ก็ลากลับไป

พราหมณ์นั้นดีใจเปล่งวาจาแสดงความยินดีว่า พระสมณะเธอสายพระ-

ศากยบุตรเหล่านี้ อยู่ในป่าเช่นนี้ ยังมีอัธยาศัยดี แม้ท่านพระอุทายีอยู่ใน-

ป่าเช่นนี้ ก็ยังมีอัธยาศัยดี

เมื่อพราหมณ์กล่าวอย่างนั้นแล้ว พราหมณีได้กล่าวกะพราหมณ์นั้นว่า

พระอุทายีจะมีอัธยาศัยดีแค่ไหน เพราะพระอุทายีได้จับอวัยวะน้อยใหญ่

ของดิฉันเหมือนที่ท่านจับดิฉัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 124

พอได้ทราบดังนั้น พราหมณ์จึงเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า พระ-

สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ไม่ละอาย ทุศีล พูดเท็จ พระ-

สมณะเหล่านี้ยังจักปฏิญาณว่า เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติเรียบร้อย

ประพฤติพรหมจรรย์ พูดจริง มีศีล มีกัลยาณธรรม ดังนี้เล่า ความ

เป็นสมณะของพระสมณะเหล่านี้ไม่มี ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะ

เหล่านี้ไม่มี ความเป็นสมณะของพระสมณะเหล่านี้พินาศแล้ว ความเป็น

พราหมณ์ของพระสมณะเหล่านี้พินาศแล้ว ความเป็นสมณะของพระสมณะ

เหล่านี้จะมีแต่ไหน ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะเหล่านี้จะมีแต่ไหน

พระสมณะเหล่านี้ปราศจากความเป็นสมณะแล้ว พระสมณะเหล่านี้ปราศ-

จากความเป็นพราหมณ์แล้ว ไฉนพระสมณอุทายี จึงได้จับต้องอวัยวะ

น้อยใหญ่ของภรรยาเรา ต่อไปกุลสตรี กุลธิดา กุลกุมารี สะใภ้ผู้มีสกุล

กุลทาสี จักไม่กล้าไปสู่อารามหรือวิหาร เพราะถ้าไป พระสมณะเชื้อสาย

พระศากยบุตรเหล่านั้น ก็จะพึงประทุษร้ายเขา

ภิกษุทั้งหลายได้ยินพราหมณ์นั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายี จึง

ได้ถึงกายสังสัคคะกับมาตุคามเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า รับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ใน

เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 125

ท่านพระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่าเธอถึงกายสังสัคคะกับมาตุคาม

จริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับ ว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่นไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้ถึงกายสังสัคคะกับมาตุคามเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อ

คลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่

เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมีความถือมั่น

มิใช่หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดงแล้วเพื่อคลายความกำหนัด

เธอยังจักคิดเพื่อมีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจัก

คิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อ

มีความถือมั่น

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อ

เป็นที่สำรอกราคะ เพื่อเป็นที่สร่างความเมา เพื่อบรรเทาความกระหาย

เพื่อเพิกถอนอาลัย เพื่อเข้าไปตัดวัฏฏะ เพื่อสิ้นตัณหา เพื่อคลาย

ความกำหนัด เพื่อความดับทุกข์ เพื่อความไม่มีกิเลสเครื่องร้อยรัด

มิใช่หรือ

การการละกามเราก็บอกแล้ว การกำหนดรู้ความหมายในการ การ

กำจัดความกระหายในกาม การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม

การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราก็บอกไว้แล้วโดยอเนกปริยาย

มิใช่หรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 126

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุม-

ชนที่เลื่อมใสแล้ว อันที่แท้ การกระทำของเธอนั่นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของ

ชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย

แล้ว ทรงติโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ทรงสรรเสริญคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็น

คนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนก-

ปริยาย แล้วทรงทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่

เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั่งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 127

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๖. ๒. อนึ่ง ภิกษุใดกำหนัดแล้ว มีจิตแปรปรวนแล้ว ถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม คือจับมือก็ตาม จับช้องผมก็ตาม

ลูบคลำอวัยวะอันใดอันหนึ่งก็ตาม เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระอุทายี จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๓๗๖] บทว่า อนึ่ง . . . ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติ

อย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม

เป็นนวกะก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม ผู้นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า

อนึ่ง. . .ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา

ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น ผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสาร-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 128

ธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์

พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้แล้วด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควร

แก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุนี้ใด ที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบท

ให้แล้วด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ ภิกษุนี้ พระผู้มี-

พระภาคเจ้าทรงประสงค์ว่า ภิกษุ ในอรรถนี้.

ที่ชื่อว่า กำหนัดแล้ว คือ มีความยินดี มีความเพ่งเล็ง มีจิตปฏิพัทธ์.

บทว่า แปรปรวนแล้ว ความว่า จิตที่ถูกราคะย้อมแล้ว ก็แปรปรวน

ทิ่ถูกโทสะประทุษร้ายแล้วก็แปรปรวน ทิ่ถูกโมหะให้ลุ่มหลงแล้วก็แปร-

ปรวน แต่ที่ว่าแปรปรวนโนอรรถนี้ ทรงประสงค์จิตทื่ถูกราคะย้อมแล้ว.

ที่ชื่อว่า มาตุคาม ไค้แก่ หญิงมนุษย์ ไม่ใช่หญิงยักษ์ ไม่ใช่หญิง

เปรต ไม่ใช่สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย โดยที่สุด แม้เด็กหญิงที่เกิดในวันนั้น

ไม่ต้องพูดถึงหญิงผู้ใหญ่.

บทว่า กับ คือ ด้วยกัน.

คำว่า ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย คือ ที่เรียกกันว่าความประพฤติ

ล่วงเกิน.

ทื่ชื่อว่า มือ คือ หมายตั้งแต่ข้อศอกถึงปลายเล็บ.

ทื่ชื่อว่า ช้องผม คือ เป็นผมล้วนก็มี แซมด้วยด้ายก็มี แซมด้วย

ดอกไม้ก็ แซมด้วยเงินก็มี แซมด้วยทองก็มี แซมด้วยแก้วมุกดาก็มี

แซมด้วยแก้วมณีก็มี.

ที่ชื่อว่า อวัยวะ คือ เว้นมือและช้องผมเสีย นอกนั้นชื่อว่าอวัยวะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 129

[๓๗๗] ที่ชื่อว่า ลูบคลำ คือ ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ

อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง.

[๓๗๘] ที่ชื่อว่า ถูก คือ เพียงถูกต้อง ที่ชื่อว่า คลำ คือ จับ

เบา ๆ ไปข้างโน้นข้างนี้ ที่ชื่อว่า ลูบลง คือ ลูบลงเบื้องล่าง ที่ชื่อว่า

ลูบขึ้น คือ ลูบขึ้นเบื้องบน ที่ชื่อว่า ทับ คือ กดลงข้างล่าง ที่ชื่อว่า อุ้ม

คือ ยกขึ้นข้างบน ที่ชื่อว่า ฉุด คือ รั้งมา ที่ชื่อว่า ผลัก คือ ผลักไป

ที่ชื่อว่า กด คือ จับอวัยวะกดลง ที่ชื่อว่า บีบ คือ บีบกับวัตถุบางอย่าง

ที่ชื่อว่า จับ คือ จับเฉย ๆ ที่ชื่อว่า ต้อง คือ เพียงต้องตัว.

[๓๗๙] บทว่า สังฆาทิสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาส

เพื่ออาบัตินั้นได้ ซักเข้าอาบัติเดิมได้ ให้มานัตได้ เรียกเข้าหมู่ได้ ไม่ใช่

คณะมากรูปด้วยกัน ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า

สังฆาทิเสส คำว่า สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของ

อาบัตินิกายนั้นแล แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

ภิกษุเปยยาล สตรี-กายต่อกาย

[๓๘๐] สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสตรี ด้วยกาย ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง

ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรี

ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 130

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสตรี ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกาย

นั้นของสตรี ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสตรี ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์-กายต่อกาย

บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และถูก คลำ

ลูบขึ้น ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น

ของบัณเฑาะก์ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ

บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 131

บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรี มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ท้อง

ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ-กายต่อกาย

บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกาย

นั้นของบุรุษ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ

บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง

ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษ

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบุรุษ ด้วยกายต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่ง

กายนั้นของบุรุษ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบุรุษ ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน-กายต่อกาย

สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 132

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉาน ด้วยกายต้องอาบัติทุกกฎ

สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกาย

นั้นของสัตว์ดิรัจฉาน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ

สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรี มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้น ของสัตว์ดิรัจฉาน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบัณเฑาะก์ มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉาน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษ มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉาน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ.

สตรีสองคน-กายต่อกาย

[๓๘๑] สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยสตรีทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 133

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ

ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ชึ่งกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกายต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์สองคน-กายต่อกาย

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัย บัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฎ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 134

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฎ ๒ ตัว

บุรุษสองคน-กายต่อกาย

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษทั้งสองคน ด้วยกายต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยบุรุษทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของบุรุษทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติ ทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 135

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ

ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉานสองตัว-กายต่อกาย

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ตัว มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก

กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสงสัยสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรีทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองตัว

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองตัว ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 136

สตรี บัณเฑาะก์-กายต่อกาย

[๓๘๒] สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี

ทั้งสองคน มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฎ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสองคนมีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฎ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 137

สตรี บุรุษ-กายต่อกาย

สตรีหนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีหนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของสตรีและบุรุษทั้งสอง ด้วยกายต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติ

ถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายของสตรีและบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฎ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้ง-

สองคน มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 138

สตรี ดิรัจฉาน-กายต่อกาย

สตรีหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัดและถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสอง

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรีหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 139

บัณเฑาะก์ บุรุษ-กายต่อกาย

บัณเฑาะก์หนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้ง

สองคน มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์หนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสองคน มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง บุรุษหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 140

บัณเฑาะก์ สัตว์ดิรัจฉาน-กายต่อกาย

บัณเฑาะก์หนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็น

บัณเฑาะก์ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม

ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์หนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มี

ความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม

ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์หนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 141

บุรุษ สัตว์ดิรัจฉาน-กายต่อกาย

บุรุษหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบุรุษทั้งสอง

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษหนึ่งสัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ด้วยกาย

ต้องอาบัติ ทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษหนึ่ง สัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสอง มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 142

สตรี-กายต่อของเนื่องด้วยกาย

[๓๘๓] สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรี ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จัน ต้อง

ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด

บีบ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

ด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-ของเนื่องด้วยกายต่อกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น

ของสตรี ด้วยของเนื่องด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรีทั้งสองคน มีความกำหนัด

และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่ง

กายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยของเนื่องด้วยกาย ต้องอาบัติถุลลัจจัย

๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 143

จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ด้วย

ของเนื่องด้วยกายต้องอาบัติทุกกฎ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-ของเนื่องด้วยกายต่อของเนื่องด้วยกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก

คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่อง

ด้วยกายนั้นของสตรี ด้วยของเนื่องด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ

ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วยของเนื่องด้วยกาย

ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้น ของสตรี และบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

ด้วยของเนื่องด้วยกาย ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก

ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรี ด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งกายนั้น ของสตรีทั้งสองคน ด้วยของที่โยนไป

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 144

มีความกำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งกายนั้นของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

ด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อเนื่องด้วยกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก ต้อง

ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรี ด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีทั้งสองคน ด้วย

ของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสองด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อของที่โยน

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และถูก

ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของสตรี ด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของสตรีทั้งสอง ด้วยของที่โยน

ไป ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และถูก ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของสตรีและบัณเฑาะก์

ทั้งสองด้วยของที่โยนไป ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว.

ภิกษุเปยยาล จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 145

อิตถีเปยยาล

สตรี-กายต่อกาย

[๓๘๔] สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด

และสตรี ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง

ซึ่งกายนั้นของภิกษุด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย

รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสอง ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก

กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของภิกษุ ด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์

จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก

กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้นของภิกษุ ด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์

จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติ

สังฆาทิเสส

สตรี-กายต่อของเนื่องด้วยกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

ถูก คลำ ลูบขึ้น ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของ

เนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายาม

ด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 146

กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยกาย ภิกษุมี

ความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติถุลลัจจัย

๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

ความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยกาย

ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-ของเนื่องด้วยกายต่อกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกาย

นั้นของภิกษุ ด้วยของเนื่องด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายาม

ด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก

กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของเนื่องด้วยกาย ภิกษุมี

ความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติถุลลัจจัย

๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของเนื่องด้วยกาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 147

ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-ของเนื่องด้วยกายต่อของเนื่องด้วยกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของ

เนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยของเนื่องด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์

จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความกำหนัด

และสตรีทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด ผลัก กด บีบ

จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยของเนื่องด้วยกาย ภิกษุ

มีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก คลำ ลูบลง ลูบขึ้น ทับ อุ้ม ฉุด

ผลัก กด บีบ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ ด้วยของ

เนื่องด้วยกาย ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

ถูก ต้อง ซึ่งกายนั้นของภิกษุ ด้วยของที่โยน ไป ภิกษุมีความประสงค์จะ

เสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 148

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งกายนั้นของภิกษุ ด้วยของที่

โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของ

ที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อของเนื่องด้วยกาย

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้น ของภิกษุ ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมี

ความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของภิกษุ

ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบ

ผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำกัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายนั้นของ

ภิกษุ ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย

รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-ของที่โยนต่อของที่โยน

สตรีหนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 149

ถูก ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของภิกษุ ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความ

ประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฎ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และสตรีทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของภิกษุ ด้วย

ของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะ

อยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรีหนึ่ง บัณเฑาะก์หนึ่ง ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และทั้งสองคน ถูก ต้อง ซึ่งของที่โยนมานั้นของภิกษุ

ด้วยของที่โยนไป ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบ

ผัสสะอยู่ ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว.

อิตถีเปยยาล จบ

[๓๘๕] ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะ

อยู่ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ พยายามด้วยกาย แต่ไม่รู้ตอบผัสสะ

ต้องอาบัติทุกกฎ

ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ แต่ไม่พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่

ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุมีความประสงค์จะเสพ แต่ไม่พยายามด้วยกาย และไม่รู้ตอบ

ผัสสะ ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุมีความประสงค์จะให้พ้น พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะอยู่

ไม่ต้องอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 150

ภิกษุมีความประสงค์จะให้พ้น พยายามด้วยกาย แต่ไม่รู้ตอบผัสสะ

ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุมีความประสงค์จะให้พ้น แต่ไม่พยายามด้วยกาย รู้ตอบผัสสะ

อยู่ ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุมีความประสงค์จะให้พ้น แต่ไม่พยายามด้วยกาย และไม่รู้

ตอบผัสสะ ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๓๘๖] ภิกษุไม่จงใจถูกต้อง ๑ ภิกษุถูกต้องด้วยไม่มีสติ ๑ ภิกษุ

ไม่รู้ ๑ ภิกษุไม่ยินดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะ

เวทนา ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

วินีตวัตถุ

คาถาแสดงชื่อเรื่อง

[๓๘๗ ] เรื่องมารดา เรื่องบิดา เรื่องพี่ เรื่องน้อง เรื่องชายา

เรื่องยักษี เรื่องบัณเฑาะก์ เรื่องสตรีหลับ เรื่องสตรีตาย เรื่องสัตว์

ดิรัจฉานตัวเมีย เรื่องตุ๊กตาไม้ เรื่องฉุดต่อ ๆ กัน เรื่องสะพาน เรื่อง

หนทาง เรื่องต้นไม้ เรื่องเรือ เรื่องเชือก เรื่องท่อนไม้ เรื่องดัน

ด้วยบาตร เรื่องไหว้ เรื่องพยายามแต่มิได้จับต้อง.

เรื่องมารดา

[๓๘๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งจับต้องมารดาด้วยความรัก

ฉันมารดา เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 151

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฎ

เรื่องธิดา

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งจับต้องธิดาด้วยความรักฉันธิดา เธอ

ได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบ

ทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฎ

เรื่องพี่น้องหญิง

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง จับต้องพี่น้องหญิงด้วยความรักฉัน

พี่น้องหญิง เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องชายา

[๓๘๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย

กับปุราณทุติยิกา เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องยักษี

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับนาง

ยักษิณี เธอได้มีความว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 152

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

ไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย

เรื่องบัณเฑาะก์

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับ

บัณเฑาะก์ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย

เรื่องสตรีหลับ

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับสตรี

นอนหลับ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสส แล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องสตรีตาย

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับสตรี

ตายแล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย

เรื่องสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับสัตว์

ดิรัจฉานตัวเมีย เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติ ทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 153

เรื่องตุ๊กตาไม้

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับตุ๊กตา

ไม้ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

ไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องทุกกฏ

เรื่องฉุดต่อ ๆ กัน

[๓๙๐] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีจำนวนมากเอาแขนต่อ ๆ กันโอบ

พาภิกษุรูปหนึ่งไป ภิกษุนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอยินดีไหม

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าไม่ยินดี พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ ภิกษุผู้ไม่ยินดี ไม่ต้องอาบัติ.

เรื่องสะพาน

[๓๙๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด เขย่าสะพาน

ที่สตรีขึ้นเดิน เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องหนทาง

[๓๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งพบสตรีเดินสวนทางมา

มีความกำหนัด ได้กระทบไหล่ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติ

สังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ

ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 154

เรื่องต้นไม้

[๓๙๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด ได้เขย่า

ต้นไม้ที่สตรีขึ้น เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องเรือ

[๓๙๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด โคลงเรือ

ที่สตรีลงนั่ง เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องเชือก

[๓๙๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด กระตุก

เชีอกที่สตรีรับไว้ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย

เรื่องท่อนไม้

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหนึ่งฉุดท่อนไม้ที่สตรีถือไว้ เธอได้มี

ความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องดันด้วยบาตร

[๓๙๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด ดันสตรีไป

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 155

ด้วยบาตร เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย

เรื่องไหว้

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด ยกเท้าขึ้นถูกต้อง

สตรีผู้กำลังไหว้ เธอได้มีความรังเกียจว่า เราไม่ต้องสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องพยายามแต่มิได้จับต้อง

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งพยายามว่าจะจับสตรี แต่มิได้จับต้อง

เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึง

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒ จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒

กายสังสัคคสิกขาบทวรรณนา

กายสังสัคคสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นอาทิ

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป ในกายสังสัคคสิกขาบทนั้น มีการพรรณนาบท

ที่ยังไม่ชัดเจน ดังต่อไป:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 156

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระอุทายี]

สองบทว่า อรญฺเ วิหรติ ความว่า ไม่ใช่อยู่ในป่าแผนกหนึ่ง

ต่างหาก คือ อยู่ที่สุดแดนข้างหนึ่งแห่งพระวิหารเขตวันนั่นเอง.

สองบทว่า มชฺเฌ คพฺโภ ความว่า ก็ที่ตรงกลางวิหารของท่าน

พระอุทายีนั้น มีห้อง.

บทว่า สมนฺตาปริยาคาโร ความว่า ก็โดยรอบห้องนั้น มีระเบียง

โรงกลมเป็นเครื่องล้อม. ได้ยินว่า ห้องนั้น ท่านพระอุทายีสร้างให้เป็น

ห้อง ๔ เหลี่ยมจตุรัสที่ตรงกลาง โดยมีโรงกลมเป็นระเบียงล้อมในภาย

นอก อย่างที่คนทั้งหลายอาจเพื่อจะเดินเวียนรอบภายในได้ทีเดียว.

บทว่า สุปฺปญฺต แปลว่า จัดตั้งไว้เรียบร้อย. อธิบายว่า เตียง

ดังนั้น จัดวางไว้โดยประการใด ๆ และในโอกาสใด ๆ จึงจะก่อให้เกิด

ความเลื่อมใส ให้ชาวโลกยินดี, ท่านได้จัดตั้งไว้โดยประการนั้น ๆ ใน

โอกาสนั้น ๆ. แท้จริง ท่านพระอุทายีนั้น จะกระทำกิจแม้สักอย่างหนึ่ง

โดยยกข้อวัตรขึ้นเป็นประธานก็หามิได้.

ข้อว่า เอกจฺเจ วาตปาเน ความว่า เปิดหน้าต่างทั้งหลายที่เมื่อ

ปิดแล้วมีความมืด ปิดหน้าต่างทั้งหลายที่เมื่อเปิดแล้วมีแสงสว่าง.

ข้อว่า อว วตฺเต สา พฺราหฺมณ ต พฺราหฺมณ เอตทโวจ

ความว่า เมื่อพราหมณ์นั้นกล่าวสรรเสริญอย่างนี้ นางพราหมณีนั้นเข้าใจ

ว่า พราหมณ์นี้เลื่อมใสแล้ว ชะรอยอยากจะบวช เมื่อจะเปิดเผยอาการ

ที่น่าบัดสีนั้นของตน แม้ควรปกปิดไว้ มีความมุ่งหมายจะตัดรอนศรัทธา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 157

ของพราหมณ์นั้นอย่างเดียว จึงได้กล่าวคำมีอาทิว่า กุโต ตสฺส อุฬา-

รตฺตตา* นี้

ในบทว่า อุฬารตฺตตา นั้น มีวิเคราะห์ว่า ตน (อัธยาศัย) ของผู้นั้น

โอฬาร (ดี); เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า มีตนอันโอฬาร. ภาวะแห่งบุคคล

ผู้มีตนอัน โอฬารนั้น ชื่อว่า อุฬารตฺตตา.

พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า กุลิตฺถีหิ เป็นต้นต่อไป:-

หญิงแม่เจ้าเรือนทั้งหลาย ชื่อว่า กุลสตรี. พวกลูกสาวของตระกูล

ผู้ไปกับบุรุษอื่นได้ ชื่อว่า กุลธิดา. พวกหญิงวัยรุ่นมีใจยังไม่หนักแน่น

เรียกชื่อว่า กุลมารี. หญิงสาวที่เขานำมาจากตระกูลอื่น เพื่อเด็กหนุ่ม

ในตระกูล เรียกชื่อว่า กุลสุณหา.

(อธิบายสิกขาบทวิภังค์ว่าด้วยถูกราคะครอบงำ)

บทว่า โอติณฺโณ นั้น ได้แก่ ผู้อันราคะซึ่งเกิดในภายในครอบงำ

แล้ว ประหนึ่งสัตว์ทั้งหลาย ที่ถูกยักษ์เป็นต้นข่มขื่นเอาไว้ฉะนั้น. อีก

อย่างหนึ่ง เมื่อไม่พิจารณากำหนัดอยู่ในฐานะที่น่ากำหนัด ชื่อว่าหยั่งลง

สู่ความกำหนัดเอง ดังสัตว์ที่ไม่พิจารณาตกหลุมเป็นต้นฉะนั้น. ก็คำว่า

โอติณฺโณ นี้ เป็นชื่อของภิกษุผู้สะพรั่งด้วยราคะ เท่านั้น แม้โดยประการ

ทั้งสอง; เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า

โอติณฺโณ นั้น อย่างนี้ว่า ผู้กำหนัดนัก ผู้มีความเพ่งเล็ง ผู้มีจิตปฏิพัทธ์

ชื่อว่า ผู้ถูกราคะครอบงำ.

*บาลี เป็นอุฬารตา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 158

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สารตฺโต ได้แก่ ผู้กำหนัดจัด ด้วย

กายสังสัคคราคะ.

บทว่า อเปกฺขวา ได้แก่ ผู้มีความเพ่งเล่ง ด้วยความมุ่งหมายใน

กายสังสัคคะ.

บทว่า ปฏิพทฺธจิตฺโต ได้แก่ ผู้มีจิตผูกพันในวัตถุนั้น ด้วยกาย

สังสัคคราคะนั่นแหละ.

บทว่า วิปริณเตน มีความว่าจิตที่ละปกติ กล่าวคือภวังคสันตติ

ที่บริสุทธิ์เสีย เป็นไปโดยประการอื่น จัดว่าแปรปรวนไปผิดรูป หรือ

เปลี่ยนแปลงไปผิดรูป. อธิบายว่า จิตเปลี่ยนแปลงอย่างใด ชื่อว่าผิดรูป,

มีจิตเปลี่ยนแปลงไปอย่างนั้น. ก็เพราะเหตุที่จิตนั้นไม่ล่วงเลยความประ-

กอบพร้อมด้วยกิเลส มีราคะเป็นต้นไปได้; ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า

เมื่อตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า วิปริณต นั้น โดยนัยเป็นต้นว่า วิปริณตนฺติ

รตฺตมฺปิ จิตฺต แล้วจะทรงแสดงอรรถที่ประสงค์ในสิกขาบทนี้ในที่สุด จึง

ตรัสว่า ก็แต่ว่า จิตที่กำหนัดแล้ว ชื่อว่าจิตแปรปรวน ซึ่งประสงค์ใน

อรรถนี้.

บทว่า ตทหุชาตา ได้แก่ เด็กหญิงที่เกิดในวันนั้น คือ สักว่าเกิด

ยังมีสีเป็นชิ้นเนื้อสด. จริงอยู่ ในเพราะเคล้าคลึงกายกับเด็กหญิง แม้เห็น

ปานนี้ ก็ย่อมเป็นสังฆาทิเสส, ในเพราะก้าวล่วงด้วยเมถุน ย่อมเป็น

ปาราชิก, และในเพราะยินดีด้วยรโหนิสัชชะ ย่อมเป็นปาจิตตีย์.

บทว่า ปเคว ได้แก่ ก่อนทีเดียว.

สองบทว่า กายสสคฺค สมาปชฺเชยฺย มีความว่า พึงถึงความ

ประชิดกายมีจับมือเป็นต้น คือ ความเป็นผู้เคล้าคลึงด้วยกาย. ก็กาย-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 159

สังสัคคะของภิกษุผู้เข้าถึงความเคล้าคลึงด้วยกายนั่นแหละ โดยใจความ

ย่อมเป็นอัชฌาจาร คือ ความประพฤติล่วงแดนแห่งสำรวมด้วยอำนาจ

ราคะ; เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงเนื้อความโดย

ย่อแห่งสองบทนั้น จึงตรัสบทภาชนะว่า เราเรียกอัชฌาจาร.

บทว่า หตฺถคฺคาห วา เป็นต้น เป็นบทจำแนกของสองบทนั้น

ท่านแสดงโดยพิสดาร ในสิกขาบทนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำเป็นต้น

ว่า หตฺโถ นาม กุปฺปร อุปาทาย เพื่อแสดงวิภาคแห่งอวัยวะ มีมือ

เป็นต้น ในบทภาชนะนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า กุปฺปร อุปาทาย มีความว่า หมาย

ถึงที่ต่อใหญ่ที่สอง (ตั้งแต่ข้อศอกลงไป). แต่ในที่อื่นตั้งแต่ต้นแขนถึง

ปลายเล็บ จัดเป็นมือ. ในที่นี้ ประสงค์ตั้งแต่ข้อศอกพร้อมทั้งปลาย

เล็บ.

บทว่า สุทฺเกสาน ได้แก่ ผมที่ไม่เจือด้วยด้ายเป็นต้น คือ

ผมล้วน ๆ นั่นเอง. คำว่า ช้อง นี้ เป็นชื่อของมัดผมที่ถักด้วยผม ๓

เกลียว.

บทว่า สุตฺตมิสฺสา ได้แก่ ช้องที่เขาเอาด้าย ๕ สี แซมในผม.

บทว่า มาลามิสฺสา ได้แก่ ช้องที่เขาแซมด้วยดอกมะลิเป็นต้น

หรือถักด้วยผม ๓ เกลียว. อีกอย่างหนึ่ง กำผมที่แซมด้วยดอกไม้อย่าง

เดียว แม้ไม่ได้ถัก ก็พึงทราบว่า ช้อง ในที่นี้.

บทว่า หิรญฺมิสฺสา ได้แก่ ช้องที่แซมด้วยระเบียบกหาปณะ.

บทว่า สุวณฺณมิสสา ได้แก่ ช้องที่ประดับด้วยสายสร้อยทองคำ

หรือด้วยสังวาลเป็นต้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 160

บทว่า มุตฺตามิสฺสา ได้แก่ ช้องที่ประดับด้วยแก้วมุกดา.

บทว่า มณิมิสฺสา ได้แก่ ช้องที่ประดับด้วยแก้วมณีร้อยด้าย. จริง

อยู่ เมื่อภิกษุจับช้องชนิดใดชนิดหนึ่งในช้องเหล่านี้เป็นสังฆาทิเสสทั้งนั้น.

ความพ้นไม่มีแก่ภิกษุผู้แก้ตัวว่า ข้าพเจ้าได้จับช้องที่เจือ.

ส่วนผม เป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถือเอาด้วยเวณิศัพท์ ใน

บทว่า เวณิคฺคาห นี้. เพราะเหตุนั้น แม้ภิกษุใดจับผมเส้นเดียว, แม้

ภิกษุนั้น ก็เป็นอาบัติเหมือนกัน.

ร่างกายที่เหลือ เว้นมือและช้องผมมีประการทุกอย่าง ซึ่งมีลักษณะ

ดังที่กล่าวแล้ว ในคำว่า หตฺถญฺจ เวณิญฺจ เปตฺวา นี้ พึงทราบว่า

อวัยวะ บรรดาอวัยวะมีมือเป็นต้น ที่กำหนดแล้วอย่างนี้ การจับมือ ชื่อว่า

หัตถัคคาหะ. การจับช้องผม ชื่อว่า เวณิคคาหะ. การลูบคลำสรีระที่

เหลือ ชื่อว่า การลูบคลำอวัยวะอันใดอันหนึ่งก็ตาม อรรถนี้ว่า ภิกษุใด

พึงถึงการจับมือก็ตาม การจับช้องผมก็ตาม การลูบคลำอวัยวะอย่างใด

อย่างหนึ่งก็ตาม, เป็นกองอาบัติสังฆาทิเสสแก่ภิกษุนั้น ดังนี้ เป็นใจความ

แห่งสิกขาบท.

[อรรถกถาธิบายบทภาชนีย์ว่าด้วยการจับมือเป็นต้น]

อนึ่ง การจับมือก็ดี การจับช้องผมก็ดี การลูบคลำอวัยวะที่เหลือ

ก็ดี ทั้งหมดโดยความต่างกันมี ๑๒ อย่าง เพราะฉะนั้น เพื่อแสดงความ

ต่างกันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า หัตถัคคาหะ

เป็นต้นนั้น โดยนัยมีอาทิว่า อามสนา ปรามสนา ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 161

บรรดาบทว่า อามสนา เป็นต้นนั้น ๒ บทที่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ตรัสว่า อามสนา นาม อามฏฺมตตา และว่า ฉุปนนฺนาม ผุฏฺมตฺตา นี้

มีความแปลกกันดังต่อไปนี้ การถูกต้อง คือ การเสียดสีในโอกาสที่

ถูกต้องเท่านั้น ไม่ถึงกับเลยโอกาสที่ถูกต้องไป ชื่อว่า อามสนา. จริงอยู่

การเสียดสีนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า อามัฏฐมัตตา. กิริยาสักว่า

ถูกต้องไม่เสียดสี ชื่อว่า ฉุปนัง. ถึงแม้ในบทเดียวกันนั้นเองที่พระผู้มี-

พระภาคเจ้าตรัสไว้ ในนิเทศแห่ง อุมฺมสนา และ อุลฺลงฺฆนา ว่า อุทธ

อุจฺจารณา ดังนี้ ก็มีความแปลกกันดังต่อไปนี้:- บทที่ ๑ ตรัสด้วย

สามารถแห่งกายของคนถูกต้องข้างบนกายของหญิง. บทที่ ๒ ตรัสด้วย

สามารถแห่งการยกกายของหญิงขึ้น. บทที่เหลือ ปรากฏชัดแล้วแล.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงประเภทแห่งอาบัติโดย

พิสดาร ด้วย สามารถแห่งบทเหล่านี้ ของภิกษุผู้ถูกราคะครอบงำแล้วมีจิต

แปรปรวน ถึงความเคล้าคลึงกาย จึงตรัสคำเป็นต้นว่า หญิง ๑ ภิกษุ

มีความสำคัญว่าเป็นหญิง ๑ มีความกำหนัด ๑ เคล้าคลึงกายด้วยกายกับ

หญิงนั้น ๑ ดังนี้.

พึงทราบวินิจฉัยบทเหล่านั้น ดังนี้:- คำว่า ภิกฺขุ จ น อิตฺถิยา

กาเยน กาย ความว่า ภิกษุนั้นมีความกำหนัด ๑ มีความสำคัญเป็น

หญิง ๑ (เคล้าคลึงกายของหญิง) ด้วยกายของตน บทว่า น เป็นเพียง

นิบาต. อีกอย่างหนึ่ง ความว่า (เคล้าคลึง) กายนั่น คือ กายต่างด้วยมือ

เป็นต้นของหญิงนั้น.

คำว่า อามสติ ปรามสิ ความว่า ก็ภิกษุประพฤติล่วงละเมิด

โดยอาการแม้อย่างหนึ่ง บรรดาการจับต้องเป็นต้นเหล่านี้นั่นแล ต้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 162

สังฆาทิเสส, ในการจับต้องเป็นต้นนั้น เมื่อภิกษุจับต้องคราวเดียวเป็น

อาบัติตัวเดียว, เมื่อจับต้องบ่อย ๆ เป็นสังฆาทิเสสทุก ๆ ประโยค. เเม้

เมื่อลูบคลำ หากว่า ไม่ปล่อยให้พ้นจากกายเลย ส่าย ย้าย ไส มือก็ดี

กายก็ดี ของตนไปข้างโน้น ข้างนี้, เมื่อลูบคลำอยู่ แม้ตลอดทั้งวัน ก็

เป็นอาบัติตัวเดียวเท่านั้น. ถ้าปล่อยให้พ้นจากกายแล้ว ๆ เล่า ๆ ลูบคลำ

เป็นอาบัติทุก ๆ ประโยค. เมื่อลูบลง ถ้าไม่ให้พ้นจากกายเลย ลูบตั้งแต่

กระหม่อมของหญิงลงไปจนถึงหลังเท้า ก็เป็นอาบัติเพียงตัวเดียว. ก็ ถ้าว่า

ถึงที่นั้น ๆ บรรดาที่มีท้องเป็นต้น ปล่อย (มือ) แล้วลูบลงไป เป็น

อาบัติทุก ๆ ประโยค.

พึงทราบวินิจฉัยแม้ในการลูบขึ้น ดังนี้:- เมื่อภิกษุลูบขึ้นตั้งแต่เท้า

ไปจนถึงศีรษะ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

พึงทราบวินิจฉัยการทับลง ดังนี้:- เมื่อภิกษุจับมาตุคามที่ผม

แล้วกดลง กระทำอัชฌาจารตามปรารถนา มีการจูบเป็นต้นแล้วปล่อย

เป็นอาบัติตัวเดียว. เมื่อภิกษุกดหญิงที่เงยขึ้นแล้ว ให้ก้มลงบ่อย ๆ เป็น

อาบัติทุก ๆ ประโยค.

พึงทราบวินิจฉัยแม้ในการอุ้ม ดังนี้:- เมื่อภิกษุจับมาตุคามที่ผม

ก็ดี ที่มือทั้งสองก็ดี ให้ลุกขึ้น มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

พึงทราบวินิจฉัยในการฉุด ดังนี้:- ภิกษุฉุดมาตุคามให้หันหน้ามา

หาตน ยังไม่ปล่อย ( มือ) เพียงใด เป็นอาบัติตัวเดียวเพียงนั้นแล เมื่อ

ปล่อยวาง (มือ) แล้วกลับฉุดมาแม้อีก เป็นอาบัติทุก ๆ ประโยค.

พึงทราบวินิจฉัยในการผลัก ดังนี้:- ก็เมื่อภิกษุจับที่หลังมาตุคาม

ลับหลังแล้วผลักไป มีนัยเช่นนี้เหมือนกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 163

พึงทราบวินิจฉัยในการกด ดังนี้:- เมื่อภิกษุจับที่มือ หรือที่แขน

มาตุคามให้แน่นแล้ว เดินไปแม้สิ้นระยะโยชน์หนึ่ง เป็นอาบัติเพียงตัว

เดียว. เมื่อปล่อยจับ ๆ เป็นอาบัติทุกๆ ประโยค, พระมหาสุมเถระกล่าวว่า

เมื่อไม่ปล่อยถูกต้อง หรือสวมกอดก็ดี บ่อย ๆ เป็นอาบัติทุก ๆ ประโยค

ฝ่ายพระมหาปทุมเถระกล่าวว่า การจับเดิมนั่นแหละเป็นประมาณ, เพราะ-

เหตุนั้น ภิกษุยังไม่ปล่อย (มือ) ตราบใด เป็นอาบัติเพียงตัวเดียว

ตราบนั้น.

พึงทราบวินิจฉัยในการบีบ ดังนี้:- เมื่อภิกษุบีบด้วยผ้าก็ดี เครื่อง

ประดับก็ดี ไม่ถูกต้องตัวเป็นถุลลัจจัย, เมื่อถูกต้องตัว เป็นสังฆาทิเสส

เป็นอาบัติตัวเดียวโดยประโยคเดียว, เป็นอาบัติต่าง ๆ ด้วยประโยคต่าง ๆ

กัน. ในการจับและถูกต้อง แม้เมื่อไม่กระทำวิการอะไร ๆ อื่น ย่อมต้อง

อาบัติแม้ด้วยอาการเพียงจับ เพียงถูกต้อง.

บรรดาอาการ มีการจับต้องเป็นต้นนี้ อย่างกล่าวมานี้ เมื่อภิกษุ

มีความสำคัญในหญิงว่าเป็นผู้หญิง ประพฤติล่วงละเมิดด้วยอาการแม้อย่าง

หนึ่ง เป็นสังฆาทิเสส. เป็นถุลลัจจัยแก่ภิกษุผู้มีความสงสัย แม้ภิกษุ

สำคัญในหญิงว่าเป็นบัณเฑาะก์ เป็นบุรุษ และเป็นดิรัจฉาน ก็เป็นถุลลัจจัย

เหมือนกัน. เป็นถุลลัจจัยแก่ภิกษุผู้มีความสำคัญในบัณเฑาะก์ว่าเป็น

บัณเฑาะก์ เป็นทุกกฏแก่ภิกษุผู้มีความสงสัย. สำหรับภิกษุผู้สำคัญ (ใน

บัณเฑาะก์) ว่าเป็นบุรุษ เป็นดิรัจฉาน และเป็นหญิงเป็นทุกกฏเหมือนกัน.

ภิกษุมีความสำคัญในบุรุษว่า เป็นบุรุษก็ดี มีความสงสัยก็ดี มีความสำคัญ

ว่า เป็นหญิง เป็นบัณเฑาะก์ เป็นสัตว์ดิรัจฉานก็ดี เป็นทุกกฏทั้งนั้น.

แม้ในสัตว์ดิรัจฉาน ก็เป็นทุกกฎโดยอาการทุกอย่างเหมือนกันแล. บัณฑิต

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 164

พึงกำหนดอาบัติเหล่านี้ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในเอกมูลกันแล้ว

ทราบอาบัติทวีคูณ แม้ในทวิมูลกัน ที่ตรัสโดยอุบายนี้ และโดยอำนาจ

แห่งคำว่า เทฺว อิตฺถิโย ทฺวินฺน อิตฺถีน เป็นต้น.

เหมือนอย่างว่า ในหญิง ๒ คน พึงทราบสังฆาทิเสส ๒ ตัว ฉันใด

ในหญิงมากคน พึงทราบสังฆาทิเสสมากตัว ฉันนั้น. จริงอยู่ ภิกษุใด

เอาแขนทั้งสองรวบจับหญิงมีจำนวนมากคนที่ยืนรวมกันอยู่ ภิกษุนั้นต้อง

สังฆาทิเสสมากตัว ด้วยการนับจำนวนหญิงที่ตนถูกต้อง ต้องถุลลัจจัย

ด้วยการนับหญิงที่อยู่ตรงกลาง. จริงอยู่ หญิงเหล่านั้นย่อมเป็นอันภิกษุ

นั้นจับต้องด้วยของเนื่องด้วยกาย.

อนึ่ง ภิกษุใด จับนิ้วมือ หรือผมของหญิงจำนวนมากรวมกัน,

ภิกษุนั้น พระวินัยธรอย่านับนิ้วมือ หรือเส้นผมปรับ พึงนับหญิงปรับ

ด้วยสังฆาทิเสส และเธอย่อมต้องถุลลัจจัยด้วยการนับหญิงทั้งหลายผู้มี

นิ้วมือและผมอยู่ตรงกลาง. จริงอยู่ หญิงเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้อันภิกษุนั้น

จับต้องแล้ว ด้วยของที่เนื่องด้วยกาย แต่เมื่อภิกษุรวบจับหญิงเป็นอัน

มาก ด้วยของที่เนื่องด้วยกาย มีเชือกและผ้าเป็นต้น ย่อมต้องอาบัติถุล-

ลัจจัย ด้วยการนับหญิงทั้งหมดผู้อยู่ภายในวงล้อมนั้นแล. ในมหาปัจจรี

ท่านปรับทุกกฏ ในพวกหญิงที่ไม่ได้ถูกต้องด้วย. บรรดานัยก่อนและนัย

ที่ท่านกล่าวไว้ในมหาปัจจรีนั้น เพราะขึ้นชื่อว่า การจับต้องของเนื่อง

ด้วยกาย กับของเนื่องด้วยกาย ไม่มีในบาลี; เพราะฉะนั้นแล นัยก่อน

ที่ท่านรวบรวมของเนื่องด้วยกายทั้งหมดเข้าด้วยกัน กล่าวไว้ในมหา-

อรรถกถาและกุรุนที ปรากฏว่าถูกต้องกว่าในอธิการนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 165

ก็ภิกษุใดมีความกำหนัดจัดเท่ากัน ในหญิงทั้งหลายผู้ยืนเอามือจับ

มือกันอยู่ตามลำดับ จับหญิงหนึ่งที่มือ, ภิกษุนั้นย่อมต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสสตัวเดียว ด้วยสามารถแห่งหญิงคนที่ตนจับ, ต้องอาบัติถุลลัจจัยหลาย

ตัว ตามจำนวนแห่งหญิงนอกนี้ โดยนัยก่อนนั่นแล. ถ้าว่าภิกษุนั้นจับ

หญิงนั้น ที่ผ้า หรือที่ดอกไม้อันเป็นของเนื่องด้วยกาย ย่อมต้องอาบัติ

ถุลลัจจัยมากตัว ตามจำนวนแห่งหญิงทั้งหมด. เหมือนอย่างว่า ภิกษุรวบ

จับหญิงทั้งหลาย ด้วยเชือกและผ้าเป็นต้น ย่อมเป็นอันจับต้องหล่อนแม้

ทั้งหมด ด้วยของเนื่องด้วยกาย ฉันใดแล, แม้ในอธิการนี้ หญิงทั้งหมด

ก็เป็นอันภิกษุจับต้องแล้ว ด้วยของเนื่องด้วยกาย ฉันนั้นเหมือนกัน

ฉะนี้แล.

ก็ถ้าว่า หญิงเหล่านั้นยืนจับกันและกันที่ชายผ้า, และภิกษุนี้จับ

หญิงคนแรกในบรรดาหญิงเหล่านั้น ที่มือ, เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ด้วยอำนาจแห่งหญิงคนที่ตนจับ, ต้องทุกกฏหลายตัวตามจำนวนแห่งหญิง

นอกนี้ โดยนัยก่อนนั่นแล. ด้วยว่า ของที่เนื่องด้วยกายกับของที่เนื่องด้วย

กายของหญิงเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอันภิกษุนั้นจับต้องแล้ว โดยนัยก่อน

เหมือนกัน. ก็ถ้าแม้นว่า ภิกษุนั้นจับหญิงนั้นเฉพาะของที่เนื่องด้วยกาย

เท่านั้น, ต้องทุกกฎหลายตัวตามจำนวนแห่งหญิงนอกนี้ โดยนัยถัดมา

นั่นเอง.

ก็ภิกษุใด เบียดผู้หญิงที่นุ่งผ้าหนา ถูกผ้าด้วยกายสังสัคคราคะ,

ภิกษุนั้นต้องถุลลัจจัย เบียดผู้หญิงที่นุ่งผ้าบางถูกผ้า, ถ้าว่าในที่ซึ่งถูกกัน

นั้น ขนของผู้หญิงที่ลอดออกจากรูผ้าถูกภิกษุ หรือขนของภิกษุแยงเข้าไป

ถูกหญิง หรือขนทั้งสองฝ่ายถูกกันเท่านั้น, เป็นสังฆาทิเสส. เพราะว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 166

แม้ถูกรูปที่มีวิญญาณครอง หรือไม่มีวิญญาณครอง (ของหญิง) ด้วยกรรม-

ชรูปที่มีวิญาณ (ของตน) ก็ดี ถูกรูปที่มีวิญญาณครอง หรือไม่มี-

วิญญาณครอง (ของหญิง) ด้วยผมเป็นต้น แม้ไม่มีวิญญาณครองก็ดี ย่อม

ต้องสังฆาทิเสสเหมือนกัน. ในการที่ขนต่อขนถูกกันนั้น ในกุรุนทีกล่าวว่า

พึงนับขนปรับสังฆาทิเสส. แต่ในมหาอรรถกถากล่าวว่า ไม่ควรนับขน

ปรับอาบัติ, ภิกษุนั้นต้องสังฆาทิเสสตัวเดียวเท่านั้น ส่วนภิกษุไม่ปูลาด

นอนบนเตียงของสงฆ์ จึงควรนับขนปรับอาบัติ. คำของพระอรรถกถา

นั่นแหละชอบ. เพราะว่า อาบัตินี้ปรับด้วยอำนาจแห่งหญิง ไม่ใช่ปรับ

ด้วยอำนาจแห่งส่วน ฉะนี้แล.

[ความต่างกันแห่งมติของพระเถระ ๒ รูป]

ในอธิการนี้ท่านตั้งคำถามว่า ก็ภิกษุใด คิดว่า จักจับขอเนื่อง

ด้วยกาย แล้วจับกายก็ดี คิดว่า จักจับกาย แล้วจับของเนื่องด้วยกายก็ดี

ภิกษุนั้นจะต้องอาบัติอะไร ?

พระสุมเถระตอบก่อนว่า ต้องอาบัติตามวัตถุเท่านั้น. ได้ยินว่า

ลัทธิของท่านมีดังนี้:-

วัตถุ ๑ สัญญา ๑ ราคะ ๑ ความรับรู้ผัสสะ ๑ เพราะ -

ฉะนั้น ควรปรับครุกาบัติ ที่กล่าวแล้วในนิเทศตามที่ทรง

อธิบายไว้.

ในคาถานี้ วัตถุ นั้น ได้แก่ ผู้หญิง. สัญญา นั้น ได้แก่ ความสำคัญว่า

เป็นผู้หญิง. ราคะ นั้น ได้แก่ ความกำหนัดในการเคล้าคลึงด้วยกาย. ความ

รับรู้ผัสสะ นั้น ได้แก่ ความรู้สึกผัสสะในการเคล้าคลึงด้วยกาย. เพราะ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 167

ฉะนั้น ภิกษุใดมีความสำคัญว่าเป็นผู้หญิง ด้วยความกำหนัด ในอันเคล้า-

คลึงด้วยกาย คิดว่า จักจับของเนื่องด้วยกาย แม้พลาดไปถูกกาย, ภิกษุ

นั้น ต้องสังฆาทิเสส เป็นโทษหนักแท้, ฝ่ายภิกษุนอกนี้ ต้องถุลลัจจัย

ฉะนี้แล.

ฝ่ายพระมหาปทุมเถระ กล่าวว่า

เมื่อความสำคัญผิดไป และการจับ ก็พลาดไป อาบัติ

หนักในนิเทศตามที่ทรงอธิบายไว้ ย่อมไม่ปรากฏในการจับ

นั้น.

ลัทธิของท่านเล่ามีดังนี้:- จริงอยู่ ท่านปรับสังฆาทิเสสแก่ภิกษุผู้มี

ความสำคัญในผู้หญิงว่าเป็นผู้หญิง, แต่ความสำคัญว่าเป็นผู้หญิง อันภิกษุนี้

ให้คลาดเสีย, ความสำคัญในของเนื่องด้วยกายว่าเป็นของเนื่องด้วยกาย อัน

เธอให้เกิดขึ้นแล้ว, ก็แม้เธอจับของเนื่องด้วยกายนั้น ท่านปรับถุลลัจจัย.

อนึ่ง การจับเล่า อันภิกษุ ก็ให้คลาดเสีย เธอไม่ได้จับของ

เนื่องด้วยกายนั้น แต่ได้จับผู้หญิง; เพราะฉะนั้น สังฆาทิเสส ชื่อว่ายัง

ไม่ปรากฏ ในเพราะการจับนี้ เพราะไม่มีความสำคัญว่าเป็นผู้หญิง, ถุล-

ลัจจัย ชื่อว่าไม่ปรากฏ เพราะของเนื่องด้วยกาย เธอก็ไม่ได้จับ, แต่ปรับ

เป็นทุกกฏ เพราะเธอถูกด้วยกายสังสัคคราคะ, จริงอยู่ เมื่อถูกวัตถุเช่นนี้

ด้วยกายสังสัคคราคะ คำว่า ไม่เป็นอาบัติ ไม่มี; เพราะฉะนั้น จึงเป็น

ทุกกฏแท้.

ก็แล พระมหาสุมเถระ ครันกล่าวคำนี้แล้ว จึงกล่าวจตุกกะนี้ว่า

ภิกษุคิดว่า จักจับรูปที่มีความกำหนัด แล้วจับรูปที่มีความกำหนัด เป็น

สังฆาทิเสส, คิดว่า จักจับรูปที่ปราศจากความกำหนัด แล้วจับรูปที่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 168

ปราศจากความกำหนัด เป็นทุกกฏ คิดว่า จักจับรูปที่มีความกำหนัด

ไพล่ไปจับรูปที่ปราศจากความกำหนัด เป็นทุกกฏ คิดว่า จักจับรูปที่ปราศ-

จากความกำหนัด ไพล่ไปจับรูปที่มีความกำหนัด เป็นทุกกฏเหมือนกัน.

พระมหาปทุมเถระกล่าวแล้วอย่างนี้ แม้ก็จริง, ถึงอย่างนั้นในวาทะ

ของพระเถระทั้งสองนี้ ก็วาทะของพระมหาสุมเถระเท่านั้น ย่อมสมด้วย

พระบาลีนี้ว่า ผู้หญิง ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นผู้หญิง ๑ มีความ

กำหนัด ๑ ถูก คลำ จับ ต้อง ซึ่งของเนื่องด้วยกายของผู้หญิงด้วยกาย

ต้องอาบัติถุลลัจจัย และด้วยวินิจฉัยในอรรถกถามีอาทิว่า ก็ภิกษุใด เอา

แขนทั้งสองรวบจับหญิงหลายคนที่ยืนรวมกันอยู่ , ภิกษุนั้น ต้องสังฆาทิเสส

เท่ากับจำนวนหญิงที่ตนถูกต้อง ดังนี้.

ก็ถ้าว่า การจับ ชื่อว่าคลาดไป ด้วยความคลาดแห่งสัญญาเป็นต้น

จะพึงมีไซร้, พระผู้มีพระภาคเจ้า พึงตรัสความแปลกแห่งบาลี โดยนัย

เป็นต้นว่า กายปฏิพทฺธญฺจ โหติ กายสญฺี จ ดังนี้บ้าง เหมือนตรัสไว้

ในบาลีเป็นต้นว่า ปณฺฑโก จ โหติ อิตฺถีสญฺี ดังนี้. ก็เพราะความ

แปลกกันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัสไว้แล้ว; ฉะนั้น ความเป็นตาม

วัตถุว่า เมื่อมีความสำคัญในผู้หญิงว่าเป็นผู้หญิง เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุ

ผู้ถูกต้องผู้หญิง, เป็นถุลลัจจัย แก่ภิกษุผู้ถูกต้องของเนื่องด้วยกาย ดังนี้

เท่านั้น ย่อมถูก.

จริงอยู่ แม้ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวว่า เมื่อหญิงดำห่มผ้าสีเขียว

นอน ภิกษุคิดว่า จักเบียดกาย แล้วเบียดกาย เป็นสังฆาทิเสส, คิดว่า

จักเบียดกาย แล้วเบียดผ้าสีเขียว เป็นถุลลัจจัย, คิดว่า จักเบียดผ้าเขียว

แล้วเบียดผ้าเขียว เป็นถุลลัจจัย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 169

ก็วัตถุมิสสกนัยนี้ใด ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ โดยนัยมีคำว่า

อิตฺถี จ ปณฺฑโก จ เป็นต้น, ในมิสสกวัตถุแม้นั้น อาบัติทั้งหลายที่

พระองค์ตรัสไว้ ด้วยอำนาจความสำคัญ และความสำคัญผิดในวัตถุ อัน

ผู้ไม่งมงายในพระบาลี พึงทราบ.

ส่วนในวาระว่าด้วยของเนื่องด้วยกายกับกาย เมื่อภิกษุมีความสำคัญ

ในผู้หญิงว่าเป็นผู้หญิง และจับของเนื่องด้วยกาย เป็นถุลลัจจัย, ใน

บัณเฑาะก์ที่เหลือ เป็นทุกกฎทุก ๆ บท, แม้ในวาระว่าด้วยกายกับของ

เนื่องด้วยกาย ก็มีนัยเหมือนกันนี้.

ในวาระว่าด้วยของเนื่องด้วยกายกับของที่เนื่องด้วยกาย และในวาระ

ทั้งหลาย มีวาระว่าด้วยกายกับของที่ซัดไปเป็นต้น คงเป็นทุกกฏแก่ภิกษุ

นั้น เหมือนกันทุก ๆ บท.

แต่วาระเป็นอาทิว่า "อิตฺถี จ โหติ อิตฺถีสญฺี สารตฺโต จ อีตฺถี

จ น ภิกฺขุสฺส กาเยน กาย" พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วยอำนาจแห่งความ

กำหนัดจัด ของมาตุคามในภิกษุ.

บรรดาบทเหล่านั้น หลายบทว่า อิตฺถี จ น ภิกฺขุสฺส กาเยน กาย

มีความว่า หญิงผู้มีความกำหนัดจัดในภิกษุ จึงไปยังโอกาสที่เธอนั่ง หรือ

นอน แล้วจับถูกกายของภิกษุนั้นด้วยกายของตน.

ข้อว่า เสวนาธิปฺปาโย กาเยน วายมติ ผสฺส ปฏิวิชานาติ มี

ความว่า ภิกษุซึ่งหญิงนั้นจับต้องแล้ว หรือถูกต้องอย่างนั้นแล้ว เป็นผู้มี

ความประสงค์ในอันเสพ ถ้าขยับ หรือไหวกาย แม้น้อยหนึ่ง เพื่อรับรู้

ผัสสะ, เธอต้องสังฆาทิเสส.

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว ในบทว่า หญิง ๒ คน นี้. ในหญิง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 170

และบัณเฑาะก์เป็นทุกกฏกับสังฆาทิเสส. ด้วยอุบายนี้ คำว่า ผู้หญิงถูก

นิสสัคคียวัตถุ, ภิกษุมีความประสงค์ในอันเสพพยายามด้วยกาย, แต่ไม่

รับรู้ผัสสะ ต้องทุกกฏ ดังนี้ ยังมีอยู่ เพียงใด, ชนิดต้องอาบัติ พึงทราบ

ตามนัยก่อนนั่นแหละ เพียงนั้น.

ก็แล ในคำนี้ ข้อว่า กาเยน วายมติ น จ ผสฺส ปฏิวิชานาติ

ความว่า ภิกษุเห็นผู้หญิงขว้างดอกไม้ หรือผลไม้ที่ตนขว้างไป ด้วย

ดอกไม้ หรือผลไม้สำหรับขว้างของหล่อน จึงทำกายวิการ คือ กระดิก

นิ้ว หรือยักคิ้ว หรือหลิ่วตา หรือทำวิการเห็นปานนั้นอย่างอื่น ภิกษุนี้

เรียกว่า พยายามด้วยกาย แต่ไม่รับรู้ผัสสะ. แม้ภิกษุนี้ชื่อว่า ต้องทุกกฏ

เพราะมีความพยายามด้วยกาย. ผู้หญิง ๒ คน ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว,

บัณเฑาะก์กับผู้หญิง ต้องทุกกฏ ๒ ตัวเหมือนกัน.

[อธิบายอาบัติและอนาบัติโดยลักษณะ]

พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงชนิดแห่งอาบัติโดยพิสดาร ด้วย

อำนาจแห่งวัตถุอย่างนี้แล้ว บัดนี้จะทรงแสดงอาบัติและอนาบัติโดยย่อ

ด้วยอำนาจลักษณะ จึงตรัสคำว่า เสวนาธิปฺปาโย เป็นอาทิ.

บรรดานัยเหล่านั้น นัยแรกเป็นสังฆาทิเสสด้วยครบองค์ ๓ คือ

ภิกษุเป็นผู้อันหญิงถูกต้องมีอยู่ ๑ มีความประสงค์ในอันเสพ พยายาม

ด้วยกาย ๑ รับรู้ผัสสะ ๑ นัยที่สองเป็นทุกกฏ ด้วยครบองค์ ๒ คือเพราะ

พยายามเหมือนในการถูกนิสสัคคียวัตถุด้วยนิสสัคคียวัตถุ ๑ เพราะไม่รับรู้

ผัสสะเหมือนในการไม่ถูกต้อง ๑. นัยที่ ๓ ไม่เป็นอาบัติแก่เธอผู้ไม่พยายาม

ด้วยกาย.

จริงอยู่ ภิกษุใดมีความประสงค์จะเสพ แต่มีการนิ่ง รับรู้ คือยินดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 171

เสวยผัสสะอย่างเดียว, ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้น เพราะไม่มีอาบัติในอาการ

สักว่า จิตตุปบาท.

ส่วนนัยที่ ๔ แม้ความรับรู้ผัสสะก็ไม่มี เหมือนในการถูกนิสสัคดีย-

วัตถุ ด้วยนิสสัคคียวัตถุ, มีแต่สักว่าจิตตุปบาทอย่างเดียวเท่านั้น; เพราะ-

เหตุนั้น จึงไม่เป็นอาบัติ. ไม่เป็นอาบัติในเพราะอาการทั้งปวง ของ

ภิกษุผู้ประสงค์จะให้พ้น.

ก็แล ในฐานะนี้ พึงทราบอธิบายว่า ภิกษุใดถูกผู้หญิงจับ จะ

ให้หญิงนั้นพ้นจากสรีระของตน จึงผลัก หรือ ตี, ภิกษุนี้ ชื่อว่า

พยายามด้วยกาย รับรู้ผัสสะ. ภิกษุใดเห็นผู้หญิงกำลังมาใคร่จะพ้นจาก

หญิงนั้น จึงตวาดให้หนีไป, ภิกษุนี้ ชื่อว่า พยายามด้วยกาย แต่ไม่

รับรู้ผัสสะ. ภิกษุใดเห็นทีฆชาติเช่นนั้นเลื้อยขึ้นบนกาย แต่ไม่สลัดด้วย

คิดว่า มันจงค่อย ๆ ไป, มันถูกเราสลัดเข้า จะพึงเป็นไปเพื่อความ

พินาศ, หรือรู้ว่าหญิงทีเดียวถูกตัว แต่นิ่งเฉย ทำเป็นไม่รู้เสียด้วยคิดว่า

หญิงนี้รู้ว่า ภิกษุนี้ ไม่มีความต้องการเรา แล้วจักหลีกไปเองแหละ หรือ

ภิกษุหนุ่มถูกผู้หญิงมีกำลังกอดไว้แน่น แม้อาการหนี แต่ต้องนิ่งเฉย

เพราะถูกยึดไว้มั่น ภิกษุนี้ ชื่อว่า ไม่ได้พยายามด้วยกาย แต่รับรู้ผัสสะ.

ส่วนภิกษุใดเห็นผู้หญิงมา แล้วเป็นผู้นิ่งเฉยเสียด้วยคิดว่า หล่อนจงมาก่อน,

เราจักตี หรือผลักหล่อนแล้วหลีกไปเสียจากนั้น ภิกษุนี้ พึงทราบว่า มี

ความประสงค์จะพ้นไปไม่พยายามด้วยกาย ทั้งไม่รับรู้ผัสสะ.

บทว่า อสญฺจิจฺจ มีความว่า ไม่จงใจว่า เราจักถูกผู้หญิงคนนี้

ด้วยอุบายนี้. จริงอยู่ เพราะไม่จงใจอย่างนั้น เมื่อภิกษุแม้ถูกต้องตัว

มาตุคามเข้าในคราวที่รับบาตรเป็นต้น ย่อมไม่เป็นอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 172

บทว่า อสติยา มีความว่า ภิกษุเป็นผู้ส่งใจไปในที่อื่น คือ ไม่มี

ความนึกว่า เราจักถูกต้องมาตุคาม เพราะไม่มีสติอย่างนี้ ไม่เป็นอาบัติ

แก่ภิกษุผู้ถูกต้องในเวลาเหยียดมือและเท้าเป็นต้น.

บทว่า อชานนฺตสฺส มีความว่า ภิกษุเห็นเด็กหญิงมีเพศคล้าย

เด็กชาย ไม่รู้ว่า เป็นผู้หญิง ถูกต้องด้วยกรณียกิจบางอย่างเท่านั้น ไม่

เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่รู้ว่า เป็นผู้หญิง และถูกต้องด้วยอาการอย่างนี้.

บทว่า อสาทิยนฺตสฺส มีความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่ยินดี

การเคล้าคลึงด้วยกาย เหมือนไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุที่ถูกผู้หญิงจับแขนกัน

และกันห้อมล้อมพาเอาไปฉะนั้น ภิกษุบ้าเป็นต้น มีนัยดังกล่าวแล้วแล.

และพระอุทายีเถระเป็นอาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ ไม่เป็นอาบัติแก่ท่านผู้

เป็นอาทิกัมมิกะนั้น ฉะนี้แล.

บทภาชนียวรรณนาจบ

บรรดาสมุฎฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐานดุจปฐมปาราชิก

สิกขาบท ย่อมเกิดขึ้นทางกายกับจิต เป็นกิริยา สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ

โลกวัชชะ กายกรรม อกุศลจิต มีเวทนา ๒ โดยเป็นสุขเวทนาและ

อุเบกขาเวทนาทั้งสองแล.

วินีตวัตถุในสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒

พึงทราบวินิจฉัย ในวินีตวัตถุทั้งหลายต่อไปนี้:-

สองบทว่า มาตุยา มานุปฺเปเมน ความว่า ย่อมจับต้องกาย

ของมารดาด้วยความรักฉันมารดา. ในเรื่องลูกสาวและพี่น้องสาว ก็มี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 173

นัยนี้เหมือนกัน. ในพระบาลีนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าปรับอาบัติทุกกฏ

เหมือนกันทั้งนั้น แก่ภิกษุผู้จับต้อง ด้วยความรักอาศัยเรือนว่า ผู้นี้

เป็นมารดาของเรา นี้เป็นธิดาของเรา นี้เป็นพี่น้องสาวของเรา เพราะ

ขึ้นชื่อว่าผู้หญิงแม้ทั้งหมด จะเป็นมารดาก็ตาม เป็นธิดาก็ตาม เป็นข้าศึก

แก่พรหมจรรย์ทั้งนั้น.

ก็เมื่อภิกษุระลึกถึงพระอาญานี้ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ถ้าแม้นว่า

เห็นมารดาถูกกระแสน้ำพัดไป ไม่ควรจับต้องด้วยมือเลย. แต่ภิกษุผู้ฉลาด

พึงนำเรือ หรือแผ่นกระดาน หรือท่อนกล้วย หรือท่อนไม้เข้าไปให้

เมื่อเรือเป็นต้นนั้นไม่มี แม้ผ้ากาสาวะนำไปวางไว้ข้างหน้า แต่ไม่ควร

กล่าวว่า จงจับที่นี้. เมื่อท่านจับแล้ว พึงสาวมาด้วยทำในใจว่า เราสาว

บริขารมา. ก็ถ้ามารดากลัว พึงไปข้างหน้า ๆ แล้วปลอบโยนว่า อย่ากลัว

ถ้ามารดาถูกน้ำพัดไปรีบขึ้นคอ หรือจับที่มือของภิกษุผู้เป็นบุตร ภิกษุ

อย่าพึงสลัดว่า หลีกหนีไป หญิงแก่ พึงส่งไปให้ถึงบก. เมื่อมารดา

ติดหล่มก็ดี ตกลงไปในบ่อก็ดี มีนัยเหมือนกันนี้. อธิบายว่า ภิกษุพึง

ฉุดขึ้น แต่อย่าพึงจับต้องเลย.

[อธิบายวัตถุที่เป็นอนามาส]

ก็มิใช่แก่ร่างกายของมาตุคามอย่างเดียวเท่านั้น เป็นอนามาส แม้

ผ้านุ่งและผ้าห่มก็ดี สิ่งของเครื่องประดับก็ดี จนชั้นเสวียนหญ้าก็ตาม

แหวนใบตาลก็ตาม เป็นอนามาสทั้งนั้น. ก็แลผ้านุ่งและผ้าห่มนั้นตั้งไว้

เพื่อต้องการใช้เป็นเครื่องประดับเท่านั้น. ก็ถ้าหากว่ามาตุคามวางผ้านุ่ง

หรือผ้าห่มไว้ในที่ใกล้เท้า เพื่อต้องการให้เปลี่ยนเป็นจีวร ผ้านั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 174

สมควร. ก็บรรดาเครื่องประดับ ภัณฑะที่เป็นกัปปิยะ มีเครื่องประดับศีรษะ

เป็นต้น อันมาตุคามถวายว่า ท่านเจ้าคะ ขอพระคุณท่านโปรดรับสิ่งนี้

เถิด ภิกษุควรรับไว้ เพื่อเป็นเครื่องใช้ มีฝักมีดโกนและเข็มเป็นต้น.

ส่วนภัณฑะที่ทำด้วยทอง เงิน และแก้วมุกดาเป็นต้น เป็นอนามาสแท้

ถึงแม้เขาถวาย ก็ไม่ควรรับ.

อนึ่ง มิใช่แต่เครื่องประดับที่สวมร่างกาย ของหญิงเหล่านั้น

อย่างเดียวเท่านั้น จะเป็นอนามาส. ถึงรูปไม้ก็ดี รูปงาก็ดี รูปเหล็กก็ดี

รูปดีบุกก็ดี รูปเขียนก็ดี รูปที่สำเร็จด้วยรัตนะทุกอย่างก็ดี ที่เขากระทำ

สัณฐานแห่งหญิง ชั้นที่สุดแม้รูปที่ปั้นด้วยแป้ง ก็เป็นอนามาสทั้งนั้น.

แต่ได้ของที่เขาถวายว่า สิ่งนี้จงเป็นของท่าน เว้นของที่สำเร็จด้วยรัตนะ

ทุกอย่าง ทำลายรูปที่เหลือ น้อมเอาสิ่งพี่ควรเป็นเครื่องอุปกรณ์เข้าใน

เครื่องอุปกรณ์ และสิ่งที่ควรใช้สอย เข้าในของสำหรับใช้สอยเพื่อ

ประโยชน์แก่การใช้สอย ควรอยู่.

อนึ่ง แม้ธัญชาติ ๗ ชนิด ก็เป็นอนามาสเช่นเดียวกับรูปสตรี

ฉะนั้น. เพราะฉะนั้น เมื่อเดินไปกลางทุ่งนา อย่าเดินจับต้องเมล็ด

ธัญชาติแม้ที่เกิดอยู่ในทุ่งนานั้นไปพลาง. ถ้ามีธัญชาติที่เขาตากไว้

ที่ประตูเรือน หรือที่หนทาง และด้านข้างมีทางเดิน อย่าเดินเหยียบ

ย่ำไป. เมื่อทางเดินไม่มี พึงอธิษฐานให้เป็นทางแล้วเดินไปเถิด. คน

ทั้งหลายปูลาดอาสนะถวายบนกองธัญชาติในละแวกบ้าน จะนั่งก็ควร.

ชนบางพวกเทธัญชาติกองไว้ในโรงฉัน ถ้าอาจจะให้นำออกได้ ก็พึง

ให้นำออก ถ้าไม่อาจ อย่าเหยียบย่ำธัญชาติ พึงตั้งตั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 175

แล้ว นั่งเถิด. ถ้าไม่มีโอกาส พวกชาวบ้านปูลาดอาสนะถวายตรง

ท่ามกลางธัญชาตินั้นเอง พึงนั่งเถิด. แม้ในธัญชาติที่อยู่บนเรือ ก็มีนัย

อย่างนี้เหมือนกัน. แม้อปรัณชาติมีถั่วเขียวและถั่วเหลืองเป็นต้นก็ดี ผลไม้

มีตาลและขนุนเป็นต้นก็ดี ที่เกิดในที่นั้น ภิกษุไม่ควรจับเล่น. แม้ใน

อปรัณชาติและผลไม้ที่ชาวบ้านรวมกองไว้ ก็มีนัยเช่นนี้ เหมือนกัน. แต่

การที่ภิกษุจะถือเอาผลไม้ที่หล่นจากต้นในป่า ด้วยตั้งใจว่า จักให้แก่

พวกอนุปสัมบัน ควรอยู่.

[ว่าด้วยรัตนะ ๑๐ ประการ]

บรรดารัตนะ ๑๐ ประการเหล่านี้ คือ มุกดา มณี ไพฑูรย์ สังข์

ศิลา ประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม บุษราคัม มุกดาตามธรรมชาติ

ยังไม่ได้เจียระไนและเจาะ ภิกษุจะจับต้องได้อยู่ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า

รัตนะที่เหลือ เป็นอนามาส แต่ในมหาปัจจรีท่านกล่าวว่า มุกดา ที่

เจียระไนแล้วก็ดี ที่ยังไม่เจียระไนก็ดี เป็นอนามาส และภิกษุรับเพื่อ

ประโยชน์เป็นมูลค่าแห่งสิ่งของ ย่อมไม่ควร แต่จะรับเพื่อเป็นยาแก่คน

เป็นโรคเรื้อน ควรอยู่. มณีชนิดสีเขียวและเหลืองเป็นต้น แม้ทั้งหมด

โดยที่สุดจนกระทั่งแก้วผลึกธรรมชาติที่เขาขัด เจียระไนและกลึงแล้ว เป็น

อนามาส. แต่มณีตามธรรมชาติพ้นจากบ่อเกิด ท่านกล่าวว่า ภิกษุจะรับ

เอาไว้เพื่อเป็นมูลค่าแห่งสิ่งของมีบาตรเป็นต้น ก็ควร. แม้มณีนั้น ท่าน

ห้ามไว้ในมหาปัจจรี. กระจกแก้ว ที่เขาหุงทำไว้อย่างเดียวเท่านั้น ท่าน

กล่าวว่า ควร. แม้ในไพฑูรย์ ก็มีวินิจฉัยเช่นเดียวกันกับแก้วมณี. สังข์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 176

จะเป็นสังข์สำหรับเป่า (แตรสังข์) ก็ดี ที่เขาขัดและเจียระไนแล้วก็ดี ประดับ

ด้วยรัตนะ (ขลิบด้วยรัตนะ) ก็ดี เป็นอนามาส. สังข์สำหรับตักน้ำดื่ม

ที่ขัดแล้ว ก็ดี ยังมิได้ขัดก็ดี เป็นของควรจับต้องได้แท้. อนึ่ง รัตนะที่

เหลือ ภิกษุจะรับไว้ เพื่อใช้เป็นยาหยอดตาเป็นต้นก็ดี เพื่อเป็นมูลค่า

แห่งสิ่งของก็ดี ควรอยู่.

ศิลา ที่ขัดและเจียระไนแล้ว ประดับด้วยรัตนะมีสีเหมือนถั่วเขียว

เท่านั้น เป็นอนามาส. ศิลาที่เหลือ ภิกษุจะถือเอามาเพื่อใช้เป็นหิน

ลับมีดเป็นต้น ก็ได้. ในคำนี้ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า บทว่า รตนสยุตฺตา

ได้แก่ ศิลาที่หลอมผสมปนกับทองคำ.

แก้วประพาฬที่ขัดและเจียระไนแล้ว เป็นอนามาส. ประพาฬ

ที่เหลือเป็นอามาส (ควรจับต้องได้) และภิกษุจะรับไว้ เพื่อใช้จ่ายเป็น

มูลค่าแห่งสิ่งของ ควรอยู่. แต่ในมหาปัจจรีกล่าวว่า ประพาฬที่ขัดแล้ว

ก็ตาม มิได้ขัดก็ตาม เป็นอนามาสทั้งนั้น และจะรับไว้ไม่สมควร.

เงินและทอง แม้เขาทำเป็นรูปพรรณทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นอนามาส

และเป็นของไม่ควรรับไว้ จำเดิมแต่ยังเป็นแร่. ได้ยินว่า อุดรราชโอรส

ให้สร้างพระเจดีย์ทองส่งไปถวายพระมหาปทุมเถระ. พระเถระห้ามว่า

ไม่ควร ดอกปทุมทองและดาวทองเป็นต้น มีอยู่ที่เรือนพระเจดีย์, แม้

สิ่งเหล่านั้นก็เป็นอนามาส แต่พวกภิกษุผู้เฝ้าเรือนพระเจดีย์ตั้งอยู่ในฐาน

เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ภิกษุเหล่านั้นจะลูบคลำดู

ก็ควร. แต่คำนั้น ท่านห้ามไว้ในกุรุนที. ท่านอนุญาตเพียงเท่านี้ว่า

จะชำระหยากเยื่อที่พระเจดีย์ทองควรอยู่. ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาทั้งปวง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 177

ว่า แม้โลหะที่กะไหล่ทอง* ก็มีคติทองคำเหมือนกัน จัดเป็นอนามาส.

ส่วนเครื่องใช้สอยในเสนาสนะ เป็นกัปปิยะทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น เครื่อง

บริขารประจำเสนาสนะ แม้ทุกอย่างที่ทำด้วยทองและเงิน เป็นอามาส

(ควรจับต้องได้). พวกชาวบ้านสร้างมณฑปแก้ว เป็นสถานที่แสดงพระ-

ธรรมวินัยแก่ภิกษุทั้งหลาย มีเสาแก้วผลึก ประดับประดาด้วยพวงแก้ว.

การที่ภิกษุทั้งหลาย จะเก็บรักษาเครื่องอุปกรณ์ทั้งหมดในรัตนมณฑปนั้น

ควรอยู่.

ทับทิมและบุษราคัม ที่ขัดและเจียระไนแล้ว เป็นอนามาส ที่ยัง

ไม่ได้ขัดและเจียระไนนอกนี้ ท่านกล่าวว่า เป็นอามาส ภิกษุจะรับไว้

เพื่อใช้เป็นมูลค่าแห่งสิ่งของ ควรอยู่. แต่ในมหาปัจจรีกล่าวว่า ทับทิม

และบุษราคัมที่ขัดแล้วก็ดี ที่ยังมิได้ก็ดี เป็นอนามาส โดยประการ

ทุกอย่าง และภิกษุจะรับไว้ ไม่ควร.

เครื่องอาวุธทุกชนิด เป็นอนามาส แม้เขาถวาย เพื่อประโยชน์

จำหน่ายเป็นมูลค่าแห่งสิ่งของก็ไม่ควรรับไว้ ชื่อว่า การค้าขายศัสตรา

ย่อมไม่สมควร. แม้คันธนูล้วน ๆ ก็ดี สายธนูก็ดี ประตักก็ดี ขอช้าง

* วิมติวิโนทนีฏีการ. อารกูฏโลหนฺติ สุวณฺณวรฺโณ กิตติมโลหวิเสโส. ติวิธญฺหิ กิตฺติมโลห

กสโลห วฏฏโลห หารกูฏโลหนฺติ ตตฺถ ติปุตมฺเพ มิสฺเสตฺวา กต กสโลห นาม. แปลว่า โลหะเทียม

มิสฺเสตฺวา กต วฏฺฏโลห. รสตมฺเพ มิสฺเสตฺวา กต หารกูฏโลห นาม แปลว่า โลหะเทียม

พิเศษมีสีเหมือนทองคำ ชื่อว่า อารกูฏโลหะ. ก็ โลหะทำเทียมมี ๓ อย่าง คือ กังสโลหะ

วัฏฏโลหะ หารกูฏโลหะ. บรรดาโลหะเหล่านั้น โลหะที่เขาผสมดีบุก และทองแดง ชื่อว่า

กังสโลหะ. ที่เขาทำผสมตะกั่วและทองแดง ชื่อว่า วัฏฏโลหะ. ที่เขาทำ ผสมปรอทและทองแดง

ชื่อว่า หารกูฏโลหะ. แม้ในสารัตถทีปนี ๓/๓๕ ก็ขยายความโดย ทำนองนี้-ผู้ชำระ. น่าจะเป็น

สัมฤทธิ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 178

ก็ดี โดยที่สุดแม้มีดและขวานเป็นต้น ที่เขาทำโดยสังเขปเป็นอาวุธก็เป็น

อนามาส. ถ้ามีใคร ๆ เอาหอก หรือโตมรมาวางไว้ในวิหาร เมื่อจะชำระ

วิหาร พึงส่งข่าวไปบอกแก่พวกเจ้าของว่า จงนำไปเสีย. ถ้าพวกเขา

ไม่นำไป อย่าให้ของนั้นขยับเขยื้อน พึงชำระวิหารเถิด. ภิกษุพบเห็น

ดาบก็ดี หอกก็ดี โตมรก็ดี ตกอยู่ในสนามรบ พึงเอาหินหรือของอะไร ๆ

ต่อยดาบเสียแล้ว ถือเอาไปเพื่อใช้ทำเป็นมีดควรอยู่. ภิกษุจะแยกแม้ของ

นอกนี้ออกแล้ว ถือเอาของบางอย่างเพื่อใช้เป็นมีด บางอย่างเพื่อใช้เป็น

ไม้เท้าเป็นต้น ควรอยู่. ส่วนว่าเครื่องอาวุธที่เขาถวายว่า ขอท่านจงรับ

อาวุธนี้ไว้ ภิกษุจะรับแม้ทั้งหมดด้วยตั้งว่า เราจักทำให้เสียหายแล้ว

กระทำให้เป็นกัปปิยภัณฑ์ดังนี้ควรอยู่.

เครื่องจับสัตว์ มีแหทอดปลาและข่ายดักนกเป็นต้นก็ดี เครื่อง

ป้องกันลูกศร มีโล่และตาข่ายเป็นต้นก็ดี เป็นอนามาสทุกอย่าง.

ก็บรรดาเครื่องดักสัตว์ และเครื่องป้องกันลูกศรที่ได้มาเพื่อเป็นเครื่อง

ใช้สอย ทีแรก ตาข่ายภิกษุจะถือเอาด้วยตั้งใจว่า เราจะผูกขึงไว้หรือพัน

เป็นฉัตรไว้เบื้องบนแห่งอาสนะ หรือพระเจดีย์ ควรอยู่. เครื่องป้องกัน

ลูกศรแม้ทั้งหมด ภิกษุจะรับไว้เพื่อใช้เป็นมูลค่าแห่งของ ก็สมควร.

เพราะว่า เครื่องป้องกันลูกศรนั้น เป็นเครื่องกันการเบียดเบียนจาก

คนอื่น ไม่ใช่เป็นเครื่องทำการเบียดเบียน ฉะนี้แล, จะรับโล่ด้วย

จงใจว่า เราจักทำเป็นภาชนะใส่ไม้สีฟัน ดังนี้ ก็ควร.

เครื่องดนตรีมีพิณและกลองเป็นต้น ที่ขึงด้วยหนัง เป็นอนามาส.

แต่ในกุรุนทีท่านกล่าวว่า ตัวกลอง (หนังชะเนาะขึ้นกลอง) ก็ดี ตัวพิณ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 179

(สายขึงพิณ) ก็ดี รางเปล่าก็ดี* หนังเขาปิดไว้ที่ขอบปากก็ดี คันพิณก็ดี

เป็นอนามาสแม้ทั้งสิ้น. จะขึงเอง หรือให้คนอื่นเขาขึงก็ดี จะประโคม

เอง หรือให้คนอื่นเขาประโคมก็ดี ไม่ได้ทั้งนั้น. แม้เห็นเครื่องดนตรี

ที่พวกมนุษย์กระทำการบูชา แล้วทิ้งไว้ทีลานพระเจดีย์ อย่าทำให้เคลื่อน

ที่เลย พึงกวาดไปในระหว่าง ๆ. แต่ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวว่า ในเวลา

เทหยากเยื่อ พึงนำไปโดยกำหนดว่าเป็นหยากเยื่อแล้ววางไว้ ณ ส่วนข้าง

หนึ่ง ควรอยู่. แม้จะรับไว้เพื่อใช้เป็นมูลค่าแห่งสิ่งของ ก็ควร. แต่ที่

ได้มาเพื่อต้องการจะใช้สอย จะถือเอาเพื่อต้องการทำให้เป็นบริขารนั้น ๆ

โดยตั้งใจอย่างนี้ว่า เราจักทำรางพิณและหุ่นกลองให้เป็นภาชนะใส่ไม้

สีฟัน หนังจักทำให้เป็นฝักมีด แล้วกระทำตามที่ตั้งใจอย่างนั้น ๆ

ควรอยู่.

เรื่องภรรยาเก่า มีอรรถชัดเจนทีเดียว. พึงทราบวินิจฉัยในเรื่อง

นางยักษิณี ดังนี้:- แม้ถ้าว่า ภิกษุถึงความเคล้าคลึงกายกับนางเทพี

ของท้าวปรนิมมิตวสวัดดี ก็ต้องถุลลัจจัยอย่างเดียว.

เรื่องบัณเฑาะก์ และเรื่องหญิงหลับ ปรากฏแล้วแล.

*สารัตถทีปนี ๓/๓๖. แก้ว่า เภรีสงฺฆาโฏติ สงฺฆาฏตจมฺมเภรี. วีณาสงฺฆาโฏติ สงฺฆาฏิ-

ตจมฺมวีณา. จมฺมวินทฺธาน เภรีวีณานเมต อธิวจน ตุจฺฉโปกฺขรนฺติ อวินทฺธจมฺม เภรีโปกฺขร

วีณาโปกฺขรญฺจ. แปลว่า กลองที่ขึ้นหนังแล้ว ชื่อว่า เภรีสังฆาฏะ. พิณที่ขึงสายแล้ว ชื่อว่า วีณา

สังฆาฏะ. คำทั้งสองนี้ เป็นชื่อแห่งกลองที่ขึ้นหนังและพิณ -ที่ขึงสายแล้ว. ในที่บางแห่งว่า หนัง

ชะเนาะขึ้นกลอง ชื่อว่า เภรีสังฆาฏะ สายขึงพิณ ชื่อว่า วีณาสังฆาฏะ ก็มี ดังในวิมติวิโนทนีฏีกา

อ้างถึงอรรกถากุรุนที แก้ไว้ว่า เภรีอาทีน วินทฺโธปกรณสมุโห เภรีวีณาสงฺฆาโฏติ เวทิตพฺพ.

พึงทราบว่า ประชุมเครื่องอุปกรณ์ขึ้นกลองเป็นต้น ชื่อว่า เภรีวีณาสังฆาฏะ. รางกลองและ

รางพิณที่ยังไม่ได้ขึ้นหนังและขึงสาย ชื่อว่า ตฺวฉโปกขระ. ผู้ชำระ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 180

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องหญิงตาย ดังนี้:- เป็นถุลลัจจัยในเวลา

พอจะเป็นปาราชิก นอกจากนั้น เป็นทุกกฏ.

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องดิรัจฉาน ดังนี้:- (เคล้าคลึงกาย) กับ

นางนาคมาณวิกาก็ดี กับนางสุบรรณมาณวิกาก็ดี กับนางกินรีก็ดี กับ

แม่โคก็ดี เป็นทุกกฏทั้งนั้น.

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องตุ๊กตาไม้ ดังนี้:- มิใช่กับไม้อย่างเดียว

เท่านั้น โดยที่สุดแม้ในรูปหญิงที่เขาเขียนจิตรกรรมไว้ ก็เป็นทุกกฏ

เหมือนกัน. เรื่องบีบบังคับภิกษุ มีอรรถกระจ่างทั้งนั้น.

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องสะพาน ดังนี้:- สะพานที่คนเดินได้

จำเพาะคนเดียวก็ตาม สะพานที่เป็นทางเกวียนข้ามก็ตามที เพียงแต่

ภิกษุกระทำประโยคด้วยตั้งใจว่า เราจักเขย่าสะพาน ดังนี้ จะเขย่าก็ตาม

ไม่เขย่าก็ตาม เป็นทุกกฏ เรื่องหนทาง ปรากฏชัดแล้วแล.

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องต้นไม้ ดังนี้:- ต้นไม้เป็นไม้ใหญ่ขนาด

เท่าต้นหว้าใหญ่ก็ตาม เป็นต้นไม้เล็กก็ตาม ภิกษุอาจเพื่อเขย่าก็ตาม

ไม่อาจเพื่อจะเขย่าก็ตาม เป็นทุกกฏ เพราะเหตุเพียงแต่มีความพยายาม

แม้ในเรื่องเรือ ก็มีนัย เช่นนี้เหมือนกัน.

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องเชือก ดังนี้:- ภิกษุอาจเพื่อจะดึงเชือก

ให้เคลื่อนจากฐานได้ เป็นถุลลัจจัยในเพราะเชือกนั้น. เชือกชนิดใดเป็น

เชือกเส้นใหญ่ ย่อมไม่เคลื่อนไหวจากฐาน แม้เพียงเล็กน้อยเป็นทุกกฏ

ในเพราะเชือกนั้น. แม้ในขอนไม้ก็มีนัยเช่นนี้ เหมือนกัน. จริงอยู่ แม้

ต้นไม้ใหญ่ที่ล้มลงบนฟื้นดิน ก็ทรงถือเอาแล้วด้วยทัณฑศัพท์เหมือนกัน

ในเรื่องขอนไม้นี้. เรื่องบาตรปรากฏชัดแล้วแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 181

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องไหว้ ดังนี้:- หญิงผู้ประสงค์จะนวดเท้า

ทั้งสองไหว้ ภิกษุพึงห้าม พึงปกปิดเท้าไว้ หรือพึงนิ่งเฉยเสีย. ด้วย

ว่า ภิกษุผู้นิ่งเฉย แม้จะยินดี ก็ไม่เป็นอาบัติ.

เรื่องสุดท้าย ปรากฏชัดแล้วแล.

กายสังสัคควรรณนา ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ ด้วยประการฉะนี้

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๓

เรื่องพระอุทายี

[๓๙๗] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระ-

อุทายีอยู่ในวิหารชายป่า สตรีเป็นอันมากได้พากันไปสู่อาราม มีความ

ประสงค์จะชมวิหาร จึงเข้าไปหาท่านพระอุทายีกราบเรียนว่า พวกดิฉัน

ประสงค์จะชมวิหารของพระคุณเจ้า เจ้าค่ะ

จึงท่านพระอุทายีเชิญสตรีเหล่านั้นให้ชมวิหารแล้ว กล่าวมุ่งวัจจ-

มรรค ปัสสาวมรรค ของสตรีเหล่านั้น ชมบ้าง ติบ้าง ขอบ้าง อ้อนวอน

บ้าง ถามบ้าง ย้อนถามบ้าง บอกบ้าง สอนบ้าง ด่าบ้าง สตรี เหล่านั้น

จำพวกที่หน้าด้าน ฐานนักเลง ไม่มียางอาย บ้างยิ้มแย้ม บ้างๆ พูดยั่ว

บ้างก็ซิกซี้ บ้างก็เย้ยกับท่านพระอุทายี ส่วนจำพวกที่มีความละอายใจ

ก็เลี่ยงออกไป แล้วโพนทะนาภิกษุทั้งหลายว่า ท่านเจ้าข้า คำนี้ไม่สมควร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 182

ไม่เหมาะ แม้สามีดิฉันพูดอย่างนี้ ดิฉันยังไม่ปรารถนา ก็นี่ประโยชน์

อะไรด้วยท่านพระอุทายี

ภิกษุทั้งหลาย บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย

มีความรังเกียจผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉน

ท่านพระอุทายีจึงได้พูดเคาะมาตุคาม ด้วยวาจาอันชั่วหยาบเล่า แล้ว

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับส่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วตรัสสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่าเธอพูดเคาะมาตุคาม ด้วยวาจา

อันชั่วหยาบ จริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ครวทำ ไฉนเธอจึงได้พูดเคาะมาตุคาม ด้วยวาจา

อันชั่วหยาบเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยายเพื่อ

คลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่

เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมีความถือมั่น

มิใช่หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดงแล้ว เพื่อคลายความกำหนัด

เธอยังจักคิดมีเพื่อมีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจัก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 183

คิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น เธอยังจักคิด

เพื่อมีความถือมั่น

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยายเพื่อ

เป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อเป็นที่สร่างความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญ

แห่งความกระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัด

แห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความ

ดับทุกข์ เพื่อปราศจากตัณหาเครื่องร้อยรัด มิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนัดรู้ความหมายในกาม

การกำจัดความกระหายในกาม การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม

การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดยอเนกปริยาย

มิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั้น เป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นไป

อย่างอื่นของตนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 184

ทรงกระทำธรรมมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมกับเรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้

เก้อยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกัน

อาสวะอันจะเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสนะอันจักบังเกิดใน

อนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความ

ตั้งมั่น แห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อถือความพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนั้นว่าดังนี้:-

พระปฐมบัญญัติ

๗.๓. อนึ่ง ภิกษุใด กำหนัดแล้ว มีจิตแปรปรวนแล้ว พูด

เคาะมาตุคาม ด้วยวาจาชั่วหยาบ เหมือนชายหนุ่มพูดเคาะหญิงสาว

ด้วยวาจาพาดพิงเมถุน เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่อง พระอุทายี จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๓๙๘] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 185

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง..ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า พระพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพระอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุ.

เหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยเหนือญัตติจตุตถกรรมอัน

ไม่กำเริบควรแก่ฐานะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์ว่า ภิกษุ

ในอรรถนี้.

ที่ชื่อว่า กำหนัดแล้ว คือ มีความยินดี มีความเพ่งเล็ง มีจิตปฏิพัทธ์-

บทว่า แปรปรวนแล้ว ความว่า จิตแม้อันราคะย้อมแล้ว ก็แปร

ปรวน แม้อันโทสะประทุษร้ายแล้ว ก็แปรปรวน แม้อันโมหะให้ลุ่มหลง

แล้ว ก็แปรปรวน แต่ที่ว่า แปรปรวนแล้ว ในอรรถนี้ ทรงประสงค์

จิตอันราคะย้อมแล้ว.

ที่ชื่อว่า มาตุคาม ได้แก่ หญิงมนุษย์ ไม่ใช่หญิงยักษ์ ไม่ใช่

หญิงเปรต ไม่ใช่สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย เป็นหญิงที่รู้เดียงสา สามารถทราบ

ถ้อยคำที่เป็นสุภาษิตทุพภาษิต วาจาชั่วหยาบ และสุภาพ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 186

วาจา ชื่อว่า ชั่วหยาบ ได้แก่ วาจาที่พาดพิงวัจจมรรค ปัสสาวมรรค

และเมถุนธรรม.

บทว่า พูดเคาะ คือ ที่เรียกกันว่า ประพฤติล่วงเกิน.

คำว่า เหมือนชายหนุ่มหญิงสาว ได้แก่ เด็กชายรุ่นกับเด็กหญิงรุ่น

คือหนุ่มกับสาว ชายบริโภคกามกับหญิงบริโภคกาม.

บทว่า ด้วยวาจาพาดพิงเมถุน ได้แก่ ถ้อยคำที่เกี่ยวด้วยเมถุนธรรม.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล

แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

มาติกา

[๓๙๙] มุ่งมรรคทั้งสอง พูดชม ก็ดี พูดติ ก็ดี พูดขอ ก็ดี

พูดอ้อนวอน ก็ดี ถาม ก็ดี ย้อนถาม ก็ดี บอก ก็ดี สอน ก็ดี

ด่า ก็ดี.

[๔๐๐] ที่ชื่อว่า พูดชม คือ ชม พรรณนา สรรเสริญ มรรค

ทั้งสอง.

ที่ชื่อว่า พูดติ คือ ด่า ว่า ติเตียน มรรคทั้งสอง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 187

ที่ชื่อว่า พูดขอ คือ พูดว่า โปรดให้แก่เรา โปรดยกให้แก่เรา

ควรจะให้แก่เรา ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า พูดอ้อนวอน คือ พูดว่า เมื่อไรมารดาของเธอจักเลื่อมใส

เมื่อไรบิดาของเธอจักเลื่อมใส เมื่อไรเทวดาของเธอจักเลื่อมใส เมื่อไร

โอกาสดีจักมีแก่เธอ เมื่อไรเวลาดีจักมีแก่เธอ เมื่อไรยามดีจักมีแก่เธอ

เมื่อไรฉันจักได้เมถุนธรรมของเธอ ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า ถาม คือ ถามว่า เธอให้เมถุนธรรมแก่สามีอย่างไร ให้

แก่ชู้อย่างไร ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า ย้อนถาม คือ สอบถามดูว่า ข่าวว่า เธอให้เมถุนธรรม

แก่สามีอย่างนี้หรือ ให้เเก่ชู้อย่างนี้หรือ ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า บอก คือ ถูกเขาถามแล้วบอกว่า เธอจงให้อย่างนี้ เมื่อ

ให้อย่างนี้ จักเป็นที่รักใคร่และพอใจของสามี ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า สอน คือ เขาไม่ได้ถาม บอกเองว่า เธอจงให้อย่างนี้

เมื่อให้อย่างนี้ จักเป็นที่รักใคร่และพอใจของสามี ดังนี้เป็นต้น.

ที่ชื่อว่า ด่า คือ ด่าว่า เธอเป็นคนไม่มีนิมิต เธอเป็นคนสักแต่ว่า

มีนิมิต เธอเป็นคนไม่มีโลหิต เธอเป็นคนมีโลหิตเสมอ เธอเป็นคนมีผ้าซับ

เสมอ เธอเป็นคนช้ำรั่ว เธอเป็นคนมีเดือย เธอเป็นบัณเฑาะก์หญิง

เธอเป็นคนกล้าผู้ชาย เธอเป็นคนผ่า เธอเป็นคนสองเพศ ดังนี้

เป็นต้น.

สตรี

[๔๐๑] สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี ความกำหนัดและ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี ชนก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อน-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 188

วอนก็ดี ถามก็ดี ย้อมถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส

สตรี ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวาร

หนัก ทวารเบา ของสตรี ชมก็ดี ก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้อง

อาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ติก็ดี

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 189

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึง

ทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

บัณเฑาะก์ ภิกษุที่ความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ติก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวาร

หนัก ทวารเบา ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัดเละ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้อง

อาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 190

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้อง

อาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชม

ก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ ทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และพูดพาดพิง

ถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อน-

วอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 191

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี ขอ

ก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ.

สตรี ๒ คน

[๔๐๒ ] สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้อง

อาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสองคน ชม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 192

ก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว .

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ชมก็ดี

ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี

ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 193

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษสองคน มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อมถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 194

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษทั้งสองคน

ชมก็ดี ก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ตัว มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองตัว มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี

ก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี

ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองตัว

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 195

ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอก

ก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว.

สตรี - บัณเฑาะก์

[๔๐๓] สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญเป็นสตรีทั้งสอง

คน มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี

และบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองงคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน-

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

คน มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 196

และบัณเฑาะก์ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-บุรุษ

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบุรุษทั้งสอง

คน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบุรุษทั้งสองคน ชมก็ดี

ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี

ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบุรุษ

ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบุรุษทั้งสอง

คน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบุรุษ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 197

ทั้งสองคน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับถุลลัจจัย

สตรี-สัตว์ดิรัจฉาน

สตรี สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสอง

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน-

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสอง มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน-

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ติรัจฉานทั้ง

สอง มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของสตรี

และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 198

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติ

ถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์-บุรุษ

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสอง

คน มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

และบุรุษทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี

สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มี

ความกำหนด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์แล

บุรุษทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ ทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้ง

สองคน มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของ

บัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 199

และบุรุษทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์-สัตว์ดิรัจฉาน

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสอง มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของ

บัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองงง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี

ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ กับ

อาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์และสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสอง

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

และสัตว์ติรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของ

บัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองงง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี

ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 200

และสัตว์ติรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ- สัตว์ดิรัจฉาน

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสอง มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษและสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี ย้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ไม่ต้องทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้ง

สอง มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษ

และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษและสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสอง

มีความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษและ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 201

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อน

ถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว.

ใต้รากขวัญ-เหนือเข่า

[๔๐๔] อนึ่ง สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะเบื้องต่ำเหนือเข่า

ในรูป เว้น ทวารหนัก ทวารเบา ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี

ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะเบื้องต่ำเหนือเข่าขึ้นไป

เว้นทวารหนัก ทวารเบา ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูดพาด

พิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะเบื้องต่ำเหนือเข่าในรูป

เว้น ทวารหนัก ทวารเบา ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอน

ก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะเบื้องต่ำเหนือเข่า

ขึ้นไป เว้นทวารหนัก ทวารเบา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี

ก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และพูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 202

เบื้องต่ำเหนือเข่าขึ้นไป เว้นทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีทั้งสอง ชม

ก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอน

ก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนใต้รากขวัญลงมา อวัยวะ

เบื้องต่ำเหนือเข่าขึ้นไป เว้นทวารหนัก ทวารเบา ของสตรีและบัณเฑาะก์

ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอก

ก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฎ กับอาบัติถุลลัจจัย.

เหนือรากขวัญ-ใต้เข่า

[๔๐๕] สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องต่ำใต้เข่าลงมา ของสตรี ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

พูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนเหนือรากขวัญขึ้นไป อวัยวะเบื้องต่ำใต้เข่า

ลงมา ชองบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฎ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูดพาด

พิงถึงอวัยวะเบื้องบนเหนือรากขวัญขึ้นไป อวัยวะเบื้องต่ำใต้เข่าลงมา

ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี

บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฎ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 203

พูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนเหนือรากขวัญขึ้นไป อวัยวะเบื้องต่ำใต้เข่า

ลงมา ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความกำหนด

และพูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนเหนือรากขวัญขึ้นไป อวัยวะเบื้องต่ำใต้

เข่าลงมา ของสตรีทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี

ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน นี้

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงอวัยวะเบื้องบนเหนือรากขวัญขึ้นไป

อวัยวะเบื้องต่ำใต้เข่าลงมา ของสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี

ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ขอเนื่องด้วยกาย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูดพาดพิง

ถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของสตรี ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี

ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูด

พาดพิงถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของบัณเฑาะก์ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และพูดพาด

พิงถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของบุรุษ ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 204

ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด แล ะ

พูดพาดพิงถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของสัตว์ดิรัจฉาน ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี

อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความกำหนัด

และพูดพาดพิงถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของสตรีทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอ

ก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถามก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และพูดพาดพิงถึงของที่เนื่องด้วยกาย ของสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสอง ชมก็ดี ติก็ดี ขอก็ดี อ้อนวอนก็ดี ถามก็ดี ย้อนถาม

ก็ดี บอกก็ดี สอนก็ดี ด่าก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

อนาปัตติวาร

[๘๐๖] ภิกษุผู้มุ่งประโยชน์ ๑ ภิกษุผู้มุ่งธรรม ๑ ภิกษุผู้มุ่งสั่ง-

สอน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล

วินีตวัตถุ

อุทานคาถา

[๔๐๗] เรื่องสีแดง เรื่องขนแข็ง เรื่องขนรก เรื่องขน

หยาบ เรื่องขนยาว เรื่องนาหว่าน เรื่องหนทางราบรื่น เรื่อง

มีศรัทธา เรื่องให้ทาน อย่างละ ๓ เรื่อง เรื่องทำงาน ๓ เรื่อง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 205

วินีตวัตถุ เรื่องสีแดง

[๔๐๘] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งห่มผ้ากัมพลใหม่สีแดง ภิกษุ

รูปหนึ่ง มีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอมีสีแดงแท้

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะ ผ้ากัมพลใหม่สีแดงค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

เรื่องขนแข็ง

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งห่มผ้ากัมพลขนแข็ง ภิกษุรูปหนึ่ง

มีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอมีขนแข็งแท้

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะ ผ้ากัมพลมีขนแข็งค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง-

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

เรื่องขนรก

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งห่มผ้ากัมพลซักใหม่ ภิกษุรูปหนึ่ง

ความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอมีขนรก

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะ ผ้ากัมพลซักใหม่ค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระ-

มังหนอ จึงกราบทูลเรื่อง นั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 206

เรื่องขนหยาบ

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งห่มผ้ากัมพลขนหยาบ ภิกษุรูปหนึ่งมี

ความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอมีขนหยาบ

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะ ผ้ากัมพลขนหยาบค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องขนยาว

[ ๔๐๙] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งห่มผ้ามีขนยาว ภิกษุรูปหนึ่ง

มีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอมีขนยาว

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะ ผ้าห่มมีขนยาวค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังมาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องนาหว่าน

[๔๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งหว่านข้าวในนาแล้วกลับมา

ภิกษุรูปหนึ่งมีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง เธอหว่านนาแล้วหรือ

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า หว่านแล้วเจ้าค่ะ แต่ยังไม่ได้

กลบค่ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 207

เรื่องหนทางราบรื่น

[๔๑๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งพบนางปริพาชิกาเดินสวน

ทางมา มีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง หนทางของเธอราบรื่น

ดอกหรือ

นางไม่เข้าใจความหมาย ตอบว่า เจ้าค่ะภิกษุ ท่านจักเดินไปได้

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ ภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

เรื่องมีศรัทธา

[๘๑๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง มีความกำหนัด พูดเคาะ

สตรีผู้หนึ่งว่า น้องหญิง เธอเป็นคนมีศรัทธา จะถวายของที่เธอให้สามี

แก่พวกฉันบ้างไม่ได้หรือ

สตรีนั้นถามว่า ของอะไรเจ้าขา

ภิกษุตอบว่า เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้น มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องให้ทาน

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง มีความกำหนัด พูดเคาะสตรี

ผู้หนึ่งว่า น้องหญิง เธอเป็นคนมีศรัทธา ทำไมไม่ถวายทานที่เลิศแก่

พวกฉันบ้าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 208

สตรีนั้นถามว่า อะไรเจ้าขา ชื่อว่าทานที่เลิศ

ภิกษุตอบว่า เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว.

เรื่องทำงาน ๓ เรื่อง

[๔๑๓] ๑. ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งกำลังทำงานอยู่ ภิกษุ

รูปหนึ่งมีความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง หยุดเถิด ฉันจักทำเอง

นางไม่เข้าใจความหมาย ภิกษุนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสว่า

ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฎ

๒. ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งกำลังทำงานอยู่ ภิกษุรูปหนึ่งมี

ความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง นั่งลงเถิด ฉันจักทำเอง นางไม่

เขัาใจความหมาย ภิกษุนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

กระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

๓. ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งกำลังทำงานอยู่ ภิกษุรูปหนึ่งมี

ความกำหนัด พูดเคาะว่า น้องหญิง จงนอนเสียเถิด ฉันจักทำเอง

นางไม่เข้าใจความหมาย ภิกษุนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆา -

ทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆ ตรัสว่า

ก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๓ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 209

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๓

ทุฏฐุลลวาจาสิกขาบทวรรณนา

ทุฏฐุลลวาจาสิกขา บทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

พึงทราบวินิจฉัยในทุฎฐุลลวาจาสิกขาบทนั้นดังนี้

[อธิบาย สิกขาบทวิภังค์ สังฆาทิเสสที่ ๓]

บทว่า อาทิสฺส แปลว่า มุ่งถึง.

หลายบทว่า วณฺณมฺปิ ภณติ เป็นต้น จักมีแจ้งข้างหน้า.

บทว่า อจฺฉินฺนกา แปลว่า ขาคความเกรงบาป.

บทว่า ธุตฺติกา แปลว่า ผู้มีมารยา.

บทว่า อหิริกาโย แปลว่า ผู้ไม่มีความอาย.

บทว่า โอหสนฺติ แปลว่า แย้มพรายแล้ว หัวเราะเบา ๆ.

บทว่า อุลฺลปนฺติ ความว่า ย่อมกล่าวถ้อยคำแทะโลม มีประการ

ต่าง ๆ ยกย่องโดยนัยเป็นต้นว่า โอ! พระคุณเจ้า.

บทว่า อุชฺชคฆนฺติ แปลว่า ย่อมหัวเราะลั่น.

บทว่า อุปฺผณฺเฑนฺติ ความว่า กระทำการเยาะเย้ยโดยนัยเป็นต้น

ว่า นี้ เป็นบัณเฑาะก์ นี้ มิใช่ผู้ชาย.

บทว่า สารตฺโต แปลว่า กำหนัดแล้ว ด้วยความกำหนัด โดย

อำนาจแห่งความพอใจในวาจาชั่วหยาบ.

บทว่า อเปกฺขวา ปฏิพทฺธจิตฺโต มีนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. ใน

สิกขาบทนี้ พึงประกอบราคะด้วยอำนาจแห่งความยินดีในวาจาอย่างเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 210

พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงมาตุคามที่ทรงประสงค์ในคำ

ว่า มาตุคาม ทุฏฐุลฺลาหิ ราจาหิ นี้ จึงตรัสดำว่า มาตุคาโม เป็นอาทิ.

บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยคำว่า เป็นหญิงที่รู้เดียงสา สามารถทราบ

ถ้อยคำที่เป็นสุภาษิตทุพภาษิต วาจาชั่วหยาบและสุภาพได้ นี้ท่านพระ-

อุบาลีแสดงว่า หญิงที่เป็นผู้ฉลาด สามารถเพื่อจะทราบถ้อยคำที่เป็น

ประโยชน์และไร้ประโยชน์ ถ้อยคำที่พาดพิงอสัทธรรมและสัทธรรมทรง

ประสงค์เอาในสิกขาบทนี้, ส่วนหญิงที่โง่เขลาเบาปัญญาแม้เป็นผู้ใหญ่

ก็ไม่ทรงประสงค์เอาในสิกขาบทนี้.

บทว่า โอภาเสยฺย ความว่า พึงพูดเคาะ คือ พูดพาดพิงอสัท-

ธรรม มีประการต่าง ๆ. ก็เพราะชื่อว่า การพูดเคาะของภิกษุผู้พูดอย่างนี้

โดยความหมาย เป็นอัชฌาจาร คือ เป็นความประพฤติล่วงละเมิดเขต

แดนแห่งความสำรวมด้วยอำนาจแห่งราคะ; เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงเนื้อความนั้น จึงตรัสว่า บทว่า โอภาเสยฺย

คือ ที่เรียกว่า อัชฌาจาร.

คำว่า ต ในคำว่า ยถาต นี้ เป็นเพียงนิบาต. ความว่า เหมือน

ชายหนุ่มพูดเคาะหญิงสาวฉะนั้น.

คำเป็นต้นว่า เทฺว มคฺเค อาทิสฺส ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส

แล้ว เพื่อทรงแสดงอาการที่เป็นเหตุให้เป็นสังฆาทิเสส แก่ภิกษุผู้พูดเคาะ

(หญิง).

[อธิบายบทภาชนีย์ สังฆาทิเสสที่ ๓]

บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า เทฺว มคฺเค ได้แก่ วัจจมรรคกับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 211

ปัสสาวมรรค. คำที่เหลือปรากฏแล้วแต่แรกในอุเทศนั่นแล. ก็ในอุเทศ

คำว่า พูดชม คือ พูดว่า เธอเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยลักษณะของหญิง

คือด้วยศุภลักษณะ, อาบัติยังไม่ถึงที่สุดก่อน. พูดว่า วัจจมรรคและ

ปัสสาวมรรคของเธอเป็นเช่นนี้, เธอเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยลักษณะของ

สตรี คือด้วยศุภลักษณะเช่นนี้ ด้วยเหตุเช่นนั้น, อาบัติย่อมถึงที่สุด คือ

เป็นสังฆาทิเสส.

ก็สองบทว่า วณฺเณติ ปสสติ นี้ เป็นไวพจน์ของบทว่า พูดชม.

บทว่า ขุเสติ ความว่า ย่อมพูดกระทบกระเทียบด้วยประตัก คือ

วาจา.

บทว่า วมฺเภติ แปลว่า พูดรุกราน.

บทว่า ครหติ แปลว่า ย่อมกล่าวโทษ.

แต่เมื่อยังไม่พูดเชื่อมต่อกับ ๑๑ บท มีบทว่า อนิมิตฺตาสิ เป็นต้น

ซึ่งมาในบาลีข้างหน้า อาบัติยังไม่ถึงที่สุด, ถึงแม้เชื่อมแล้ว เมื่อพูดเชื่อม

ด้วย ๓ บทเหล่านี้ว่า เธอเป็นคนมีเดือย, เธอเป็นคนผ่า, เธอเป็นคน ๒

เพศ ดังนี้เท่านั้น ในบรรดา ๑๑ บทเหล่านั้น จึงเป็นสังฆาทิเสส. แม้

ในการพูดขอว่า เธอจงให้แก่เรา อาบัติยังไม่ถึงที่สุด ด้วยคำพูดเพียง

เท่านี้ ต่อเมื่อพูดเชื่อมด้วยเมถุนธรรมอย่างนี้ว่า เธอจงให้เมถุนธรรม

เป็นสังฆาทิเสส. แม้ในคำพูดอ้อนวอนว่า เมื่อไรมารดาของเธอจักเลื่อมใส

เป็นต้น อาบัติยังไม่ถึงที่สุด ด้วยคำพูดเพียงเท่านี้ แต่เมื่อพูดเชื่อมด้วย

เมถุนธรรม โดยนัยเป็นต้นว่า เมื่อไรมารดาของเธอจักเลื่อมใส, เมื่อไร

เราจักได้เมถุนธรรมของเธอ หรือว่า เมื่อมารดาของเธอเลื่อมใสแล้ว

เราจักได้เมถุนธรรม ดังนี้ เป็นสังฆาทิเสส. แม้ในคำถามเป็นต้นว่า เธอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 212

ให้แก่สามีอย่างไร ? เมื่อพูดคำว่า เมถุนธรรม เท่านั้น จึงเป็นสังฆา-

ทิเสส หาเป็นโดยประการอื่นไม่. แม้ในคำพูดสอบถามว่า ได้ยินว่า

เธอให้แก่สามีอย่างนี้หรือ ก็มีนัยเหมือนกันนี้.

พึงทราบวินิจฉัยในการบอกดังนี้:- สองบทว่า ปุฏฺโ ภณติ มี

ความว่า ภิกษุถูกผู้หญิงถามว่า เมื่อให้อย่างไร จึงจะเป็นที่รักของสามี ?

แล้วบอก. ก็ในการบอกนั้น แม้เมื่อพูดว่า จงให้อย่างนี้ เมื่อให้อย่างนี้

อาบัติยังไม่ถึงที่สุด, แต่เมื่อเชื่อมด้วยเมถุนธรรมเท่านั้น โดยนัยเป็นต้น

ว่า เธอจงให้ จงน้อมเข้าไป ซึ่งเมถุนธรรมอย่างนี้, เมื่อให้ เมื่อน้อม

เข้าไปซึ่งเมถุนธรรมอย่างนี้ จะเป็นที่รัก เป็นสังฆาทิเสส. แม้ในการ

กล่าวสอน ก็มีนัยเหมือนกันนี้.

วินิจฉัยอักโกสนิเทศ พึงทราบดังนี้:-

บทว่า อนิมิตฺตาสิ แปลว่า เธอเป็นคนปราศจากนิมิต. มีอธิบาย

ว่า ช่องปัสสาวะของเธอมีประมาณเท่ารูกุญแจเท่านั้น.

บทว่า นิมิตฺตมตฺตาสิ แปลว่า นิมิตสตรีของเธอ ไม่เต็มบริบูรณ์,

มีอธิบายว่า สักแต่ว่าเป็นที่หมายรู้เท่านั้น.

บทว่า อโลหิตา แปลว่า มีช่องคลอดแห้ง.

บทว่า ธุวโลหิตา แปลว่า มีช่องคลอดที่เปียกชุ่มไปด้วยโลหิต

เป็นนิตย์.

บทว่า ธุวโจลา แปลว่า มีผ้าลิ่มจุกอยู่เป็นนิตย์. มีอธิบายว่า

เธอใช้ผ้าซับเสมอ.

บทว่า ปคฺฆรนฺติ แปลว่า ย่อมไหลออก. มีอธิบายว่า น้ำมูตร

ของเธอไหลออกอยู่เสมอ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 213

บทว่า สิขิรณี แปลว่า มีเนื้อเดือยยื่นออกมาข้างนอก. หญิงที่ไม่

มีนิมิตเลย ท่านเรียกว่า หญิงบัณเฑาะก์, หญิงที่มีหนวดและเครา รูปร่าง

คล้ายผู้ชาย ท่านเรียกว่า หญิงคล้ายผู้ชาย.

บทว่า สมฺภนฺนา ความว่า มีช่องทวารหนัก และช่องทวารเบา

ปนกัน.

บทว่า อุภโตพฺยญฺชนา ความว่า เป็นผู้ประกอบด้วยเพศทั้งสอง

คือ เครื่องหมายเพศสตรี ๑ เครื่องหมายเพศบุรุษ ๑.

ก็บรรดา ๑๑ บทเหล่านั้น ๓ บทล้วน ๆ นี้ คือ เธอมีเดือย, เธอ

เป็นคนผ่า, เธอเป็นคนสองเพศ เท่านั้น ย่อมถึงที่สุด. ๓ บทนี้ และ

๓ บทก่อน ๆ คือ บทว่าด้วยวัจจมรรคปัสสาวมรรค และเมถุนธรรม

รวมเป็น ๖ บทล้วน ๆ ทำให้เป็นอาบัติได้ ด้วยประการฉะนี้.

บทที่เหลือเป็นต้นว่า เธอเป็นคนไม่มีนิมิต ซึ่งเชื่อมในบทว่าไม่มี

นิมิต ด้วยเมถุนธรรมไม่แล้วนั่นแล โดยนัยเป็นต้นว่า เธอจงให้เมถุนธรรม

แก่เรา หรือว่า เธอเป็นคนไม่มีนิมิต จงให้เมถุนธรรมแก่เรา พึงทราบ

ว่า เป็นบทก่อให้เป็นอาบัติได้.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงชนิดแห่งอาบัติโดยพิสดาร

ด้วยสามารถแห่งอาการมีการพูดชมเป็นต้นเหล่านี้ พาดพิงถึงวัจจมรรค

และปัสสาวมรรค ของภิกษุผู้กำหนัด มีจิตแปรปรวนพูดเคาะมาตุคาม

จึงตรัสคำว่า อิตฺถี จ โหติ อิตฺถีสญฺี เป็นต้น เนื้อความแห่งบทเหล่า-

นั้น พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้ว ในกายสังสัคคะนั่นแล. ส่วนความ

แปลกกัน ดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 214

บทว่า อธกฺขก คือ เบื้องต่ำตั้งแต่รากขวัญลงมา.

บทว่า อุพฺภชานุนณฑล คือ เบื้องบนตั้งแต่มณฑลเข่าขึ้นไป.

บทว่า อพฺภกฺขก คือ บนตั้งแต่รากขวัญขึ้นไป.

บทว่า อโธชานุมณฺฑล คือ ต่ำตั้งแต่มณฑลเข่าลงไป.

ก็รากขวัญ (ไหปลาร้า) และมณฑลเข่า สงเคราะห์เข้าในเขตแห่ง

ทุกกฎ เฉพาะในสิกขาบทนี้ เหมือนในกายสังสัคคะของนางภิกษุณี แท้จริง

พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมทรงบัญญัติครุกาบัติ ให้มีส่วนเหลือหามิได้เเล

บทว่า กายปฏิพทฺธ ได้แก่ ผ้าบ้าง ดอกไม้บ้าง เครื่องประดับบ้าง.

[ว่าด้วยอนาปัตติวาร]

บทว่า อตฺถปุเรกฺขารสฺส ความว่า ผู้กล่าวอรรถแห่งบทเป็นต้นว่า

อนิมิตฺตาสิ หรือผู้ทำการสาธยายอรรถกถา.

บทว่า ธมฺมปุเรกฺขารสฺส ความว่า ผู้บอก หรือสาธยายพระบาลี

อยู่. เมื่อภิกษุมุ่งอรรถ มุ่งธรรม กล่าวอย่างนี้ ชื่อว่า ไม่เป็นอาบัติแก่

ผู้มุ่งอรรถ และมุ่งธรรม.

บทว่า อนุสาสนีปุเรกฺขารสฺส ความว่า เมื่อภิกษุมุ่งสั่งสอนกล่าว

อย่างนั้นว่า ถึงบัดนี้ เธอก็เป็นคนไม่มีนิมิต, เป็นคนสองเพศ เธอพึง

ทำความไม่ประมาทเสีย แต่บัดนี้, เธออย่าเป็นเหมือนอย่างนี้ต่อไปเลย

ชื่อว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ผู้มุ่งคำสอน. ส่วนภิกษุใด เมื่อบอกบาลีแก่พวก

นางภิกษุณี ละทำนองพูดตามปกติเสีย หัวเราะเยาะพูดย้ำ ๆ อยู่ว่า เธอ

เป็นคนมีเดือย, เป็นคนผ่า, เป็นคนสองเพศ, ภิกษุนั้น เป็นอาบัติแท้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 215

ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุบ้า. พระอุทายีเถระเป็นต้นบัญญัติ ในสิกขาบทนี้

ไม่เป็นอาบัติแก่ท่านผู้เป็นต้นบัญญัติฉะนี้แล.

บทภาชนียวรรณา จบ

บรรดาปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๓ ย่อม

เกิดขึ้นทางกายกับจิต ๑ ทางวาจากับจิต ๑ ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็น

กิริยา สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต

มีเวทนา ๒ ฉะนี้แล.

วินีตวัตถุในตติยสังฆาทิเสส

บรรดาวินีตวัตถุ พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องโลหิต ดังนี้:- ภิกษุนั้น

กล่าวหมายถึงนิมิตที่มีโลหิตของหญิง, หญิงนอกนี้ไม่รู้; เพราะฉะนั้น

จึงเป็นทุกกฏ.

บทว่า กกฺกสโลม แปลว่า มีขนมากด้วยขนสั้น ๆ.

บทว่า อากิณฺณโลม แปลว่า มีขนรกรุงรัง.

บทว่า ขรโลม แปลว่า มีขนกระด้าง.

บทว่า ทีฆโลม แปลว่า มีเส้นขนไม่สั้น (ขนยาว). คำทั้งหมด

ภิกษุเหล่านั้นกล่าวหมายถึงนิมิตของหญิงทั้งนั้น.

ภิกษุนั้นกล่าวหมายถึงอสัทธรรมว่า เธอหว่านนาแล้วหรือ ? หญิง

นั้นไม่เข้าใจ จึงกล่าวว่า (หว่านแล้ว) แต่ยังไม่ได้กลบเจ้าค่ะ !

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 216

พืชที่ชื่อว่ากลบแล้ว ได้แก่ พืชที่เขาให้ตั้งขึ้นใหม่ (ให้หว่านซ่อม)

ในโอกาสที่พืชทั้งหลายตั้งไม่ติด (ไม่งอก) หรือในโอกาสที่มีพืชถูกพวก

แมลงทำให้เสียหาย แล้วราดให้เสมอด้วยน้ำ ในนาหว่านมีน้ำ (และ)

พืชที่เขาเกลี่ยให้เสมอด้วยคราดมีฟัน ๘ ซี่ซ้ำอีก เพื่อต้องการทำให้พืช

ทั้งหลาย ที่ตกลงไปไม่สม่ำเสมอกัน ให้สม่ำเสมอกันในนาหว่านที่ดอน.

บรรดาพืชเหล่านั้น หญิงนี้กล่าวหมายเอาพืชอย่างใดอย่างหนึ่ง.

ในเรื่องทาง คำว่า ทางของเธอราบรื่นดอกหรือ ? ภิกษุนั้นกล่าว

หมายถึงทางองคชาต. คำที่เหลือมีเนื้อความกระจ่างทั้งนั้นแล.

ทุฏฐุลลวาจาสิกขาบทวรรณนา ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๔

เรื่องพระอุทายี

[๔๑๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่าน

พระอุทายีเป็นพระกุลุปกะในพระนครสาวัตถี เข้าไปสู่สกุลเป็นอันมาก

ครั้งนั้นมีสตรีหม้ายผู้หนึ่ง รูปงาม น่าดู น่าชม ครั้นเวลาเช้า ท่าน

พระอุทายีครองอันตรวาสกแล้วถือบาตรและจีวรเดินไปทางเรือนของสตรี

หม้ายนั้น ครั้นแล้วนั่งเหนืออาสนะที่เขาจัดถวาย จึงสตรีหม้ายนั้นเข้าไป

หาท่านพระอุทายี กราบแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ท่านพระอุทายี

ได้ยังสตรีหม้ายนั้น ให้เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 217

ครั้นแล้วสตรีหม้ายนั้นได้กล่าวปวารณาท่านพระอุทายีว่า โปรดบอกเถิด

เจ้าข้า ต้องการสิ่งใดซึ่งดิฉันสามารถจัดหาถวายพระคุณเจ้าได้ คือ จีวร

บิณฑบาต เสนาสนะ เภสัชบริขารอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้

พระอุทายีขอร้องว่า น้องหญิง ปัจจัยเหล่านั้น ไม่เป็นของหาได้

ยากสำหรับฉัน ขอจงให้ของที่หาได้ยากสำหรับฉันเถิด

สตรีหม้ายถามว่า ของอะไร เจ้าข้า

อุ. เมถุนธรรม จ้ะ

ส. พระคุณเจ้าต้องการหรือ เจ้าคะ

อุ. ต้องการ จ้ะ

สตรีหม้ายนั้นกล่าวว่า นิมนต์มาเถิด เจ้าค่ะ แล้วเดินเข้าห้อง

เลิกผ้าสาฎกนอนหงายบนเตียง

ทันใดนั้น ท่านพระอุทายีตามเข้าไปหานางถึงเตียง ครั้นแล้วถ่ม

เขฬะรด พูดว่า ใครจักถูกต้องหญิงถ่อย มีกลิ่นเหม็นนี้ได้ ดังนี้แล้ว

หลีกไป

จึงสตรีหม้ายนั่นเพ่งโทษว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

เหล่านี้ เป็นผู้ไม่ละอาย ทุศีล พูดเท็จ พระสมณะเหล่านี้ยังจักปฏิญาณ

ว่า เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติเรียบร้อย ประพฤติพรหมจรรย์ พูด

จริง มีศีล มีกัลยาณธรรม ดังนี้เล่า ติเตียนว่า ความเป็นสมณะของ

พระสมณะเหล่านี้ไม่มี ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะเหล่านี้ไม่มี

ความเป็นสมณะของพระสมณะเหล่านี้พินาศแล้ว ความเป็นพราหมณ์ของ

พระสมณะเหล่านี้พินาศแล้ว ความเป็นสมณะของพระสมณะเหล่านี้ จะมี

แต่ไหน ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะเหล่านี้ จะมีแต่ไหน และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 218

โพนทะนาว่า พระสมณะเหล่านี้ขาดจากความเป็นสมณะแล้ว พระสมณะ

เหล่านี้ขาดจากความเป็นพราหมณ์แล้ว ไฉนพระสมณะอุทายีจึงได้ขอ

เมถุนธรรมต่อเราด้วยตนเอง แล้วถ่มเขฬะรด พูดว่า ใครจักถูกต้องหญิง

ถ่อยมีกลิ่นเหม็นนี้ได้ ดังนี้แล้วหลีกไป เรามีอะไรชั่วช้า เรามีอะไรที่มี

กลิ่นเหม็น เราเลวกว่าหญิงคนไหน อย่างไร ดังนี้

แม้สตรีเหล่าอื่นก็เพ่งโทษว่า พระสมณะเธอสายพระศากยบุตร

เหล่านั้น เป็นผู้ไม่ละอาย ทุศีล พูดเท็จ พระสมณะเหล่านั้น ยังจักปฏิญาณ

ว่า เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติเรียบร้อย ประพฤติพรหมจรรย์ พูด

จริง มีศีล มีกัลยาณธรรม ดังนี้เล่า ติเตียนว่า ความเป็นสมณะ ของ

พระสมณะเหล่านั้นไม่มี ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะเหล่านั้นไม่มี

ความเป็นสมณะของพระสมณะเหล่านั้นพินาศแล้ว ความเป็นพราหมณ์ของ

พระสมณะเหล่านั้นพินาศแล้ว ความเป็นสมณะของพระสมณะเหล่านี้ จะ

มีแต่ที่ไหน ความเป็นพราหมณ์ของพระสมณะเหล่านี้ จะมีแต่ไหน และ

โพนทะนาว่า พระสมณะเหล่านี้ ขาดจากความเป็นพระสมณะแล้ว พระ-

สมณะเหล่านั้นขาดจากความเป็นพราหมณ์แล้ว ไฉนพระอุทายีจึงได้ขอ

เมถุนธรรมต่อสตรีนี้ด้วยตนเอง แล้วจึงถ่มเขฬะรด พูดว่า ใครจักถูก

ต้องหญิงถ่อยมีกลิ่นเหม็นนี้ได้ ดังนี้ แล้วหลีกไป นางคนนี้มีอะไรชั่วช้า

นางคนนี้มีอะไรที่มีกลิ่นเหม็น นางคนนี้ เลวกว่าสตรีคนไหน อย่างไร

คนนี้

ภิกษุทั้งหลายได้ยินสตรีพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ใคร่ต่อ

สิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายี จึงได้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 219

กล่าวคุณ แห่งการบำเรอตนด้วยกามในสำนักมาตุคามเล่า แล้วกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า รับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ใน

เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

ท่านพระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอกล่าวคุณแห่งการบำเรอตน

บำเรอด้วยกาม ในสำนักมาตุคามจริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอจงได้กล่าว คุณแห่งการ

บำเรอตนด้วยกาม ในสำนักมาตุคามเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย

เพื่อคลายความกำหนัด ไม่ใช่เพื่อความกำหนัด เพื่อความ

พราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่

เพื่อความถือมั่น มิใช่หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดง

แล้ว เพื่อคลายความกำหนัด เธอยังจักคิดเพื่อมีความกำหนัด

เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจักคิดเพื่อความประกอบ เรา

แสดงเพื่อความไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น

ดูก่อนโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงเเล้วโดยอเนกปริยาย

เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อเป็นที่สร่างแห่งความเมา

เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความกระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 220

อาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา

เพื่อคลายความกำหนัด เพื่อความดับทุกข์ เพื่อปราศจาก

ตัณหาเครื่องร้อยรัดมิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมาย

ในกาม การกำจัดความกระหายในกาม การเพิกถอนความตรึก

อันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เรา

บอกไว้แล้วโดยอเนกปริยาย มิใช่หรือ

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อม-

ใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอ-

นั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคน

บำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ

ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยง

ง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ

ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม

การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้วทรงกระทำ

ธรรมมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 221

สิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ

คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑

เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็น

ที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน เพื่อ

กำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของ

ชุนชนที่ยังไม่เลื่อมใส เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่

เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้น

แสดงอย่างนั้น ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๘. ๔. อนึ่ง ภิกษุใด กำหนัดแล้ว มีจิตแปรปรวนแล้ว

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักมาตุคาม ด้วย

ถ้อยคำพาดพิงเมถุนว่า น้องหญิง สตรีใด บำเรอผู้ประพฤติ

พรหมจรรย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม เช่นเรา ด้วยธรรมนั่น

นั่นเป็นยอดแห่งความบำเรอทั้งหลาย เป็นสังฆาทิเสส

เรื่องพระอุทายี จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๔๑๕] บทว่า อนึ่ง. . .ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มี

การงานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 222

อย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่าง เป็นเถระก็ตาม

เป็นนวกะก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง. . .

ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า พระพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกพระพฤติแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้แล้วด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุนี้ใด ที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้แล้วด้วย

ญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ ภิกษุนี้ พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงประสงค์ว่า ภิกษุ ในอรรถนี้.

ที่ชื่อว่า กำหนัดแล้ว คือ มีความยินดี มีความเพ่งเล็ง มีจิต

ปฏิพัทธ์.

บทว่า แปรปรวนแล้ว ความว่า จิตที่ถูกราคะย้อมแล้วก็แปรปรวน

ที่ถูกโทสะประทุษร้ายแล้วก็แปรปรวน ที่ถูกโมหะให้ลุ่มหลงแล้วก็แปร

ปรวน แต่ที่ว่าแปรปรวนในอรรถนี้ ทรงประสงค์จิตที่ถูกราคะยอมแล้ว.

ที่ชื่อว่า มาตุคาม ได้แก่ หญิงมนุษย์ ไม่ใช่หญิงยักษ์ ไม่ใช่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 223

หญิงเปรต ไม่ใช่สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย เป็นหญิงที่รู้เดียงสา สามารถทราบ

ถึงถ้อยคำเป็นสุภาษิต ทุพภาษิต วาจาชั่วหยาบ และสุภาพ.

บทว่า ในสำนักมาตุคาม คือ ในที่ใกล้มาตุคาม ในที่ไม่ห่าง

มาตุคาม.

บทว่า กามของตน ได้แก่ ความใคร่ของตน เหตุของตน ความ

ประสงค์ของตน การบำเรอของตน.

บทว่า นั่นเป็นยอด คือนั่นเป็นเลิศ ประเสริฐ สูงสุด อุดมเยี่ยม.

บทว่า สตรีใด ได้แก่ นางกษัตริย์ พราหมณี หญิงแพศย์ หรือ

หญิงศูทร.

บทว่า เช่นเรา คือ เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม เป็น

แพศย์ก็ตาม เป็นศูทรก็ตาม.

บทว่า มีศีล คือ เว้นขาดจากปาณาติบาต เว้นขาดจากอทินนา-

ทาน เว้นขาดจากมุสาวาท.

บทว่า ผู้ประพฤติ พรหมจรรย์ คือ ผู้เว้นขาดจากเมถุนธรรม

ที่ชื่อว่า มีกัลยาณธรรม คือ เป็นผู้ชื่อว่ามีธรรมงาม เพราะ

ศีลนั้นและเพราะพรหมจรรย์นั้น.

บทว่า ด้วยธรรมนั่น คือ ด้วยเมถุนธรรม.

บทว่า บำเรอ คือ อภิรมย์.

บทว่า ด้วยถ้อยคำพาดพิงเมถุน คือ ด้วยถ้อยคำที่เกี่ยวด้วยเมถุน

ธรรม.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 224

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

สตรีคนเดียว

[๔๑๖] สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรี ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการ

บำเรอกามของตนในสำนักสตรี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และกล่าว

คุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรี ต้องอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์คนเดียว

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติ

ถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่ง

การบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 225

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติทุกกฏ

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติ

ทุกกฎ

บัณเฑาะก์ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และกล่าว

คุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติทุกกฎ

บรุษคนเดียว

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และกล่าว

คุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฎ

บุรุษ ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการ

บำเรอกามของตนในสำนักบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฎ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และกล่าวคุณ

แห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฏ

บุรุษ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษ ต้องอาบัติทุกกฎ

สัตว์ดิรัจฉานตัวเดียว

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน

ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 226

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสงสัย มีความกำหนัด และกล่าวคุณ

แห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน ต้องอาบัติทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรี มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน ต้องอาบัติทุกกฎ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

สตรี ๒ คน

[๔๑๗] สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีทั้งสอง

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และกล่าว

คุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีทั้งสอง ต้องอาบัติถุลลัจจัย

๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีทั้งสอง ต้อง

อาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 227

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีทั้งสอง

ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีทั้งสอง

ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์

ทั้งสอง ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ทั้งสอง ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์

ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 228

บุรุษ ๒ คน

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุก

กฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุบุรุษทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุบุรุษทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๒ คน ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุบุรุษทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

ตัว มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนัก

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง ตัวมีความกำหนัด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 229

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองตัว

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์

ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สัตว์ดิรัจฉาน ๒ ตัว ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุบุรุษทั้งสองตัว มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

สตรี-บัณเฑาะก์

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและบัณเฑาะก์ทั้งสอง

ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสอง ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒ ตัว

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 230

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของคนในสำนักสตรีและ

บัณเฑาะก์ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บัณเฑาะก์ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง

คน มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรี

และบัณเฑาะก์ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี-บุรุษ

สตรี บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและบุรุษ

ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด และ

กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและบุรุษทั้งสอง ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

บุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและบุรุษ

ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองคน

มีความกำหนด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

บุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 231

สตรี-สัตว์ดิรัจฉาน

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้ง

สอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามในสำนักสตรี

และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักสตรีและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

สตรี ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนัก

สตรีและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์- บุรุษ

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญ ว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์

และบุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสองคน มีความกำหนัด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 232

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์ และบุรุษ

ทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษทั้งสองคน

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์

และบุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสองคน มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนใน

สำนักบัณเฑาะก์และบุรุษทั้งสองง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ บุรุษ ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสองคน

มีความกำหนัด กล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์และ

บุรุษทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ตัว

บัณเฑาะก์-สัตว์ดิรัจฉาน

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์

ทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนัก

บัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติถุลลัจจัย

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความ

กำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์และ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุรุษ

ทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนัก

บัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสองง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 233

ดิรัจฉานทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตน

ในสำนักบัณเฑาะก์และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบัณเฑาะก์

และสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ-สัตว์ดิรัจฉาน

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบุบุรุษทั้งสอง มี

ความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสงสัยทั้งสอง มีความกำหนัด

และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้ง

สอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสัตว์ดิรัจฉาน

ทั้งสอง มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนัก

บุรุษและสัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นสตรีทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

บุรุษ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน๑ ภิกษุมีความสำคัญว่าเป็นบัณเฑาะก์ทั้งสอง

มีความกำหนัด และกล่าวคุณแห่งการบำเรอกามของตนในสำนักบุรุษและ

สัตว์ดิรัจฉานทั้งสอง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 234

อนาปัตติวาร

[๔๑๘] ภิกษุกล่าวว่า ขอท่านจงบำรุงด้วยจีวร บิณฑบาต

เสนาสนะ และเภสัชบริขาร อันเป็นปัจจัย ของภิกษุไข้ ดังนี้ เป็นต้น ๑

ภิกษุวิกลจริต ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

วินีตวัตถุ

อุทานคาถา

[๔๑๙] เรื่องหญิงหมันว่าทำไฉนจะได้บุตร เรื่องหญิงมีบุตรถี่

เรื่องเป็นที่รัก เรื่องมีโชคดี เรื่องจะถวายอะไรดี เรื่องจะอุปัฏฐากด้วย

อะไรดี เรื่องไฉนจึงได้ไปสุคติ.

วินีตวัตถุ

เรื่องหญิงหมันว่าทำไฉนจะได้บุตร

[๔๒๐] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีหมันคนหนึ่งได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า

ท่านเจ้าขา ทำไฉน ดิฉันจึงจะมีบุตร

ภิกษุนั้นตอบว่า น้องหญิง ถ้าเช่นนั้นเธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 235

เรื่องหญิงมีบุตรถี่

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งมีบุตรถี่ ได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า ท่าน

เจ้าข้า ทำไฉน ดิฉันจึงจะไม่มีบุตร

ภิกษุนั้นตอบว่า น้องหญิง ถ้าเช่นนั้นเธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องเป็นที่รัก

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า ท่านเจ้าข้า

ทำไฉนดิฉันจึงจะเป็นที่รักของสามี

ภิกษุนั้นตอบว่า น้องหญิง ถ้าเช่นนั้นเธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไรเจ้าคะ ชื่อว่าทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องมีโชคดี

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า ท่านเจ้าข้า

ทำไฉนดิฉันจึงจะโชคดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 236

ภิกษุตอบว่า น้องหญิง ถ้าเช่นนั้น เธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้น มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องจะถวายอะไรดี

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งได้ถามภิกษุกุสุปกะว่า ท่านเจ้าข้า

ดิฉันจะถวายอะไรแก่พระคุณเจ้าดี

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า น้องหญิง เธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องจะอุปัฏฐากด้วยอะไร

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า ท่านเจ้าข้า

ดิฉันจะอุปัฏฐากพระคุณเจ้าด้วยอะไรดี

ภิกษุนั้นตอบว่า น้องหญิง เธอจงอุปัฏฐากด้วยทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ. เมถุนธรรม จ้ะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 237

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว

เรื่องไฉนจึงจะไปสุคติ

ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีผู้หนึ่งได้ถามภิกษุกุลุปกะว่า ท่านเจ้าข้า

ทำไฉนดิฉันจึงจะได้ไปสุคติ

ภิกษุนั้น ตอบว่า น้องหญิง ถ้าเช่นนั้นเธอจงถวายทานที่เลิศ

ส. อะไร เจ้าคะ ชื่อว่า ทานที่เลิศ

ภิ . เมถุนธรรม จ้ะ

ภิกษุรูปนั้นมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมัง

หนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๔ จบ

พรรณนาสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๔

อัตตกามปาริจริยสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

วินิจัยในอัตตกามปาริจริยสิกขาบทนั้น พึงทราบดังนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระอุทายี ]

บทว่า กุลุปโก ความว่า เป็นผู้เข้าใกล้ชิดตระกูล คือ เป็นผู้

ขวนขวายเป็นนิตย์ในการเข้าหาตระกูล เพื่อต้องการปัจจัย ๔.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 238

บทว่า จีวรปิณฺฑปาคเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาร ได้แก่

จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร. ก็ในบทว่า

คิลานปจฺจยเภสชฺชปริกขาร นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- ที่ชื่อว่าปัจจัย

เพราะอรรถว่า ทำการบำบัด. คำว่า ปัจจัย เป็นชื่อแห่งเภสัชอันสบาย

ชนิดใดชนิดหนึ่ง. ชื่อว่ากรรมของหมอ เพราะหมอนั้นอนุญาต ฉะนั้น

จึงชื่อว่า เภสัช คิลานปัจจัยด้วย เภสัชด้วย ชื่อว่า คิลานปัจจัยเภสัช.

มีคำอธิบายว่า การงานของหมอมีน้ำมัน น้ำผึ้ง และน้ำอ้อยเป็นต้น ชนิดใด

ชนิดหนึ่ง เป็นที่สบายแก่คนไข้. ก็เครื่องล้อม ท่านเรียกว่า บริขาร

ในคำเป็นต้นว่า เมืองเป็นอันเขาล้อมดีแล้วด้วย เครื่องล้อมเมือง ๗ ชั้น

ดังนี้. เครื่องประดับท่านก็เรียกว่า บริขาร ในคำเป็นต้นว่า รถมีเครื่อง

ประดับขาว มีฌานเป็นเพลา มีความเพียรเป็นล้อ ดังนี้. เครื่องค้ำจุน

ท่านเรียกว่า บริขาร ในประโยคเป็นต้นว่า เครื่องค้ำจุนชีวิตแม้เหล่านี้

อันบรรพชิตพึงแสวงหา ดังนี้. ในบทว่า คิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาร

นี้ย่อมควรทั้งเครื่องค้ำจุน ทั้งเครื่องล้อม.

แท้จริง คิลานปัจจัยเภสัชนั้น เป็นเครื่องล้อมชีวิตบ้าง เพราะ

ไม่ให้ช่องแก่ความเกิดขึ้น แห่งอาพาธอันจะยังชีวิตให้พินาศ เป็นเครื่อง

ค้ำจุนบ้าง เพราะเป็นเหตุให้ชีวิตนั้น เป็นไปได้นาน เพราะฉะนั้น

จึงเรียกว่า บริขาร พึงทราบเนื้อความอย่างนั้นว่า คิลานปัจจัยเภสัชนั้นด้วย

เป็นบริขารด้วย โดยนัยดังกล่าวมานี้ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า คิลานปัจจัย

เภสัชบริขาร. ซึ่งคิลานปัจจัยเภสัชบริขารนั้น.

๑. อง. สตฺตก. ๒๗/๑๐๗. ๒. ส. มหาวาร. ๑๙/๗. ๓. ม. มู. ๑๒/๒๑๒.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 239

บทว่า วสล แปลว่า เลว คือ ชั่วช้า. อีกนัยหนึ่ง ผู้ที่ชื่อว่า

วสละ เพราะอรรถว่า ไหลออกมา. อธิบายว่า ย่อมหลั่งออก.

บทว่า นิฏฺหิตฺวา แปลว่า บ้วนเขฬะให้ตกไป

ด้วยคำว่า กิสฺสาห เกน หายามิ ดังนี้ หญิงนั้นแสดงว่า เรา

จะด้อยกว่าหญิงอื่นคนไหน ? ว่าโดยอะไร ? คือ ว่าโดยโภคะก็ตาม โดย

เครื่องแค่แต่งตัวก็ตาม โดยรูปร่างก็ตาม หญิงชื่ออะไรเล่า ? จะเป็นผู้ดียิ่ง

ไปกว่าเรา.

บทว่า สนฺติเก แปลว่า ยืนอยู่ในที่ใกล้เคียง คือ ในที่ไม่ไกล

โดยรอบ. แม้ด้วยบทภาชนะ ท่านก็แสดงเนื้อความอย่างนี้เหมือนกัน.

บทว่า อตฺตกามปาริจริยาย ความว่า การบำเรอด้วยกาม กล่าวคือ

เมถุนธรรม ชื่อว่า กามปาริจริยา. การบำเรอด้วยกามเพื่อประโยชน์

แก่ตน ชื่อว่า อัตตกามปาริจริยา. อีกอย่างหนึ่ง การบำเรอที่ตนใคร่

คือ ปรารถนา เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า อัตตกามา. อธิบายว่า อันภิกษุ

เองปรารถนาแล้วด้วยอำนาจแห่งความกำหนด ในเมถุน การบำเรอนั้นด้วย

อันตนให้ใคร่ด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า อัตตกามปาริจริยา. แห่งการ

บำเรอด้วยกามเพื่อประโยชน์แก่ตน (หรือแห่งการบำเรออันตนใคร่) นั้น.

[อธิบายสิกขาบทวิภังค์จตุตถสังฆาทิเสส]

สองบทว่า วณฺณ ภาเสยฺย ความว่า พึงประกาศคุณ คืออานิสงส์.

ในอรรถวิกัปทั้งสองนั้น เพราะในอรรถวิกัปนี้ว่า การบำเรอกามเพื่อ

ประโยชน์ตน ได้ใจความ คือ กาม ๑ เหตุ ๑ การบำเรอ ๑ พยัญชนะ

ยังเหลือ ในอรรถวิกัปนี้ว่า การบำเรอนั้นด้วย อันตนใคร่ด้วย ชื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 240

อัตตกามปาริจริยา ได้ใจความ คือ ความประสงค์ การบำเรอ ๑

พยัญชนะยังเหลือ เพราะเหตุนั้น เพื่อไม่ทำความเอื้อเฟื้อในพยัญชนะแสดง

แต่ใจความเท่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะว่า คือ เป็นเหตุ

แห่งตน เป็นที่ประสงค์แห่งตน. จริงอยู่ เมื่อตรัสคำว่า การบำเรอตน

บัณฑิตทั้งหลายจักทราบว่า การบำเรอด้วยกาม เพื่อประโยชน์แก่ตน ท่าน

กล่าวแล้วว่าด้วยคำมีประมาณเท่านี้ แม้เมื่อท่านกล่าวคำว่า การบำเรอตน

ซึ่งเป็นที่ประสงค์แห่งตน บัณฑิตทั้งหลาย ก็จักทราบว่า การบำเรอ

ที่ตนใคร่ ด้วยอรรถว่า ที่ตนต้องการประสงค์ ท่านกล่าวด้วยคำมี

ประมาณเท่านี้.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า จะทรงแสดงอาการในการสรรเสริญ

คุณแห่งการบำเรอตนด้วยกายนั้น จึงตรัสคำว่า เอตทคฺค เป็นอาทิ คำนั้น

มีเนื้อความชัดเจนทีเดียว ทั้งโดยอุเทศทั้งโดยนิเทศ.

ส่วนบทสัมพันธ์ และวินิจฉัยอาบัติในสิกขาบทนี้ พึงทราบดังนี้:-

คำว่า เอตทค ฯเป ฯ ปริจเรยฺย มีความว่า หญิงในพึงบำเรอ

ผู้ประพฤติพรหมจรรย์มีศีล มีกัลยาณธรรมเช่นเรา ด้วยธรรมนั่น

ขึ้นชื่อว่าการบำเรอใด ของหญิงนั้น ผู้บำเรอผู้พระพฤติพรหมจรรย์

เช่นเราอย่างนั้น, การบำเรอเป็นยอดของการบำเรอทั้งหลาย.

สองบทว่า เมถุนูปสหิเตน สงฺฆาทิเสส มีความว่า ภิกษุใด

เมื่อกล่าวคุณแห่งการบำเรอตนด้วยกามอย่างนั้น พึงกล่าวด้วยคำพาดพิง

เมถุนจัง ๆ คือ หมายเฉพาะเมถุนจัง ๆ เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุนั้น.

บัดนี้ ท่านปรับสังฆาทิเสส แก่ภิกษุผู้กล่าวด้วยคำพาดพิงเมถุน

เท่านั้น; เพราะเหตุนั้น จึงไม่เป็นสังฆาทิเสสแม้แก่ภิกษุผู้กล่าวคุณแห่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 241

การบำเรอ ด้วยถ้อยคำมีอาทิอย่างนี้ว่า ฉันก็เป็นกษัตริย์ หล่อนก็เป็น

กษัตริย์ นางกษัตริย์สมควรให้แก่กษัตริย์ เพราะมีชาติเสมอกัน แต่เป็น

สังฆาทิเสสแก่ภิกษุผู้กล่าวปริยายแม้มาก มีคำว่า ฉันก็เป็นกษัตริย์ หล่อน

ก็เป็นกษัตริย์ เป็นต้น แล้วกล่าวด้วยถ้อยคำพาดพิงเมถุนจัง ๆ อย่างนี้ว่า

หล่อนสมควรให้เมถุนแก่ฉัน.

คำว่า อิตฺถี จ โหติ เป็นต้น มีนัยดังกล่าวแล้วในก่อนนั้นแล

พระอุทานเถระเป็นอาทิกัมมิกะในสิกขาบท ไม่เป็นอาบัติแก่ท่านผู้เป็น

อาทิกัมมิกะฉะนี้แล.

บทภาชนียวรรณนา จบ

ปกิณกะทั้งปวงมีสมุฏฐานเป็นต้น เหมือนทุฏฐุลลวาจาสิกขาบท.

แม้วินีตวัตถุทั้งหลาย ก็มีอรรถชัดเจนทั้งนั้น ด้วยประการนี้.

พรรณนาสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๔ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 242

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๕

เรื่องพระอุทายี

[๔๒๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวันอารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล

ท่านพระอุทายีเป็นพระกุลุปกะในพระนครสาวัตถี เข้าไปสู่สกุลเป็นอันมาก

ที่ตนเห็นว่ามีแก่ชายหนุ่มน้อยยังไม่มีภรรยา หรือเด็กหญิงสาวน้อยยังไม่มี

สามี ย่อมพรรณนาคุณสมบัติของเด็กหญิงสาวน้อยในสำนักมารดาบิดา

ของเด็กชายหนุ่มน้อยว่า เด็กหญิงสาวน้อยของสกุลโน้น มีรูปงาม น่าดู

น่าชม คมคาย มีแววฉลาด มีไหวพริบดี ขยัน ไม่เกียจคร้าน เด็ก

หญิง สาวน้อยนั้นสมควรแก่เด็กชายหนุ่มน้อยนี้ มารดาบิดาของเด็กชาย

หนุ่มน้อยกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า คนเหล่านั้นไม่รู้จักพวกข้าพเจ้าว่า

เป็นใคร หรือเป็นพรรคพวกของใคร ท่านเจ้าข้า ถ้าพระคุณเจ้ากรุณา

พูดทาบทามให้ พวกข้าพเจ้าจะสู่ขอเด็กหญิงสาวน้อยนั้นมาให้แก่เด็ก

ชายหนุ่มน้อยนี้ และพรรณนาคุณสมบัติของเด็กชายหนุ่มน้อยในสำนัก

มารดาบิดาของเด็กหญิงสาวน้อยว่า เด็กชามหนุ่มน้อยของสกุลโน้น มี

รูปงาม น่าดู น่าชม คมคาย มีแววฉลาด มีไหวพริบดี ขยัน ไม่

เกียจคร้าน เด็กชายหนุ่มน้อยนั้นสมควรแก่เด็กหญิงสาวน้อยนี้ มารดา

บิดาของเด็กหญิงสาวน้อยกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า คนเหล่านั้นไม่

รู้จักพวกข้าพเจ้าว่าเป็นใคร หรือเป็นพรรคพวกของใคร ฝ่ายหญิงจะ

พูดชมว่า ดู ๆ ก็อยู่ ท่านเจ้าข้า ถ้าพระคุณเจ้ากรุณาช่วยพูดให้เขา

สู่ขอ พวกข้าพเจ้าจะยอมยกเด็กหญิงสาวน้อยนี้แก่เด็กชายหนุ่มน้อยนั้น

โดยอุบายนี้แล ท่านพระอุทายีให้มารดาบิดาของเจ้าหนุ่มเจ้าสาวทำอาวาห-

มงคลบ้าง วิวาหมงคลบ้าง พูดให้สู่ขอกันบ้าง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 243

[๔๒๒] สมัยต่อมา ธิดาของสตรีหมายคนหนึ่ง มีรูปงาม น่าดู

น่าชม พวกสาวกของอาชีวกชาวบ้านอื่น มาพูดกะสตรีหมายนั้นดังนี้ว่า

ข้าแต่แม่ ขอแม่จงกรุณายกเด็กหญิงสาวน้อยนี้ให้แก่เด็กชายหนุ่มน้อยของ

พวกข้าพเจ้าเถิด

สตรีหมายนั้นตอบดังนี้ว่า คุณขา ดิฉันไม่ทราบว่า พวกคุณเป็นใคร

หรือเป็นพรรคพวกของใคร อนึ่งเล่า เด็กหญิงสาวน้อยนี้ ก็เป็นธิดา

คนเดียวของดิฉัน และจะต้องไปอยู่บ้านอื่น ดิฉันจะยกให้ไม่ได้

คนทั้งหลายซักถามสาวกของอาชีวกเหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลายมา

ธุระอะไร

พวกสาวกของอาชีวกชี้แจงว่า พวกข้าพเจ้ามาขอธิดาของหญิง

หมายชื่อโน้น ในตำบลบ้านนี้ให้เด็กชายหนุ่มน้อยของพวกข้าพเจ้า นาง

ตอบอย่างนั้นว่า คุณขาดิฉันไม่ทราบว่า พวกคุณเป็นใคร หรือเป็นพรรค

พวกของใคร อนึ่งเล่า เด็กหญิงสาวน้อยนี้ก็เป็นธิดาคนเดียวของดิฉัน

และจะต้องไปอยู่บ้านอื่น ดิฉันจะยกให้ไม่ได้

คนพวกนั้นแนะนำว่า พวกคุณไปขอธิดาต่อหญิงหม้ายนั้นทำไม

ไปพูดกะท่านพระอุทายีหรือ ท่านพระอุทายีจักช่วยพูดให้เขายกให้เอง

จึงพวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้นเข้าไปหาท่านพระอุทายี ครั้นแล้ว

ได้เรียนท่านพระอุทายีว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า พวกข้าพเจ้าขอธิดาของ

หญิงหม้ายชื่อโน้นในบ้านนี้ให้แก่เด็กชายหนุ่มน้อยของพวกข้าพเจ้า นาง

ตอบอย่างนี้ว่า คุณขา ดิฉันไม่ทราบว่า พวกคุณเป็นใคร หรือเป็น

พรรคพวกของใคร อนึ่งเล่า เด็กหญิงสาวน้อยก็เป็นธิดาคนเดียวของ

ดิฉัน และจะต้องให้อยู่บ้านอื่น ดิฉันจะยกให้ไม่ได้ ข้าแต่พระคุณเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 244

ขอพระคุณเจ้าได้โปรดช่วยพูดให้หญิงหม้ายนั้น อมยกธิดาให้แก่เด็กชาย

หนุ่มน้อยของพวกข้าพเจ้าด้วยเถิด

ลำดับนั้น ท่านพระอุทายีเข้าไปหาสตรีหม้ายนั้น ครั้นแล้วได้ถาม

สตรีหม้ายนั้นว่า ทำไมเธอจึงไม่ยอมยกธิดาให้แก่คนเหล่านั้นเล่า

สตรีหม้ายนั้นตอบว่า เพราะดิฉัน ไม่ทราบว่า คนเหล่านั้นเป็นใคร

หรือเป็นพรรคพวกของใคร อนึ่งเล่า เด็กหญิงสาวน้อยนี้เป็นธิดาคนเดียว

ของดิฉัน และจะต้องไปอยู่บ้านอื่น ดิฉันจึงไม่ยอมยกให้เจ้าค่ะ

อุ. จงให้แก่คนเหล่านั้นเถิด คนเหล่านี้ฉันรู้จัก

ส. ถ้าพระคุณเจ้ารู้จัก ดิฉันยอมยกให้เจ้าค่ะ

จึงสตรีหม้ายนั้นได้ยกธิดาให้แก่สาวกของอาชีวกเหล่านั้น ครั้น

พวกสาวก องอาชีวกเหล่านั้น นำเด็กหญิงสาวน้อยนั้นไปแล้ว ได้เลี้ยงดู

อย่างสะใภ้ชั่วเดือนเดียวเท่านั้น ต่อแต่นั้นก็เลี้ยงดูอย่างทาสี

สาวน้อยร้องทุกข์

[๔๒๓] ต่อมา สาวน้อยนั้นส่งทูตไปในสำนักมารดาว่า ดิฉัน

ตกทุกข์ได้ยาก ไม่ได้รับความสุข พวกสาวกของชีวกได้เลี้ยงดูดิฉัน อย่าง

สะใภ้ชั่วเตือนเดียวเท่านั้น ต่อแต่นั้นมาก็เลี้ยงดูอย่างทาสี ขอให้คุณแม่

ดิฉันมารับดิฉันไป

พอทราบข่าว สตรีหม้ายนั้นจึงเข้าไปหาพวกสาวกของอาชีวก ครั้น

แล้วได้กล่าวดังนี้ว่า ท่านทั้งหลายโปรดอย่าเลี้ยงดูสาวน้อยนี้อย่างทาสี

โปรดเลี้ยงดูอย่างสะใภ้เถิดเจ้าค่ะ

สาวกของอาชีวกเหล่านั้นกล่าวอย่างนี้ว่า พวกเราไม่ได้รับรองและ

ตกลงไว้กับท่าน พวกเรารับรองและตกลงไว้กับสมณะต่างหาก ท่าน

จงไป เราไม่รู้จักท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 245

ครั้นสตรีหม้ายนั้นถูกพวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้นรุกรานแล้ว ได้

กลับมายังพระนครสาวัตถีตามเดิม

แม้ครั้งที่สอง สาวน้อยนั้นก็ได้ส่งทูตไปในสำนักมารดาว่า ดิฉัน

ตกทุกข์ได้ยาก ไม่ได้รับความสุข พวกสาวกของอาชีวกได้เลี้ยงดิฉัน

อย่างสะใภ้ชั่วเดือนเดียวเท่านั้น ต่อแต่นั้นมาก็เลี้ยงดูอย่างทาสี ขอให้

คุณแม่ดิฉันมารับดิฉันไป

จึงสตรีหม้ายนั้นเข้าไปหาท่านพระอุทายี ครั้นแล้วได้เรียนท่านพระ-

อุทายีว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ลูกสาวของดิฉัน ตกทุกข์ได้ยาก ไม่ได้รับ

ความสุข พวกสาวกของอาชีวกได้เลี้ยงดูนางอย่างสะใภ้ชั่วเดือนเดียว

เท่านั้น ต่อแต่นั้นมาก็เลี้ยงดูอย่างทาสี พระคุณเจ้าควรพูดขอร้องว่า

ดูก่อนท่านทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายโปรดอย่าได้เลี้ยงดูสาวน้อยนี้อย่าง

ทาสี โปรดเลี้ยงดูอย่างสะใภ้เถิด

ดังนั้น ท่านพระอุทายีจึงเข้าไปหาสาวกของอาชีวกเหล่านั้น ครั้น

แล้วได้กล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนท่านทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายโปรดอย่า

เลี้ยงดูสาวน้อยนี้อย่างทาสี โปรดเลี้ยงดูอย่างสะใภ้เถิด

พวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้น กล่าวอย่างนี้ว่า เราไม่ได้รับรองและ

ตกลงไว้กับท่าน เรารับรองและตกลงไว้กับหญิงหม้ายต่างหาก สมณะ

ต้องเป็นผู้ไม่ขวนขวาย สมณะต้องเป็นสมณะที่ดี เชิญท่านไปเถิด เรา

ไม่รู้จักท่าน

ครั้นท่านพระอุทายีถูกพวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้นรุกรานแล้ว ได้

กลับมายังพระนครสาวัตถีตามเดิน

แม้ครั้งที่สาม สาวน้อยนั้นก็ได้ส่งทูตไปในสำนักมารดาว่า ดิฉัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 246

ตกทุกข์ได้ยาก ไม่ได้รับความสุข พวกสาวกของอาชีวกได้เลี้ยงดูดิฉัน

อย่างสะใภ้ชั่วเดือนเดียวเท่านั้น ต่อแต่นั้นมาก็เลี้ยงดูอย่างทาสี ขอให้

คุณแม่ดิฉันมารับดิฉันไป

แม้สตรีหม้ายนั้น ก็ได้เข้าไปหาท่านพระอุทายีเป็นครั้งที่สอง แล้ว

ได้เรียนท่านพระอุทายีดังนี้ว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ข่าวว่า ลูกสาวของ

ดิฉันตกทุกข์ได้ยากไม่ได้รับความสุข พวกสาวกของอาชีวกได้เลี้ยงดูนาง

อย่างสะใภ้ชั่วเดือนเท่านั้น ต่อแต่นั้นมาก็เลี้ยงดูอย่างทาสี พระ-

คุณเจ้าควรพูดของร้องว่า ดูก่อนท่านทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายโปรด

อย่าได้เลี้ยงดูสาวน้อยนี้อย่างทาสี โปรดเลี้ยงดูอย่างสะใภ้เถิด

ท่านพระอุทายีกล่าวว่า ฉันถูกพวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้นรุกราน

มาครั้งหนึ่งแล้ว เชิญเธอไปเถิด ฉันไม่ไปละ

นินทาและสรรเสริญพระอุทายี

[๔๒๔] ครั้งนั้น สตรีหม้ายจึงเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ลูกสาว

ของเราตกทุกข์ได้ยาก ไม่ได้รับความสุข เพราะแม่ผัวชั่ว พ่อผัวชั่ว

และสามีชั่วฉันใด ขอให้ท่านพระอุทายีจงตกทุกข์ได้ยาก อย่าได้รับความ

สุขฉันนั้นเถิด แม้สาวน้อย นั้นก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า เราตกทุกข์

ได้ยาก ไม่ได้รับความสุข เพราะแม่ผัวชั่ว พ่อผัวชั่ว และสามีชั่วฉันใด

ขอท่านพระอุทายีจงตกทุกข์ได้ยาก อย่าได้รับความสุขฉันนั้นเถิด แม้

สตรีเหล่าอื่น บรรดาที่ไม่พอใจด้วยแม่ผัว พ่อผัว หรือสามี ต่างก็

กล่าวแช่งชักอย่างนั้นว่า เราตกทุกข์ได้ยากไม่ได้รับความสุข เพราะแม่ผัว

ชั่ว พ่อผัวชั่ว และสามีชั่วฉันใด ขอให้ท่านพระอุทายีจงตกทุกข์ได้ยาก

อย่าได้รับความสุขฉันนั้นเถิด ส่วนสตรีบรรดาที่ได้ยินดีด้วยแม่ผัว พ่อผัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 247

หรือสามี ต่างก็อำนวยพรอย่างนี้ว่า เราสบาย สมบูรณ์ พูนสุข เพราะ

แม่ผัวดี และสามีดี ฉันใด ขอให้ท่านพระอุทายี จงสบาย สมบูรณ์

พูนสุข ฉันนั้นเถิด.

[๔๒๕] ภิกษุทั้งหลายได้ยินสตรีบางพวกกล่าวแช่งชักอยู่บางพวก

อำนวยพรอยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีดาวามละอาย มีความ

รังเกียจ ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่าน

พระอุทายี จึงได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่อเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า.

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุนสงฆ์ ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-

อุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอถึงความเป็นผู้ชักสื่อจริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ฉันเธอจงได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่อเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อครามเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อ

ครามไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 248

พระผู้พระภาคเจ้า ทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุรุษผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ว่าดังนี้:-

พระปฐมบัญญัติ

๙.๕. อนึ่ง ภิกษุใด ถึงความเป็นผู้ชักสื่อ บอกความประสงค์

ของบุรุษเเก่สตรีก็ดี บอกความประสงค์ของสตรีแก่บุรุษก็ดี ในความ

เป็นเมียก็ตาม ในความเป็นชู้ก็ตาม เป็นสังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 249

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้ว แก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้

เรื่องพระอุทายี จบ

เรื่องนักเลงหญิง

[๔๒๖] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกนักเลงหญิงหลายคนพากันไปเที่ยว

รื่นเริงในสวน ได้ส่งชายสื่อไปในสำนักหญิงแพศยาคนหนึ่งว่า ขอให้

นางมา พวกเราจักพากันเที่ยวรื่นเริงในสวน หญิงแพศยานั้นได้ตอบไป

อย่างนี้ว่า ข้าแต่นาย ดิฉันไม่ทราบว่า พวกท่านเป็นใคร หรือเป็น

พรรคพวกของใคร อนึ่ง ดิฉันมีเครื่องแต่งกายนาก มีเครื่องประดับ

เรือนมาก และจะต้องไปนอกเมือง ดิฉันไปไม่ได้ ครั้นแล้วชายสื่อนั้น

ได้แจ้งเรื่องนั้น แก่นักเลงหญิงเหล่านั้น

เมื่อชายสื่อแจ้งอย่างนั้นแล้ว บุรุษคนหนึ่งได้กล่าวกะนักเลงเหล่า

นั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านไปอ้อนวอนหญิงแพศยานั้นทำไม ควร

บอกพระอุทายีมิดีหรือ ท่านพระอุทายีจักส่งมาให้เอง

เมื่อบุรุษนั้นกล่าวอย่างนั้นแล้ว อุบาสกคนหนึ่งได้กล่าวกะบุรุษผู้นั้น

ว่า คุณอย่าได้พูดอย่างนั้น การกระทำเช่นนั้นไม่สมควรแก่พระสมณะ

เชื้อสายพระศากยบุตร ท่านพระอุทายีจักไม่ทำเช่นนั้น

เมื่ออุบาสกนั้นกล่าวอย่างนั้นแล้ว นักเลงหญิงเหล่านั้น ได้พากัน

ว่า ท่านพระอุทายีจักทำหรือไม่ทำ แล้วเข้าไปหาท่านพระอุทายีกล่าว

ดังนี้ว่า ข้าแต่พระภาคเจ้า พวกข้าพเจ้าพากันไปเที่ยวรื่นเริงในสวน

ได้ส่งชายสื่อไปในสำนักหญิงแพศยาชื่อโน้นว่า ขอให้นางมา พวกเรา

จักพากันเที่ยวรื่นเริงในสวน นางตอบอย่างนั้นว่า ข้าแต่นาย ดิฉันไม่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 250

ทราบว่า ท่านทั้งหลายเป็นใคร หรือเป็นพรรคพวกของใคร อนึ่ง ดิฉัน

มีเครื่องแต่งกายมาก มีเครื่องประดับเรือนมาก และจะต้องไปนอกเมือง

ดิฉันไปไม่ได้ ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าได้โปรดส่งหญิงแพศยา

นั้นไปให้สำเร็จประโยชน์ด้วย เถิด ขอรับ

ลำดับนั้น ท่านพระอุทายีเข้าไปหาหญิงแพศยานั้น ครั้นแล้วได้

ถามหญิงแพศยานั้นดังนี้ว่า ทำไมเธอจึงไม่ไปหาคนเหล่านี้เล่า

หญิงแพศยานั้นตอบว่า ดิฉัน ไม่ทราบว่า คนเหล่านั้นเป็นใคร หรือ

เป็นพรรคพวกของใคร อนึ่ง ดิฉันมีเครื่องแต่งตัวมาก มีเครื่องประดับ

เรือนมาก และจะต้องไปนอกเมือง ดิฉันไปไม่ได้ เจ้าค่ะ

อุ. จงไปหาคนเหล่านี้เถิด คนเหล่านั้นฉันรู้จัก

ญ. ถ้าพระคุณเจ้ารู้จัก ดิฉันจะไป เจ้าค่ะ

ครั้งนั้น นักเลงหญิงเหล่านั้น ได้พาหญิงแพศยานั้นไปเที่ยวสวน

จึงอุบาสกนั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านอุทายีจึงได้ถึงความ

เป็นผู้ชักสื่ออันจะพึงอยู่ร่วมชั่วขณะหนึ่งเล่า ภิกษุทั้งหลายได้ยินอุบาสกนั้น

เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความ

ละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า

ไฉน ท่าฬพระอุทายีจึงได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่ออันจะพึงอยู่ร่วมชั่วขณะหนึ่ง

เล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติอนุบัญญัติ

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอถึงความเป็นผู้ชักสื่ออันจะพึง

อยู่ร่วมชั่วขณะหนึ่ง จริงหรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 251

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่ออันจะพึงอยู่ร่วม

ชั่วขณะหนึ่งเล่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไป

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใส

ยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั้น เป็น

ไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของตนบางที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลายแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ...

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 252

พระอนุบัญญัติ

๙.๕. ก. อนึ่ง ภิกษุใดลงความเป็นผู้ชักสื่อ บอกความประสงค์

ของบุรุษแก่สตรีก็ดี บอกความประสงค์ของสตรีแก่บุรุษก็ดี ในความ

เป็นเมียก็ตาม ในความเป็นชู้ก็ตาม โดยที่สุด บอกแม้แก่หญิงแพศยา

อันจะพึงอยู่ร่วมชั่วขณะ เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องนักเลงหญิง จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๔๒๗] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกขุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 253

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียง

กัน อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ

บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถ-

กรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ใน

อรรถนี้.

คำว่า ถึงความเป็นผู้ชักสื่อ ความว่า ถูกสตรีวานไปในสำนักบุรุษ

หรือถูกบุรุษวานไปในสำนักสตรี.

คำว่า บอกความประสงค์ของบุรุษแก่สตรีก็ดี คือ แจ้งความ

ปรารถนาของชายแก่หญิงก็ดี.

คำว่า บอกความประสงค์ของสตรีแก่บุรุษก็ดี คือ แจ้งความ

ประสงค์ของหญิงแก่ชายก็ดี.

คำว่า ในความเป็นเมียก็ตาม คือ บอกว่า เธอจักเป็นเมีย.

คำว่า ในความเป็นชู้ก็ตาม คือ บอกว่า เธอจักเป็นชู้.

คำว่า โดยที่สุด บอกแม้แก่หญิงแพศยาอันจะพึงอยู่ร่วมชั่วขณะ

คือ บอกว่า เธอจักเป็นภรรยาชั่วคราว.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือ เป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 254

บทภาชนีย์ มาติกา

สตรี ๑๐ จำพวก

[๔๒๘] สตรี ๑๐ จำพวก คือ สตรีมีมารดาปกครอง สตรี

มีบิดาปกครอง ๑ สตรีมีมารดาบิดาปกครอง ๑ สตรีมีพี่น้องชาย

ปกครอง ๑ สตรีมีพี่น้องหญิงปกครอง ๑ สตรีมีญาติปกครอง ๑ สตรี

มีโคตรปกครอง ๑ สตรีมีธรรมคุ้มครอง ๑ สตรีมีคู่หมั้น สตรีมี

กฎหมายคุ้มครอง ๑.

ภรรยา ๑๐ จำพวก

[๔๒๙] ภรรยา ๑ จำพวก คือ ภรรยาสินไถ่ ๑ ภรรยาที่อยู่

ด้วยความเต็มใจ ภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ๑ ภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ๑

ภรรยาที่สมรส ๑ ภรรยาที่ถูกปลงเทริด ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็น

ทั้งภรรยา ๑ ภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างทั้งเป็นภรรยา ภรรยาเชลย

ภรรยาชั่วคราว ๑.

มาติกาวิภังค์

[ ๔๓๐] สตรีที่ชื่อว่า มีมารดาปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีมารดา

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีบิดาปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีบิดา คอยระวัง

ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีมารดาปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีมารดาบิดา

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 255

สตรีที่ชื่อว่า มีพี่น้องชายปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีพี่น้องชาย

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีพี่น้องหญิงปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีพี่น้องหญิง

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีญาติปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีญาติคอยระวัง ควบคุม

ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีโคตรปกครอง ได้แก่ สตรีที่มีบุคคลร่วมสกุล

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีธรรมคุ้มครอง ได้แก่ สตรีที่มีสหธรรมมิกทั้งหลาย

คอยระวัง ควบคุม ห้ามปราม ให้อยู่ในอำนาจ

สตรีที่ชื่อว่า มีคู่หมั้น ได้แก่ สตรีที่มีผู้หมั้นไว้แต่ในครรภ์ โดย

ที่สุด แม้สตรีที่ถูกบุรุษสวมด้วยพวงดอกไม้ ด้วยมั่นหมายว่า สตรีคนนี้

เป็นของเรา

สตรีที่ชื่อว่า มีกฎหมายคุ้มครอง ได้แก่ สตรีที่มีพระราชาบางองค์

ทรงกำหนดอาชญาไว้ว่า บุรุษใดถึงสตรีผู้มีชื่อนี้ ต้องได้รับอาชญาเท่านี้

[๔๓๑] ภรรยาที่ชื่อว่า สินไถ่ ได้แก่ สตรีที่บุรุษช่วยมาด้วยทรัพย์

แล้วให้อยู่ร่วม

ภรรยาที่ชื่อว่า อยู่ด้วยความเต็มใจ ได้แก่ สตรีที่บุรุษคู่รัก ให้

อยู่ร่วม

ภรรยาที่ชื่อว่า อยู่เพราะสมบัติ ได้แก่ สตรีที่บุรุษยกสมบัติให้

แล้วให้อยู่ร่วม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 256

ภรรยาที่ชื่อว่า อยู่เพราะผ้า ได้แก่ สตรีที่บุรุษมอบผ้าให้แล้ว

ให้อยู่ร่วม

ภรรยาที่ชื่อว่า สมรส ได้แก่ สตรีที่บุรุษจับต้องภาชนะน้ำด้วยกัน

แล้วให้อยู่ร่วม

ภรรยาที่ชื่อว่า ถูกปลงเทริด ได้แก่ สตรีที่บุรุษปลงเทริดลง แล้ว

ให้อยู่ร่วม

ภรรยาที่ชื่อว่า เป็นคนใช้ ได้แก่ สตรีที่เป็นทั้งคนรับใช้ เป็น

ทั้งภรรยา

ภรรยาที่ชื่อว่า เป็นลูกจ้าง ได้แก่ สตรีที่เป็นทั้งคนทำงาน เป็น

ทั้งภรรยา

ภรรยาที่ชื่อว่า เชลย ได้แก่ สตรีที่เรียกว่า ถูกนำมาเป็นเชลย

ภรรยาที่ชื่อว่า ภรรยาชั่วคราว ได้แก่ สตรีที่เรียกว่า เป็นภรรยา

ชั่วขณะ.

๑. ธนักกีตาจักร

นิกเขปบท

[๔๓๒] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 257

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าไป บอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้นี้ชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้นี้ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอกต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 258

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้น ผู้มีชื่อว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มี ชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

นิกเขปบท จบ

ธนักกีตาจักร

ขัณฑจักรมีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล

[ ๔๓๓] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกดรองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มารดาปกครองผู้มีชื่อนี้และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 259

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำา นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรนคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 260

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ขัณฑจักร จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๓๔] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับ

คำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 261

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 262

็ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๑ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒

[๔๓๕] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีที่บิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับ

คำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็น ภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 263

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั่นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าว

ว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกดรองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ แสะสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๒ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 264

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๓

[๔๓๖] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครอง ผู้นี้

ชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชาย ปกครองผู้นี้ชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั่นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 265

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้ชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พัทธจักร หมวดที่ ๓ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๔

[๔๓๗] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 266

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีน้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 267

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๔ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๕

[๔๓๘] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 268

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั่นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มี ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ แสะสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 269

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พัทธจักร หมวดที่ ๕ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๖

[๔๓๙] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับ

คำ นำไปบอก และกับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั่นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไ ปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 270

ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกดรองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้นี้ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 271

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่ออัน ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๖ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๗

[๔๔๐] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้นี้ชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั่นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 272

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

ธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๗ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 273

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๘

[๔๔๑] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้น ผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจึงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 274

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พัทธจักร หมวดที่ ๘ จบ

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๔๒] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 275

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

กฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแก่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 276

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

กฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้น ผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พัทธจักร หมวดที่ ๙ จบ

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีตาจักร

มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล จบ

[๔๔๓] ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งธนักกีตาจักรมีสตรี ๒ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๓ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๔ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๕ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๖ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีทาจักร มีสตรี ๗ คนเป็นมูล

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 277

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๘ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งธนักกีคาจักร มีสตรี ๙ คนเป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

ธนักกีตาจักร

พัทธจักร มีสตรี ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๔๔] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมี

มารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมี

พี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีโคตร

ปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีธรรมะคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้

และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็น

ภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ธนักกีตาจักร จบ

๒. ฉัทวาสินีจักร

นิกเขปบท

[๔๔๕] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 278

ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมา

บอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส....ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ฉันทวาสินีจักร จบ

๓. โภควาสินีจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

สมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

โภควาสินีจักร จบ

๔. ปฏวาสินีจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

ผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปฏวาสินีจักร จบ

๕. โอทปัตตกินีจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 279

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่สมรส ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

โอทปัตตกินีจักร จบ

๖. โอภตจุมพฏาจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

โอภคจุมพฏาจักร จบ

๗. ทาสีภริยาจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมา

บอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.... ขัณฑจักร...และพัทธจักร...

ทาสีภริยาจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 280

๘. กัมมการีภริยาจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง

เป็นทั้งภรรยาของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำว่า นำไปบอก และกลับมา

บอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

กัมมการีภริยาจักร จบ

๙. ธชาหฏาจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาเชลย ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ธชาหฏาจักร จบ

๑๐. มุหุตติกาจักร

นิเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 281

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติทสังฆา-

ทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ- .

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 282

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้น ผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส.

นิกเขปบท จบ

มุหุตติกาจักร

ขัณฑจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล

[๔๔๖] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นภรรยาชั่วคราว สองบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 283

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ ว่า ข่าวว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 284

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า

ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มุหุตติกาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๔๗] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้

ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ ...

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองผู้

ชื่อนี้...

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 285

....สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้...

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้...

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ ...

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ ..

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครอง ผู้มี

ชื่อนี้ ...

...สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มูลย่อ*

มุหุตติกาจักร

พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๔๘] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้ชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาบิดาปกครอง

ผู้มีชื่อนี้...

* พัทธจักร มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒- หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 286

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องชายปกครอง

ผู้มีชื่อนี้ ...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีพี่น้องหญิงปกครอง

ผู้มีชื่อนี้ ...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีญาติปกครองผู้มี

ชื่อนี้ ...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีโคตรปกครองผู้มี

ชื่อนี้ ...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มี

ชื่อนี้ ...

...สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า

ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร

มีสตรีคนหนึ่งเป็นมูล จบ

[๔๔๙] ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๒ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๓ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๔ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๕ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๖ คนเป็นมูล

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 287

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร สตรีมี ๗ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๘ คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมุหุตติกาจักร มีสตรี ๙ คนเป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล

่ิ่ มุหุตติกาจักร

พัทธจักร มีสตรี ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๕๐] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมี

มารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีพี่น้อง

หญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีโคตรปกครองผู้มี

ชื่อนี้ สตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และสตรีมี

กฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาชั่วคราว

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

มุหุตติกาจักร จบ

๑. มาตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

[๔๕๑] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 288

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่สมรส ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ..

...เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร

ุ ขัณฑจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[๔๕๒] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจง

ไปบอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยา

สินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับ

คำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 289

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...ภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๕๓] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่

ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้นี้ชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอกและกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 290

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง

เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาเชลย...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส.

มูลย่อ*

มาตุรักขิตาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๕๔] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่ว

คราว และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมานอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

*พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒-หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 291

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้.. .

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

[๔๕๕] ขัณฑจักรและพัทธจักร เเห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา

๒ คน เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๓ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๔ คน

เป็นมูล

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 292

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๕ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๖ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๗ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๘ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๙ คน

เป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนั้นแล.

มาตุรักขิตาจักร

พัทธจักร มีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๕๖] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสิน-

ไถ่ เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ เป็น

ภรรยาที่อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็น

ทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาเชลย

และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 293

๒. ปิตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

[๔๕๗] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปิตุรักขิตาจักร จบ

๓. มาตาปิตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ.

สังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

มาตาปิตุรักขิตาจักร จบ

๔. ภาตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ขอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 294

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ภาตุรักขิตาจักร จบ

๕. ภคินีรักขิตาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีพี่น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรบคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ภคินีรักขิตาจักร จบ

๖. ญาติรักขิตาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ญาติรักขิตาจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 295

๗. โคตตรักขิตาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีโคตรปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

๘. ธัมมรักขิตาจักร

นิกขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมานอก ต้องอาบัติสังฆา.

ทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ธัมมรักขิตาจักร จบ

๙. สารักขาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 296

นี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส...

ขัณฑจักร...พัทธจักร...

สารักขาจักร จบ

๑๐. สปริทัณฑาจักร

นิกเขปบท

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

กฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ-

สังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

กฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่สมรส ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ...

... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 297

สปริทัณฑาจักร

ขัณฑจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[๔๘๘] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณ เจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสิน-

ไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมานอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๕๙] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 298

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองมีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง

เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาเชลย ...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว...

. .. เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส.

มูลย่อ*

สปิทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๖๐] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

* พัทธจักรมีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒-หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 299

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่ว

คราว และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้.่

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้ ...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้.. .

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้...

... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับนาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 300

[๔๖๑] ขัณฑจักร และพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๒

คนเป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๓ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๔ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๕ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๖ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๗ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๘ คน

เป็นมูล

ขัณฑจักร และพัทธจักร แห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๙ คน

เป็นมูล

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๖๒] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 301

สินไถ่ เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็น

ทั้งภรรยา เป็นภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

สปริทัณฑจักร จบ

อุภโตพัทธจักร

มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละหนึ่ง

[๔๖๓] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านจงเป็นภรรยาสินไถ่

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

อุภโตพัทธกจักร

มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๒

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ

ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 302

อุภโตพัทธกจักร

มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๓

บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี

มีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีผู้มีมารดา

บิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๔

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกัน ข้างละ ๕

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกัน ข้างละ ๖

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๗

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกัน ข้างละ ๘

อุภโตพัทธกจักร มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๙

นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

อุภโตพัทธกจักร

มีสตรีและภรรยารวมกันข้างละ ๑๐

[๘๖๔] บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีมีมารดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมี

มารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีพี่น้องชายปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีพี่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 303

น้องหญิงปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีญาติปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีโคตร

ปกครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ สตรีมีคู่หมั้นผู้มีชื่อนี้ และ

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยา

สินไถ่ เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็น

ทั้งภรรยา เป็นภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

อุภโตพัทธกจักร

ปุริสเปยยาล

๑. ปุริสมาตุจักร

นิกเขปบท

[๔๖๕] มารดาของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสมาตุจักร จบ

๒. ปุริสปิตุจักร

นิกเขปบท

บิดาของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสปิตุจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 304

๓. ปุริสมาตาปิตุจักร

นิกเขปบท

มาดาบิดาของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสมาตาปิตุจักร จักร

๔. ปุริสภาตุจักร

นิกเขปบท

พี่น้องชายของบุรุษวานภิกษุว่า..ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสภาตุจักร จบ

๕. ปุริสภคินีจักร

นิกเขปบท

พี่น้องหญิงของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พทัธจักร...

ปุริสภคินีจักร จบ

๖. ปุริสญาตกจักร

นิกเขปบท

ญาติของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสญาตกจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 305

๗. ปุริสโคตตจักร

นิกเขปบท

โคตรของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจัก...

ปุริสโคตตจักร จบ

๘. ปุริสสหธัมมิกจักร

นิกเขปบท

สหธรรมิกของบุรุษวานภิกษุว่า...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปุริสสหธัมมิกจักร จบ

นักปราชญ์พึงยังปุริสเปยยาลให้พิสดาร อุภโตพัทธกจักรก็พึงให้

พิสดาร ดุจนัยที่มีมาแล้วข้างต้นนั้นแล.

ปุริสเปยยาล จบ

อิตถีเปยยาล

๑. มาตุรักขิตามาตุจักร

นิกเขปบท

[๔๖๖] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 306

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

สมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

ผ้า ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองว่า ภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่สมรส

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่ถูกปลง

เทริด ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่เป็นทั้ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 307

คนใช้เป็นทั้งภรรยาของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับ

มาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่เป็นทั้ง

ลูกจ้างเป็นทั้งภรรยาของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับ

มาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาเชลย ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

มาตุรักขิตามาตุจักร

ขัณฑจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[ ๔๖๗] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่และเป็นภรรยาทอยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 308

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย...

...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตามาตุจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๖๘] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 309

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา...

... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง

เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาเชลย...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว...

...เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ุุ่่๊ มูลย่อ *

มาตุรักขิตามาตุจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๖๙] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

ชั่วคราว และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป

บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว

และเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ.่.่

* พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒- หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 310

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ.. ..

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...

...เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมาตุรักขิมาตาตุจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

แม้ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมาทุรักขิตามาตุจักร มีภรรยา ๒ คน

เป็นมูล ตลอดถึงขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมาตุรักขิตามาตุจักร มีภรรยา

๙ คนเป็นมูล

นักปราชญ์ก็พึงทำตามแบบนี้แล.

มาตุรักขิตามาตุจักร

พัทธจักร มีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๗๐] มารดาของสตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ

คุณเจ้า ขอพระคุณ เจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 311

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้าง

ทั้งภรรยา เป็นภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตามาตุจักร จบ

๒. ปิตุรักขิตาปิตุจักร

นิกเขปบท

[๔๗๑] บิดาของสตรีมีบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่

ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

บิดาของสตรีมีบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้ง

คนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา.. เป็น

ภรรยาเชลย... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส...ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ปิตุรักขิตาปิตุจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 312

๓. มาตาปิตุรักขิตามาตาปิตุจักร

นิกเขปบท

มารดาบิดาของสตรีมีมารดาบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มารดาบิดาของสตรีมีมารดาบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่

เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ ถูกปลงเทริด... เป็น

ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาเชลย ... เป็นภรรยาชั่วคราวของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ...ขัณฑจักร...

พัทธจักร...

มาตุปิตุรักขิตามาตาปิตุจักร จบ

ภาตุรักขิตาภาตุจักร

นิกเขปบท

พี่น้องชายของสตรีมีพี่น้องชายปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณ

เจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอกเเล้วกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 313

พี่น้องชายของสตรีมีพี่น้องชายปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณ

เจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่

อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่ .่

เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็น

ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส...ขัณฑ-

จักร... พัทธจักร...

ภาตุรักขิตาภาตุจักร จบ

๕ ภคินีรักขิตาภคินีจักร

นิกเขปบท

พี่น้องหญิงของสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ...

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พี่น้องหญิงของสตรีมีพี่น้องหญิงปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระ...

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่

เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทรด... เป็น

ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 314

ภรรยา... เป็นภรรยาเชลย. .. เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑ-

จักร... พัทธจักร...

ภคินีรักขิตาภคินีจักร จบ

๖. ญาติรักขิตาญาติกจักร

นิกเขปบท

ญาติของสตรีมีญาติปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

ญาติของสตรีมีญาติปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้ง

คนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็น

ภรรยาเชลย. . . เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำ

ไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธ-

จักร...

ญาติรักขิตาญาตจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 315

๗. โคตตรักขิตาโคตตจักร

นิกเขปบท

โคตรทั้งหลายของสตรีมีโคตรปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณ.

เจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

สินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

โคตรทั้งหลายของสตรีมีโคตรปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณ-

เจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่

เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็น

ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส...ขัณฑ-

จักร... พัทธจักร...

โคตตรักขิตาโคตตจักร จบ

๘. ธัมมรักขิตาสหธัมมิกจักร

นิกเขปบท

สหธรรมิกทั้งหลายของสตรีมีธรรมคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่

พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 316

ภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สหธรรมิกทั้งหลายของสตรีมีธรรมคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่

พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็น

ภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยา

ที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็น

ภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑ-

จักร... พัทธจักร...

ธัมมรักขิตาสหธัมมิกจักร

๙. สารักขาปุริสจักร

นิกเขปบท

คู่หมั้นของสตรีมีคู่หมั้นวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณ-

เจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

คู่หมั้น ของสตรีมีคู่หมั้นวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้ง

คนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 317

ภรรยาเชลย...เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

สารักขาปุริสจักร จบ

๑๐. สปริทัณฑาปุริสจักร

นิกเขปบท

พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้า-

แต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอ

เป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับ

มาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้า-

แต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็น

ภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด...

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็น

ทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย ... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

สปริทัณฑาปุริสจักร จบ

สปริทัณฑาปุริสจักร

ขัณฑจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[๘๗๒] พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวาน

ภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 318

นั้น จะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมาย คุ้มครองวานภิกษุว่า ข้า-

แต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอเป็น

ภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า.. เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส...

เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาสินไถ่

และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็น

ภรรยาเชลย... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาชั่วคราวของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

สปริทัณฑาปริสจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๗๓] พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวาน

ภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิง

นั้นจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

สมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้า

แต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 319

ภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่อยู่

ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา...

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยาที่

อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มูลย่อ*

สปริทัณฑาปุริสจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

ุ [๔๗๔ ] พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวาน

ภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิง

นั้นจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว และภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้า

แต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า หญิงนั้นจะขอ

เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยา

ชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส...

* พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒- หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 320

เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด.. เป็นภรรยาชั่วคราว

และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาเชลยของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาปุริสจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

แม้ทัณฑจักรและพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาปุริสจักร มีภรรยา ๒ คน

เป็นมูล ตลอดถึงขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาปุริสจักรมีภรรยา

คนเป็นมูล นักปราชญ์ก็พึงทำตามแบบนี้แล.

สปริทัณฑาปุริสจักร

พัทธจักร มีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๗๕] พระราชาผู้ตรากฎหมายของสตรีมีกฎหมายคุ้มครองวาน

ภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า

หญิงนั้นจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยา

ที่อยู่เพราะสมบัติ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยา

ที่ถูกปลงเทริด เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็น

ทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สปริทัณฑาปุริสจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 321

๑. มาตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

[๔๗๖] สตรีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ข้าพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยา

ที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย..

เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร

ขัณฑจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[๔๗๗] สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ของพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉัน จะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 322

เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

ภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็น

ภรรยาที่ถูกปลงเทริด เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย ... เป็นภรรยาสินไถ่

และเป็นภรรยาชั่วคราวของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๗๘] สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ

และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็น

ภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่ถูก

ปลงเทริด... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคน

ใช้เป็นทั้งภรรยา.. เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็น

ทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 323

ภรรยาเชลย... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

มูลย่อ*

มาตุรักขิตาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[๔๗๙] สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว และ

เป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับ

มาบอก. ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีมารดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้นี้ชื่อนี้ว่า ดิฉัน จะขอเป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยา

ที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะ

สมบัติ... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยา

ชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยา

ที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็น

ทั้งภรรยา เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็น

ทั้งภรรยา. .. เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมาตุรักขิตาจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

*พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒-หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 324

แม้ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งมาตุรักขิตาจักร มีภรรยา ๒ คน

เป็นมูลเป็นต้น นักปราชญ์ก็พึงทำตามแบบนี้แล.

มาตุรักขิตาจักร

พุทธจักร มีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๔๘๐] สตรีมีมารดาปกครอง วานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ เป็น

ภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ เป็นภรรยาที่อยู่

เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด เป็นภรรยาที่

เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา เป็น

ภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มาตุรักขิตาจักร จบ

๒. ปิตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

[๔๘๑ ] สตรีมีบิดาปกครองวานภิกษุ ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของ

บุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

สตรีมีบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 325

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่

สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรราที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย ...

เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

ปิตุรักขิตาจักร จบ

๓. มาตาปิตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีมารดาบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

สตรีมีมารดาบิดาปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ...เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

ภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยา

เชลย ... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

มาตาปิตุรักขิตาจักร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 326

๔. ภาตุรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีพี่น้องชายปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีพี่น้องชายปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณ

เจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยา

ที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็น

ทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย ...

เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับ

มาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร...พัทธจักร...

ภาตุรักขิตาจักร จบ

๕. ภคินีรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีพี่น้องหญิงปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณ

เจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มี

ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีพี่น้องหญิงปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 327

เต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ.. เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

ภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยา

เชลย ... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

ภคินีรักขิตาจักร จบ

๖. ญาติรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีญาติปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีญาติปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่

สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย...

เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร.. . พัทธจักร...

ญาติรักขิตาจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 328

๗. โคตตรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีโคตรปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ของพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีโคตรปกครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...

เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยา

ที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา.. เป็นภรรยาเชลย...

เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

โคตตรักขิตาจักร จบ

๘. ธัมมรักขิตาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีธรรมคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีธรรมคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

จงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ...เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 329

ภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่สมรส...

เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยา

ชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

ธัมมรักขิตาจักร

๙. สารักขาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีคู่หมั้นวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุ

รับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีคู่หมั้นวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็น

ภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...เป็นภรรยาที่สมรส...

เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา

เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยา

ชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส... ขัณฑจักร... พัทธจักร...

สารักขาจักร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 330

๑๐. สปริทัณฑาจักร

นิกเขปบท

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษ

ผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

ภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยา

เชลย... เป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

นิกเขปบท จบ

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล

[๔๘๒] สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และ

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก

และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไป บอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ และเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 331

ภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ...เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า...

เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็น

ภรรยาที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้ง

ภรรยา... เป็นภรรยาสินไถ่ และเป็นภรรยาเชลย... เป็นภรรยาสินไถ่

และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๑

[๔๘๓] สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วย

ความเต็มใจและเป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความ

เต็มใจ และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ

และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยา

ที่ถูกปลงเทริด... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่เป็น

ทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาที่

เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็น

ภรรยาเชลย ... เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาชั่วคราว...

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 332

เป็นภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

มูลย่อ*

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๙

[์๔๘๔] สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว

และเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และ

กลับมาบอก ต้องอาบัติทสังฆาทิเสส.

สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระ-

คุณเจ้าจงไปบอกบุรุษมีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาชั่วคราว และเป็น

ภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่

เพราะสมบัติ... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่อยู่เพราะผ้า... เป็น

ภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่สมรส... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็น

ภรรยาที่ถูกปลงเทริด... ภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งคนใช้

เป็นทั้งภรรยา... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็น

ทั้งภรรยา... เป็นภรรยาชั่วคราว และเป็นภรรยาเชลย ของบุรุษผู้มีชื่อนี้

ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

ขัณฑจักรและพัทธจักแห่งสปริทัณฑาจักร

มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล จบ

*พัทธจักร มีภรรยาคนหนึ่งเป็นมูล หมวดที่ ๒- หมวดที่ ๘ ท่านย่อไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 333

ขัณฑจักรและพัทธจักรแห่งสปริทัณฑาจักร มีภรรยา ๒ คนเป็นมูล

้เป็นต้น นักปราชญ์พึงทำตามแบบนี้แล.

สปริทัณฑาจักร

พัทธจักรมีภรรยา ๑๐ คนเป็นมูล

[๘๘๕] สตรีมีกฎหมายคุ้มครองวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกบุรุษผู้มีชื่อนี้ว่า ดิฉันจะขอเป็นภรรยาสินไถ่ เป็น

ภรรยาที่อยู่ด้วยความเต็มใจ เป็นภรรยาที่อยู่เพราะสมบัติ เป็นภรรยาที่

อยู่เพราะผ้า เป็นภรรยาที่สมรส เป็นภรรยาที่ถูกปลงเทริด เป็นภรรยา

ที่เป็นทั้งคนใช้เป็นทั้งภรรยา เป็นภรรยาที่เป็นทั้งลูกจ้างเป็นทั้งภรรยา

เป็นภรรยาเชลย และเป็นภรรยาชั่วคราว ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ

นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

สปริทัณฑาจักร

จักรเปยยาลทั้งมวล จบ

ภิกษุรับคำ

[๔๘๖] ภิกษุรับคำ นำไปบอก กลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุรับคำ นำไปบอก ไม่กลับมาบอก ต้องอาบัติถุลลัจจัย

ภิกษุรับคำ ไม่นำไปบอก กลับมาบอก ต้องอาบัติถุลลัจจัย

ภิกษุรับคำ ไม่นำไปบอก ไม่กลับมาบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุไม่รับคำ

ภิกษุไม่รับคำ นำไปบอก กลับมาบอก ต้องอาบัติถุลลัจจัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 334

ภิกษุไม่รับคำ นำไปบอก ไม่กลับมาบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุไม่รับคำ ไม่นำไปบอก กลับมาบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุไม่รับคำ ไม่นำไปบอก ไม่กลับมาบอก ไม่ต้องอาบัติ.

บุรุษสั่งภิกษุหลายรูป

[๔๘๗] บุรุษสั่งภิกษุหลายรูปด้วยกันไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอ

พระคุณเจ้าทั้งหลายจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุทุกรูปรับคำ ทุกรูป

นำไปบอก ทุกรูปกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกรูป

บุรุษสั่งภิกษุหลายรูปด้วยกันไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

ทั้งหลายจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุทุกรูปรับคำ ทุกรูปนำไปบอก

ให้รูปหนึ่งกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกรูป

บุรุษสั่งภิกษุหลายรูปด้วยกันไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

ทั้งหลายจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุทุกรูปรับคำ ให้รูปหนึ่งนำไปบอก

ทุกรูปกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกรูป

บุรุษสั่งภิกษุหลายรูปด้วยกันไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้า

ทั้งหลายจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุทุกรูปรับคำ ให้รูปหนึ่งนำไปบอก

แล้วให้รูปหนึ่งกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกรูป

บุรุษสั่งภิกษุรูปเดียว

บุรุษสั่งภิกษุรูปเดียวไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 335

บุรุษสั่งภิกษุรูปเดียวไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไปบอก แต่ให้ภิกษุอันเตวาสิกกลับมา

บอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษสั่งภิกษุรูปเดียวไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ ให้ภิกษุอันเตวาสิกไปบอก แต่กลับมาบอก

ด้วยตนเอง ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

บุรุษสั่งภิกษุรูปเดียวไว้ว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไป

บอกสตรีผู้ชื่อนี้ ภิกษุรับคำ ให้ภิกษุอันเตวาสิกไปบอก ภิกษุอันเตวาสิก

ไปบอก แล้วกลับมาบอกนอกเรื่อง ต้องอาบัติถุลลัจจัยทั้งสองรูป.

ภิกษุจัดการสำเร็จและบอกเคลื่อนคลาด

[๔๘๘] ภิกษุไปจัดการสำเร็จ กลับมาบอกเคลื่อนคลาด ต้อง

อาบัติถุลลัจจัย

ภิกษุไปบอกเคลื่อนคลาด กลับมาจัดการสำเร็จ ต้องอาบัติถุลลัจจัย

ภิกษุไปจัดการสำเร็จ กลับมาจัดการสำเร็จ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุไปบอกเคลื่อนคลาด กลับมาบอกเคลื่อนคลาด ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๔๘๙] ภิกษุผู้ไปด้วยกรณียกิจของสงฆ์ก็ดี ของเจดีย์ก็ดี ของ

ภิกษุผู้อาพาธก็ดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติ .

แล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 336

วินีตวัตถุ

อุทานคาถา

[๔๙๐]ุ เรื่องสตรีหลับ เรื่องสตรีตาย เรื่องสตรีย้ายบ้าน เรื่อง

ผู้มิใช่สตรี เรื่องสตรีบัณเฑาะก์ เรื่องชักโยงสามีภรรยาผู้ทะเลาะให้

คืนดีและเรื่องการชักสื่อบัณเฑาะก์

วินีตวัตถุ

เรื่องสตรีหลับ

[๔๙๑] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งสั่งภิกษุรูปหนึ่งไว้ว่า ข้าแต่

พระคุณเจ้า ขอพระคุณ เจ้าจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุนั้นไปถามคน

ทั้งหลายว่า สตรีผู้มีชื่อนี้ไปไหน เขาตอบว่า หลับ ขอรับ เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

เรื่องสตรีตาย

ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งสั่งภิกษุรูปหนึ่งไว้ว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุนั้นไปถามคนทั้งหลาย

ว่า สตรีผู้มีชื่อนี้ไปไหน เขาตอบว่า ตายเสียแล้ว ขอรับ เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าๆตรัส ว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 337

เรื่องสตรีย้ายบ้าน

ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งสั่งภิกษุรูปหนึ่งไว้ว่า ข้าแต่พระ

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุนั้นไปถามคนทั้งหลายว่า

สตรีผู้มีชื่อนี้ไปไหน เขาตอบว่า ย้ายไปแล้ว ขอรับ เธอได้มีความรังเกียจ

ว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

เรื่องผู้มิใช่สตรี

ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งสั่งภิกษุรูปหนึ่งไว้ว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุนั้นไปถามคนทั้งหลายว่า

สตรีผู้มีชื่อนี้ไปไหน เขาตอบว่า ไม่ใช่สตรี ขอรับ เธอได้มีความรังเกียจ

ว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

แต่ต้องอาบัติทุกกฏ

เรื่องสตรีบัณเฑาะก์

ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งสั่งภิกษุรูปหนึ่งไว้ว่า ข้าแต่พระ-

คุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรีผู้มีชื่อนี้ ภิกษุนั้นไปถามคนทั้งหลาย

ว่า สตรีผู้มีชื่อนี้ไปไหน เขาตอบว่า เป็นสตรีบัณเฑาะก์ ขอรับ เธอได้

มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 338

เรื่องชักโยงสามีภรรยาผู้ทะเลาะให้คืนดี

[๔๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล สตรีคนหนึ่งทะเลาะกับสามี แล้วได้

ไปยังเรือนมารดา ภิกษุกุลุปกะได้ชักโยงให้คืนดีกันแล้ว เธอได้มีความ

รังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่อง

นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เขาหย่ากันแล้วหรือ

ภิ. เขายังไม่ได้หย่ากัน พระพุทธเจ้าข้า

ภ ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติ เพราะเขายังไม่ทันหย่ากัน.

เรื่องการชักสื่อในบัณเฑาะก์

[๔๙๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งถึงการชักสื่อในบัณเฑาะก์

เเล้ว เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว กระมังหนอ

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอ

ไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๕ บท

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๕

สัญจริตตสิกขาบทวรรณนา

สัญจริตตสิกขา บทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในสัญจริตตสิกขาบทนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระอุทายี]

บทว่า ปณฺฑิตา ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้ฉลาด คือผู้มี

ปัญญาเป็นเครื่องดำเนินไป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 339

บทว่า พฺยตฺตา ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้สามารถ คือ

เป็นผู้รู้อุบาย ผู้กล้าหาญ.

บทว่า เมธาวินี ความว่า เป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาทำให้คนอื่น

เห็นแล้วเห็นเล่า.

บทว่า ทกฺขา คือ เป็นผู้เฉียบแหลม.

บทว่า อนลสา คือ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความขยันหมั่นเพียร.

บทว่า ฉนฺนา แปลว่า เหมาะสม.

บทว่า กิสฺมึ วิย มีอธิบายว่า ดูเหมือนจะเป็นการยาก คือ

ดูจะเป็นความเสีย ดูจะเป็นข้อที่น่าละอายแก่พวกข้าพเจ้า.

สองบทว่า กุมาริกาย วตฺตุ ความว่า การที่จะพูดเพราะเหตุ

แห่งเด็กหญิงว่า พวกท่านจงรับเอาเด็กหญิงนี้ไป (ดูเป็นการยาก).

บรรดาอาวาหะเป็นต้น ที่ชื่อว่า อาวาหะ ได้แก่ การนำเด็กสาว

มาจากตระกุลอื่น เพื่อเด็กหนุ่ม. ที่ชื่อว่า วิวาหะ ได้แก่ การส่งเด็กสาว

ของคนไปสู่ตระกูลอื่น.

บทว่า วาเรยฺยานิ ความว่า การสู่ขอว่า พวกท่านจงให้เด็กหญิง

สาวน้อยแก่เด็กชายหนุ่มน้อยของพวกเรา หรือทำการกำหนดวัน ฤกษ์

และยาม.

บทว่า ปุราณคณกิยา ความว่า ภรรยาของหมอดู (โหร)คนหนึ่ง.

หญิงนั้น เมื่อหมอดูนั้นยังมีชีวิตอยู่ ปรากฏชือว่า คณกี . และเมื่อหมอดู

ตายแล้ว ถึงอันนับว่า ปุราณคณกี.

บทว่า ติโรคาโม ได้แก่ นอกบ้าน. อธิบายว่า บ้านอื่น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 340

บทว่า มนุสฺสา ได้แก่ พวกชาวบ้านผู้รู้ความที่พระอุทายีเป็นผู้

ชอบขวนขวายในการชักสื่อนี้ .

บทว่า สุณิสาโภเคน ความว่า พวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้น

ใช้สอยหญิงนั้น อย่างที่คนทั้งหลายจะพึงใช้สอยหญิงสะใภ้ มีการให้

หุงภัตให้ต้มแกง และการให้เลี้ยงดูเป็นต้น.

หลายบทว่า ตโต อปเรน ทาสีโภเคน ความว่า แต่ล่วงไป

ได้ ๑ เดือน พวกสาวกของอาชีวกเหล่านั้นใช้สอยนางนั้น ด้วยการ

ใช้สอยอย่างที่คนทั้งหลายจะพึงใช้สอยทาสี มีการทำนา เทหยากเยื่อ

และตักน้ำเป็นต้น.

บทว่า ทุคคตา คือ เป็นผู้ยากจน, อีกอย่างหนึ่ง ความว่า

ไปสู่ตระกูลที่ตนไปแล้ว เป็นผู้ตกทุกข์ได้ยาก.

หลายบทว่า มายฺโย อิม ภุมาริก ความว่า คุณอย่าใช้สอย

เด็กหญิงนี้ อย่างใช้สอยทาสีเลย.

ด้วยบทว่า อาหารูปหาโร พวกสาวกของอาชีวกแสดงว่า การ

รับรองและการตกลง คือการรับและการให้ พวกเราไม่ได้รับมา ไม่

ได้มอบให้อะไร ๆ คือว่า พวกเราไม่มีการซื้อขาย คือ การค้าขาย

กับท่าน.

คำว่า สมเณน ภิตพฺพ อพฺยาวเฏน สมโณ อสฺส สุสฺสมโณ

มีความว่า พวกสาวกของอาชีวก รุกรานพระอุทายีเถระนั้นอย่างนี้ว่า

ธรรมดาว่า สมณะ ต้องเป็นผู้ไม่ขวนขวาย คือต้องเป็นผู้ไม่พยายาม

ในการงานเช่นนี้ ด้วยว่า สมณะผู้เป็นอย่างนี้ พึงเป็นสมณะที่ดี แล้ว

กล่าวว่า ไปเสียเถิดท่าน พวกเราไม่รู้จักท่าน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 341

บทว่า สชฺชิโต ความว่า เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยเครื่องอุปกรณ์ทุกอย่าง

หรือเป็นผู้ตกแต่งประดับประดาแล้ว.

บทว่า ชุตฺตา ได้แก่ พวกนักเลงหญิง.

บทว่า ปริจาเรนฺตา ความว่า ยังอินทรีย์ทั้งหลายให้เที่ยวรื่นเริง

ในอารมณ์มีรูปเป็นต้น ที่เพลิดเพลินใจโดยรอบด้าน อย่างโน้นอย่างนี้,

มีอธิบายว่า เล่นอยู่ คือยินดีอยู่.

บทว่ า อพฺภุตมกสุ ความว่า พวกนักเลงกระทำการพนันกันว่า

ถ้าพระอุทายีจักทำ ท่านชนะพนันเท่านี้ ถ้าจักไม่ทำ เราจักแพ้พนัน

เท่านี้ ท่านกล่าวไว้ในมหาปัจจรีว่า ก็การกระทำพนันกัน ไม่ควรแก่

ภิกษุทั้งหลาย, ถ้าภิกษุใดกระทำ, ผู้แพ้จะต้องเสียให้แก่ภิกษุนั้น.

เวลาไม่นาน เรียกว่า ตังขณะ (ขณะนั้น) ในคำว่า กถ หิ นาม

อยฺโย อุทายิ ตงฺขณิก นี้. บทว่า ตงฺขณิก ได้แก่ การชักสื่อ มีการ

ทำหน้าที่ชั่วกาลไม่นาน.

[อธิบายการเที่ยวชักสื่อ]

คำว่า สญฺจริตฺต สนาปชฺเชยฺย ความว่า พึงถึงภาวะเที่ยวชักสื่อ

ก็เพราะภิกษุผู้ถึงภาวะชักสื่อนั้น ถูกใคร ๆ ส่งไปแล้ว จำจะต้องไป

ในที่บางแห่ง, หญิงและชาย ที่ท่านประสงค์เอาในสิกขาบทนี้ โดยพระบาลี

เป็นต้นว่า อิตฺถิยา วา ปุริสมตึ ข้างหน้านั่นแหละ. ฉะนั้น เพื่อจะ

ทรงแสดงอรรถนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะแห่งคาว่า อิตฺถิ-

ยา วา ปุริสมตึ นั้น อย่างนี้ว่า ภิกษุถูกหญิงวานไปในสำนักผู้ชาย

หรือว่าถูกผู้ชายวานไปในสำนักแห่งหญิง ดังนี้ .

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 342

ในคำว่า อิตฺถิยา วา ปุริสมตึ ปุริสสฺส วา อิตฺถึมตึ นี้

บัณฑิตพึงทราบบาลีที่เหลือว่า อาโรเจยฺย แปลว่า พึงบอก. ด้วยเหตุ

นั้นนั่นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า ปุริสสฺส วา อิตฺถีมตึ นั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า ย่อมบอกความประสงค์ของชายแก่หญิง

บอกความประสงค์ของหญิงแก่ชาย ดังนี้.

บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงประโยชน์ คือ ความประสงค์ ความต้อง

การ อัธยาศัย ความพอใจ ความชอบใจ ของชายและหญิงเหล่านั้น

ที่ภิกษุบอก จึงตรัสว่า ในความเป็นเมียก็ตาม ในความเป็นชู้ก็ตาม.

บรรดาบททั้งสองนั้น บทว่า ชายตฺตเน คือ ในความเป็นเมีย.

บทว่า ชารตฺตเน คือ ในควานเป็นชู้ อธิบายว่า เมื่อภิกษุ

บอกความประสงค์ของชายแก่หญิง ชื่อว่าย่อมบอกในความเป็นเมีย, เมื่อ

บอกความประสงค์ของหญิงแก่ชาย ชื่อว่าย่อมบอกในความเป็นชู้. อีก

นัยหนึ่ง เมื่อบอกความประสงค์ของชายนั่นแหละแก่หญิง ชื่อว่าบอก

ในความเป็นเมีย คือ ในความเป็นภรรยาถูกต้องตามกฎหมายบ้าง ใน

ความเป็นชู้ คือ ในความเป็นมิจฉาจารบ้าง. ก็เพราะว่า ภิกษุเมื่อจะบอก

ความเป็นเมียและเป็นชู้นี้ จำจะต้องกล่าวคำมีอาทิว่า นัยว่า เธอจักต้อง

เป็นภรรยาของชายนั้น, ฉะนั้น เพื่อจะแสดงอาการแห่งความเป็นถ้อยคำ

จำเป็นต้องกล่าวนั้น จึงตรัสบอกบทภาชนะแห่งบททั้งสองนั้น ว่า คำว่า

ในความเป็นเมีย คือ เธอจักเป็นภรรยา, คำว่า ในความเป็นชู้ คือ เธอ

จักเป็นชู้ ดังนี้.

โดยอุบายนี้นั่นแล แม้ในการบอกความประสงค์ของหญิงแก่ชาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 343

บัณฑิตพึงทราบอาการที่ภิกษุจำเป็นต้องกล่าวว่า เธอจักเป็นผัว, เธอจัก

เป็นสามี, ชักเป็นชู้.

สองบทว่า อนฺตมโส ตขณิกายปิ มีความว่า หญิงที่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า ตังขณิกา เพราะผู้อันชายพึงอยู่ร่วมเฉพาะ

ในขณะนั้น คือ เพียงชั่วครู่, ความว่า เป็นเมียเพียงชั่วคราว โดย

กำหนดอย่างต่ำที่สุดทั้งหมด. เมื่อภิกษุบอกความประสงค์ของชายอย่างนี้

ว่า เธอจักเป็นเมียชั่วคราว แก่หญิงแม้นั้น ก็เป็นสังฆาทิเสส. โดยอุบาย

นี้นั่นแล แม้ภิกษุผู้บอกความประสงค์ของหญิงแก่ชายอย่างนี้ว่า เธอจัก

เป็นผัวชั่วคราว บัณฑิตพึงทราบว่า ต้องสังฆาทิเสส.

[อธิบายหญิง ๑๐ จำพวก]

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงหญิงจำพวกที่ทรง

ประสงค์ในคำว่า อิตฺถิยา วา ปุริสมตึ นี้ โดยประเภทแล้ว ทรงแสดง

ชนิดแห่งอาบัติ ด้วยอำนาจความเป็นผู้ชักสื่อ ในหญิงเหล่านั้น จึงตรัส

คำว่า ทส อิตฺถิโย เเป็นต้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มาตุรกฺขิตา ได้แก่ หญิงที่มารดา

รักษา คือ มารดารักษาโดยประการที่จะสำเร็จการอยู่ร่วมกับผู้ชายไม่ได้

ด้วยเหตุนั้น ท่านพระอุบาลีจึงกล่าวแม้บทภาชนะแห่งบทว่า มาตุรกฺขิตา

นั้นว่า มารดาย่อมรักษาคุ้มครอง ยังตนให้ทำความเป็นใหญ่ ยังอำนาจ

ให้เป็นไป.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รกฺขิตา ความว่า ไม่ให้ไปในที่

ไหน ๆ. บทว่า โคเปติ ความว่า ย่อมกักไว้ในที่คุ้มครอง โดยประการ

ที่ชายเหล่าอื่นจะไม่เห็น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 344

สองบทว่า อิสฺสริย กาเรติ ความว่า ห้ามการอยู่คามอำเภอใจแห่ง

หญิงนั้น พระพฤติข่มขี่.

สองบท วส วตฺเตติ ความว่า ยังอำนาจของตนให้เป็นไปใน

เบื้องบนแห่งหญิงนั้นอย่างนี้ว่า เจ้าจงทำสิ่งนี้, อย่าได้ทำอย่างนี้. แม้

หญิงทั้งหลาย มีหญิงที่บิดารักษาเป็นต้น ก็พึงทราบโดยอุบายนี้.

โคตร หรือ ธรรม ย่อมรักษาไม่ได้, แต่ว่า หญิงอันชนผู้มี

โคตรเสมอกัน และอันชนผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน คือ ชนผู้บวชอุทิศ

พระศาสดาพระองค์เดียวกัน และชนผู้นับเนื่องในคณะเดียวกัน รักษาแล้ว

ท่านเรียกว่า หญิงอันโคตรรักษา หญิงอันธรรมรักษา. เพราะฉะนั้น

ท่านจึงกล่าวบทภาชนะแห่งบทเหล่านั้น โดยนัยเป็นต้นว่า สโคตฺตา

รกฺขนฺติ. หญิงที่เป็นไปกับด้วยอารักขา ชื่อว่า หญิงมีอารักขา. หญิง

เป็นไปกับด้วยอาชญารอบ ชื่อว่า หญิงมีอาชญารอบ. นิเทศแห่งหญิง

เหล่านั้นปรากฏชัดแล้วแล. บรรดาหญิง ๑๐ จำพวกนี้ เฉพาะสองพวก

หลังเท่านั้นเมื่อคบหาชายอื่นย่อมเป็นมิจฉาจาร, พวกนอกนี้หาเป็นไม่.

บรรดาหญิงที่เขาซื้อด้วยทรัพย์เป็นต้น หญิงที่เขาซื้อมาด้วยทรัพย์

น้อยบ้าง มากบ้าง ชื่อว่า ธนักกีตา ก็เพราะหญิงนั้น เพียงเขาซื้อมา

ด้วยทรัพย์เท่านั้น ยังไม่ชื่อว่าเป็นภรรยา, แต่ที่ชื่อว่าภรรยา ก็เพราะเขา

ซื้อมาเพื่อประโยชน์แก่การอยู่ร่วม, ฉะนั้น ในนิเทศแห่งบทว่า ธนกฺกีตา

นั้น พระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า ชายซื้อมาด้วยทรัพย์แล้วให้อยู่.

หญิงใด ย่อมอยู่ด้วยความพอใจ คือ ด้วยความยินดีของตน,

เหตุนั้น หญิงนั้น ชื่อว่า ฉันทวาสินี. ก็เพราะเหตุที่หญิงนั้นยอมเป็น

ภรรยาด้วยเหตุสักว่าความพอใจของตนฝ่ายเดียว ก็หามิได้, แต่ที่ชื่อว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 345

เป็นภรรยา เพราะเป็นผู้อันชายรับรองแล้ว, ฉะนั้น ในนิเทศแห่งบทว่า

ฉนฺทวาสินี นั้น ท่านจึงกล่าวว่า ชายที่รัก ย่อมยังหญิงที่รักให้อยู่.

หญิงใด ย่อมอยู่ด้วยโภคะ. เหตุนั้น หญิงนั้น ชื่อว่า โภค-

วาสินี. คำว่า โภควาสินี นั่น เป็นชื่อแห่งหญิงในชนบท ผู้ได้อุปกรณ์

แห่งเรือน มีครก สากเป็นต้น แล้วเข้าถึงความเป็นภรรยา.

หญิงใด ย่อมอยู่ด้วยแผ่นผ้า, เหตุนั้น หญิงนั้น ชื่อว่า ปฏวาสินี.

คำว่า ปฏวาสินี นั่น เป็นชื่อแห่งหญิงเข็ญใจ ผู้ได้เพียงผ้านุ่งบ้าง

ผ้าห่มบ้าง แล้วเข้าถึงความเป็นภรรยา.

คำว่า โอทปตฺตกินี นั่น เป็นชื่อแห่งหญิงผู้ที่หมู่ญาติยังมือของ

คู่บ่าวสาวให้จุ่มลงในถาดน้ำ ถาดเดียวกัน แล้วกล่าวว่า เจ้าทั้งสองจง

ปรองดองไม่แตกกันดุจน้ำนี้เถิด ดังนี้ แล้วกำหนดถือเอา. แม้ในนิเทศ

แห่งบทว่า โอทปตฺตกินิ นั้น พึงทราบเนื้อความอย่างนี้ว่า ญาติให้ชาย

นั้น จับภาชนะน้ำร่วมกับหญิงนั้น แล้วให้อยู่.

เทริดของสตรีนั้นอันบุรุษนำลง คือ ปลงลงแล้ว เหตุนั้น สตรีนั้น

ชื่อว่า โอภฏจุมฺพฏา, คือ บรรดาสตรีทั้งหลาย มีสตรีขายฟืนเป็นต้น

คนใดคนหนึ่ง. คำว่า โอภฏจุมฺพฏา นั่น เป็นชื่อแห่งสตรีผู้ที่บุรุษยก

เทริดลงจากศีรษะ แล้วให้อยู่ในเรือน.

บทว่า ทาสี จ ได้แก่ สตรีเป็นทั้งทาสี ทั้งภรรยาของตน. สตรี

ผู้ทำงานในเรือนเพื่อค่าจ้าง ชื่อว่า สตรีทำการงาน, บุรุษบางคนไม่มี

ความต้องการด้วยภรรยาของตน จงสำเร็จการครองเรือนกับสตรีนั้น;

สตรีนี้ ท่านเรียกว่า สตรีผู้ทำการงานด้วย เป็นภรรยาด้วย.

สตรีผู้อันธงนำมาแล้ว ชื่อว่า ธชาหฏา. มีคำอธิบายว่า สตรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 346

ผู้อันกองทัพยกธงขึ้นแล้วไปโจมตีเขตแดนของปรปักษ์แล้วนำมา บุรุษ

บางคนทำสตรีนั้นให้เป็นภรรยา, สตรีนี้ชื่อว่า ธชาหฏา สตรีที่บุรุษ

พึงอยู่ร่วมเพียงชั่วครู่หนึ่ง มีนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. เป็นมิจฉาจารแก่

สตรีทั้ง ๑๐ จำพวกนี้ ในเพราะคบหาชายาอื่น. ก็ในสตรีทั้ง ๓๐ จำพวกนี้

เป็นมิจฉาจารแก่พวกบุรุษ, และก็เป็นการชักสื่อแก่ภิกษุด้วย.

[อธิบายนิกเขปบทเรื่องชายวานภิกษุ]

บัดนี้ พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า ปุริโส ภิกฺขุ ปกิณาติ เป็นอาทิ

ดังต่อไปนี้:-

ภิกษุนั้นรับคำที่ชายนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านโปรดไปพูดกะหญิง

ที่มารดาปกครองชื่อนี้ว่า ได้ยินว่า หล่อนจงเป็นภรรยาสินไถ่ของชาย

ชื่อนี้ ดังนี้ ด้วยลั่นวาจาด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่งว่า ดีละอุบาสก ?

หรือว่าจงสำเร็จ หรือว่าเราจักบอก หรือด้วยกายวิการมีพยักศีรษะเป็นต้น

ชื่อว่า รับ.

ครั้นรับอย่างนั้นแล้ว ไปยังสำนักหญิงนั้น บอกคำสั่งนั้น ชื่อว่า

บอก.

เมื่อคำสั่งนั้นอันเธอบอกแล้ว หญิงนั้นรับว่า ดีละ หรือห้ามเสีย

หรือนิ่งเสีย เพราะอายก็ตามที, ภิกษุกลับมาบอกข่าวนั้นแก่ชายนั้น ชื่อว่า

กลับมาบอก. ด้วยอาการเพียงเท่านี้เป็นสังฆาทิเสส เพราะครบองค์ ๓

กล่าวว่า รับคำ บอก กลับมาบอก. แต่หญิงนั้น จะเป็นภรรยาของชาย

นั้นหรือไม่ ก็ตามที นั่นไม่ใช่เหตุ พระมหาปทุมเถระกล่าวว่า ก็ถ้า

ภิกษุนั้น อันชายวานไปยังสำนักของหญิงที่มารดาปกครอง ไม่พบหญิงนั้น

จึงบอกคำสั่งนั้นแก่มารดาของหญิงนั้น ชื่อว่าบอกนอกคำสั่ง, เพราะฉะนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 347

จึงผิดสังเกต. ฝ่ายพระมหาสุมเถระกล่าวว่า จะเป็นมารดา หรือบิดา

ก็ตามที่ ชั้นที่สุดแม้เป็นทาสีในเรือน หรือผู้อื่นคนใดคนหนึ่ง จักยัง

กิริยานั้นให้สำเร็จได้, เมื่อคำสั่งนั้นอันภิกษุนั้น แม้บอกแล้วแก่ผู้นั้น

เป็นอันบอกแล้วทีเดียว, เพราะฉะนั้น คงเป็นอาบัติเหมือนกัน ในเวลา

ครบองค์ ๓, ภิกษุใดใคร่จะกล่าวว่า พุทธ ปจฺจกฺขามิ พึงกล่าวผิดไปว่า

ธมฺม ปจฺจกฺขามิ สิกขาพึงเป็นอันเธอลาแล้วมิใช่หรือ ข้อนี้ ฉันใด,

อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุใคร่จะกล่าวว่า ปม ฌาน สมาปชฺชามิ พึงกล่าว

ผิดไปว่า ทุติย ฌาน สมาปชฺชามิ เธอพึงเป็นผู้ต้องปาราชิกแท้มิใช่หรือ

ข้อนี้ ฉันใด, คำเป็นเครื่องยังอุปไมยให้ถึงพร้อมนี้ ก็ฉันนั้น.

ก็คำของพระสุมเถระนั่นแหละ สมด้วยบทนี้ว่า ภิกษุรับแต่ให้

อันเตวาสิกบอก แล้วกลับมาบอกด้วยตนเอง ต้องสังฆาทิเสส, เพราะ-

ฉะนั้น คำของท่านเป็นอันกล่าวชอบแล้ว.

เมื่อภิกษุอันชายสั่งว่า ท่านโปรดบอกหญิงอันมารดาปกครอง แล้ว

ไปบอกแม้แก่ชนอื่นมีมารดาเป็นต้น ผู้สามารถจะบอกแก่หญิงนั้นได้,

ความผิดสังเกตย่อมไม่มี ฉันใด; ในเมื่อควรจะบอกว่า ได้ยินว่า หล่อนจง

เป็นภรรยาสินไถ่ของชายชื่อนี้ แม้เมื่อภิกษุบอกด้วยอำนาจคำว่า ผู้อยู่

ร่วมด้วยความพอใจ เป็นต้น คำใดคำหนึ่ง ที่ตรัสไว้ในบาลีอย่างนี้ว่า

ได้ยินว่า หล่อนจงเป็นภรรยา ผู้อยู่ด้วยความพอใจของชายชื่อนี้ หรือ

ด้วยอำนาจคำทั้งหลาย แม้ที่ไม่ได้ตรัสไว้แต่แสดงความอยู่ร่วมกันมีอาทิ

อย่างนี้ว่า ได้ยินว่า หล่อนจงเป็นภรรยา ชายา ปชาบดี มารดาของบุตร

แม่เรือน แม่เจ้าเรือน แม่ครัว นางบำเรอ หญิงบำเรอกาม ของชาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 348

ชื่อนี้ ดังนี้ คำใดคำหนึ่ง ความผิดสังเกต ย่อมไม่มี ฉันนั้นแล. คง

เป็นอาบัติแท้ เพราะครบองค์ ๓.

แต่เมื่อภิกษุอันชายวานว่า โปรดบอกหญิงที่มารดาปกครอง แล้วไป

บอกหญิงเหล่าอื่นมีหญิงที่บิดาปกครองเป็นต้น คนใดคนหนึ่ง ผิดสังเกต.

แม้ในบทว่า ปิตุรกฺขิต พฺรูหิ เป็นต้น ก็นัยนี้แหละ. อันที่จริง ความ

แปลกกันในบทว่า ปิตุรกฺขิต พฺรูหิ เป็นต้นนี้ ก็เพียงความต่างแห่ง

เปยยาล ด้วยอำนาจแห่งจักร มีเอกมูลจักร และทุมูลกจักรเป็นต้น

และด้วยอำนาจแห่งคนเดิม มีอาทิอย่างนี้ คือมารดาของชายวานภิกษุ,

มารดาของหญิงอันมารดาปกครองวานภิกษุ, หญิงที่มารดาปกครองวาน

ภิกษุเท่านั้น. แต่ความแปลกกันนั้น ผู้ศึกษาอาจทราบได้ ตามแนวแห่ง

พระบาลีนั่นเอง เพราะมีนัยดังได้กล่าวไว้แล้วในก่อน เพราะเหตุนั้น

ข้าพเจ้าจึงมิได้ทำความเอื้อเฟื้อเพื่อแสดงวิภาคแห่งความแปลกกันนั้น.

ก็ใน ๒จตุกกะ มีคำว่า ปฏิคฺคณฺหาติ เป็นอาทิ ในจตุกกะ

ที่ ๑ เป็นสังฆาทิเสส เพราะครบองค์ ๓ ด้วยบทต้น เป็นถุลลัจจัย

เพราะครบองค์ ๒ ด้วยบทท่ามกลาง, เป็นทุกกฏ เพราะครบองค์ ๑

ด้วยบทเดียวสุดท้าย. ในจตุกกะที่ ๒ เป็นถุลลัจจัย เพราะครบองค์ ๒

ด้วยบทต้น, เป็นทุกกฏ เพราะครบองค์ ด้วยสองบทท่ามกลาง,

ไม่เป็นอาบัติ เพราะไม่มีองค์ ด้วยบทเดียวสุดท้าย.

[อธิบายเรื่องภิกษุรับคำของหญิงผู้วานเป็นต้น]

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รับ ได้แก่ รับคำสั่งของผู้วาน.

บทว่า บอก ได้แก่ ไปสู่ที่ซึ่งเขาวานไปแล้ว บอกคำสั่งนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 349

บทว่า กลับมาบอก ได้แก่ กลับมาบอกแก่ผู้วานซึ่งเป็นต้นเดิม.

บทว่า ไม่กลับมา ได้แก่ บอกแล้วหลีกไปจากที่นั้นเสีย.

บทว่า ไม่บอก แต่กลับมาบอก ได้แก่ ผู้อันชายวานว่า ท่าน

โปรดไปบอกหญิงชื่อนี้ รับคำสั่งของเขาว่า ได้ซี แล้วจะลืมเสีย หรือ

ไม่ลืมคำสั่งนั้นก็ตาม ไปสู่สำนักของหญิงนั้นด้วยกรณียกิจอย่างอื่น นั่ง

กล่าวคำบ้างเล็กน้อย, ด้วยอาการเพียงเท่านี้ ท่านเรียกว่า รับ แต่ไม่บอก.

ลำดับนั้น หญิงนั้นพูดเองกะภิกษุนั้นว่า ได้ยินว่า อุปัฏฐากของ

ท่านอยากได้ดิฉัน ดังนี้, ครั้นพูดอย่างนี้แล้ว จึงพูดว่า ดิฉันจักเป็น

ภรรยาของเขา หรือว่าจักไม่เป็น ก็ดี, ภิกษุนั้นไม่รับรอง ไม่คัดค้าน

คำของหญิงนั้น นิ่งเฉยเสีย ลุกจากที่นั่งมายังสำนักของชายนั้นบอกข่าว

นั้น, ด้วยอาการเพียงเท่านี้ ท่านเรียกว่า ชื่อว่า ไม่บอก แต่กลับมา

บอก.

บทว่า ไม่บอก ไม่กลับมาบอก ได้แก่ รับในเวลาที่บอกคำสั่ง

อย่างเดียวเท่านั้น, แต่ว่า ไม่ทำกิจสองอย่างนอกนี้.

บทว่า ไม่รับ แต่บอก กลับมาบอก ได้แก่ ชายบางคนกล่าว

ถ้อยคำเห็นปานนั้น ในที่ซึ่งภิกษุยืนอยู่ หรือที่ซึ่งนั่งอยู่ ภิกษุแม้อันเขาไม่

ได้วานเลย แต่เป็นดังถูกเขาวาน จึงไปยังสำนักของหญิง แล้วบอกโดย

นัยเป็นต้นว่า ได้ยินว่า หล่อนจงเป็นภรรยาของชายชื่อนี้ แล้วกลับมาบอก

ความชอบใจ หรือไม่ชอบใจปองหญิงนั้นแก่ชายนี้. ภิกษุบอกแล้วกลับ

มาบอกโดยนัยนั้นนั่นแหละ ท่านเรียกว่า ไม่รับ แต่บอก และกลับ

มาบอก ภิกษุผู้ไปแล้วโดยนัยนั้นนั่นแล แต่ไม่บอก ฟังถ้อยคำของหญิง

นั้นพูดแล้ว มาบอกแก่ชายนี้ ตามนัยที่กล่าวแล้ว ในบทที่ ๓ แห่งปฐม-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 350

จตุกกะ ท่านเรียกว่า ไม่รับ ไม่บอก แต่กลับมาบอก. บทที่ ๔

ชัดเจนแล้วแล. นัยทั้งหลายเป็นต้นว่า วานภิกษุมากหลาย ชัดเจนแล้ว

เหมือนกัน. เหมือนอย่างว่า ภิกษุแม้หลายรูปด้วยกัน ย่อมต้องอาบัติ

ในเพราะวัตถุเดี่ยว ฉันใด, พึงทราบอาบัติมากหลายในเพราะวัตถุมาก

หลาย แม้แห่งภิกษุรูปเดียว ฉันนั้น.

เป็นอย่างไร ? ชายวานภิกษุว่า ท่านขอรับ ! ขอท่านโปรดไป

ที่ปราสาทชื่อโน้น มีหญิงประมาณ ๖๐ หรือ ๗๐ คน, ท่านโปรดบอก

หญิงเหล่านั้นว่า ได้ยินว่า พวกหล่อนจงเป็นภรรยาของชายชื่อนี้ ภิกษุ

นั้นรับแล้ว ไปที่ปราสาทนั้นทีเดียว บอกแล้วนำข่าวนั้นกลับมาอีก

เธอต้องอาบัติเท่าจำนวนหญิง. จริงอยู่ แม้ในคัมภีร์ปริวาร พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าก็ได้ตรัสคำนี้ไว้ว่า

ภิกษุพึงต้องครุกอาบัติ ที่ยังทำคืนได้ทั้งหมด

พร้อมกันทั้ง ๖๔ ตัว ด้วยสักว่าย่างเท้าเดินไป และ

กล่าวด้วยวาจา ปัญหานี้ท่านผู้ฉลาดทั้งหลายคิดกัน

แล้ว.

ได้ยินว่า ปัญหานี้ ท่านอาศัยอำนาจแห่งอรรถนี้กล่าวแล้ว. ส่วน

คำว่าอาบัติ ๖๔ ตัว ในคำถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส เพื่อความสล ะ

สลวยแห่งถ้อยคำ. แต่เมื่อภิกษุทำอย่างนั้น ย่อมต้องอาบัติตั้ง ๑๐๐ ตัวก็ได้

ตั้ง ๑,๐๐๐ ตัวก็ได้ฉะนั้นแล.

เหมือนอย่างว่า เป็นอาบัติมากหลายในเพราะหญิงมากหลายแก่

ภิกษุรูปเดียว ที่ชายคนเดียววานไป ฉันใด, ชายคนเดียว วานภิกษุมาก

หลายไปยังสำนักของหญิงคนเดียว, เป็นสังฆาทิเสส แก่ภิกษุทั้งหมดทุกรูป

ฉันนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 351

ชายคนเดียว วานภิกษุมากรูปด้วยกันไปยังสำนักของหญิงจำนวน

มากด้วยกัน เป็นสังฆาทิเสสตามจำนวนหญิง. ชายมากคนด้วยกัน วาน

ภิกษุรูปเดียวไปยังสำนักของหญิงคนเดียว เป็นสังฆาทิเสสตามจำนวน

ของชาย. ชายมากคนด้วยกัน วานภิกษุรูปเดียวไปยังสำนักของหญิงมาก

คนด้วยกัน เป็นสังฆาทิเสสตามจำนวนวัตถุ. ชายมากคนด้วยกัน วาน

ภิกษุมากรูปด้วยกันไปยังสำนักหญิงคนเดียว เป็นสังฆาทิเสสตามจำนวน

วัตถุ. ชายมากคนด้วยกัน วานภิกษุมากรูปไปยังสำนักแห่งหญิงมากคน

ด้วยกัน เป็นสังฆาทิเสสตามจำนวนวัตถุ. แม้ในคำว่า หญิงคนเดียว

วานภิกษุรูปเดียว เป็นต้น ก็มีนัยเหมือนกันนี้. ก็ในสัญจริตตสิกขาบทนี้

ชื่อว่า ความเป็นผู้ถูกส่วน และไม่ถูกส่วนกันไม่เป็นประมาณ. เมื่อภิกษุ

ทำการชักสื่อ แก่บิดามารดาก็ดี แก่สหธรรมิกทั้ง ๕ ก็ดี เป็นอาบัติ

ทั้งนั้น. จตุกกะว่า ชายวานภิกษุว่า ไปเถิดท่านขอรับ ท่านกล่าวไว้

เพื่อแสดงชนิดแห่งอาบัติ ด้วยอำนาจแห่งองค์.

ในบทท้ายแห่งจตุกกะนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:-

หลายบทว่า อันเตวาสิกบอกแล้ว กลับมาบอกภายนอก มีความ

ว่า อันเตวาสิกมาแล้วไม่บอกแก่อาจารย์ ไปเสียทางอื่นบอกแก่ชายผู้นั้น.

หลายบทว่า อาปตฺติ อุภินฺนฺน ถุลฺลจฺจยสฺส มีความว่า เป็นถุล-

ลัจจัยแก่อาจารย์ด้วยองค์ ๒ คือ เพราะคำรับ ๑ เพราะใช้ให้บอก ๑.

เป็นถุลลัจจัยแก่อันเตวาสิกด้วยองค์ ๒ คือ เพราะบอก ๑ เพราะกลับมา

บอก ๑. คำที่เหลือ ปรากฏชัดแล้วแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 352

สองบทว่า คจฺฉนฺโต สมฺปาเหติ ได้แก่ รับ และบอก.

สองบทว่า อาคจฺฉนฺโต วิสวาเทติ ได้แก่ ไม่กลับมาบอก.

สองบทว่า คจฺฉนฺโต วิวาเทติ ได้แก่ ไม่รับ.

สองบทว่า อาคจฺฉนฺโต สมฺปาเทติ ได้แก่ บอก และกลับมาบอก.

ในบททั้งสองอย่างนี้ เป็นถุลลัจจัยด้วยองค์ ๒. ในบทที่ ๓ เป็น

อาบัติ, ในบทที่ ๔ ไม่เป็นอาบัติ.

ในคำว่า อนาปตฺติ สงฺฆสฺส วา เจติยสฺส วา คิลานสฺส วา กรณี-

เยน คจฺฉติ อุมมฺตฺตกสฺส อาทิกมฺมิกสสฺ นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:- I

อุโปสถาคาร หรือการงานอะไร ๆ ของภิกษุสงฆ์ที่ทำค้างไว้มีอยู่,

อุบาสกวานภิกษุไปยังสำนักของอุบายสิกา หรืออุบายสิกาวานภิกษุไปยัง

สำนักของอุบาสก เพื่อต้องการอาหารและค่าแรงงานสำหรับพวกคนงาน

(พวกช่าง)่ ในการสร้างอุโปสถาคารเป็นต้นนั้น, เมื่อภิกษุไปด้วยกรณียะ

ของสงฆ์เช่นนี้ ไม่เป็นอาบัติ. แม้ในเจติยกรรมที่กำลังทำ ก็มีนัยเหมือน

กันนี้. ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้อันอุบาสกวานแล้ว ไปยังสำนักของอุบาสิกา

หรือผู้อันอุบาสิกาวานแล้ว ไปยังสำนักของอุบาสก แม้เพื่อต้องการยา

สำหรับภิกษุอาพาธ. ภิกษุบ้าและภิกษุผู้เป็นอาทิกัมมิกะ มีนัยดังกล่าว

แล้วนั่นแล.

บรรดาปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖

เมื่อภิกษุรับข่าวสารด้วยกายวิการมีผงกศีรษะเป็นต้น ไปบอกด้วยหัวแม่มือ

แล้วกลับมาบอกด้วยหัวแม่มือ, อาบัติเกิดโดยลำพังกาย. เมื่อใคร ๆ กล่าว

แก่ภิกษุผู้นั่งที่หอฉันว่า หญิงชื่อนี้ จักมา, ท่านพึงทราบจิตของนาง

แล้วรับว่า ดีละ บอกกะนางผู้มาหา เมื่อนางกลับไปแล้ว บอกในเมื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 353

ชายนั้นกลับมาหา, อาบัติเกิดโดยลำพังวาจา. แม้เมื่อภิกษุรับคำสั่งด้วย

วาจาว่า ได้ซี แล้วไปยังเรือนของหญิงนั้นด้วยกรณียะอื่น หรือพบหญิง

นั้นในเวลาไปที่อื่น แล้วบอกด้วยเปล่งวาจานั้นแล ยังไม่หลีกไปจากที่นั้น

ด้วยเหตุอื่นนั่นเอง บังเอิญพบชายคนนั้นเข้าอีกแล้วบอก, อาบัติย่อมเกิด

โดยลำพังวาจาอย่างเดียว. แต่อาบัติย่อมเกิดโดยทางกายและวาจา แม้แก่

พระขีณาสพผู้ไม่รู้พระบัญญัติ.

เป็นอย่างไร? ก็ถ้าว่า มารดากับบิดาของภิกษุนั้นโกรธกันเป็น

ผู้หย่าร้างขาดกันแล้ว. ก็บิดาของพระเถระนั้น พูดกะภิกษุนั้นผู้มายังเรือน

ว่า แน่ะลูก ! โยมมารดาของท่านทิ้งโยมผู้แก่เฒ่าไปสู่ตระกูลญาติเสียแล้ว,

ขอท่านไปส่งข่าวให้โยมมารดานั้น (กลับมา) เพื่อปรนนิบัติโยมเถิด. ถ้า

ภิกษุนั้นไปพูดกะโยมมารดานั้นแล้วกลับมาบอกข่าวการมา หรือไม่มาแห่ง

โยมมารดานั้น แก่โยมบิดา เป็นสังฆาทิเสส.

๓ สมุฏฐานนี้ เป็นอจิตตกสมุฏฐาน แต่เมื่อภิกษุทราบพระบัญญัติ

แล้ว ถึงความชักสื่อโดยนัยทั้ง ๓ นี้แหละ อาบัติย่อมเกิดทางกายกับ

จิต ๑ ทางวาจากับจิต ๑ ทางกายวาจากับจิต ๑. ๓ สมุฏฐานนี้ เป็น

สจิตตกสมุฏฐาน ด้วยจิตที่รู้พระบัญญัติ. เป็นกิริยาโนสัญญาวิโมกข์

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม และในสิกขาบทนี้ มีจิต ๓ ดวง

ด้วยสามารถแห่งกุศลจิตเป็นต้น มีเวทนา ๓ ด้วยสามารถแห่งสุขเวทนา

เป็นต้น ฉะนี้แล.

บรรดาวินีตวัตถุทั้งหลาย ใน ๕ เรื่องข้างต้น เป็นทุกกฏ เพราะ

เป็นแต่เพียงรับ.

ในเรื่องทะเลาะกัน มีวินิจฉัย ดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 354

บทว่า สมฺโมทนีย อกาสิ ความว่า ให้หญิงนั้นยินยอมแล้ว ได้

กระทำบ้านให้เป็นสถานที่ควรกลับไปอีก.

บทว่า นาลวนียา มีอรรถว่า ยังไม่หย่าร้างกัน. จริงอยู่ หญิง

ใดอันสามีทิ้งแล้วในชนบทใด ๆ โดยประการโด ๆ ย่อมพ้นภาวะเป็น

ภรรยา, หญิงนี้ท่านเรียกว่า ผู้หย่าร้างกัน. แต่หญิงคนนี้ มิใช่ผู้หย่าร้าง

กัน. นางทะเลาะกันด้วยเหตุบางประการแล้วไปเสีย. ด้วยเหตุนั่นแล ใน

เรื่องทะเลาะกันนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ไม่เป็นอาบัติ. ก็เพราะ

พระผู้มีพระภาคเจ้าปรับถุลลัจจัย ในนางยักษิณี เพราะกายสังสัคคะ;

ฉะนั้น แม้ในทุฏฐุลลสิกขาบทเป็นต้นนี้ นางยักษิณีและนางเปรต บัณฑิต

พึงทราบว่า เป็นวัตถุแห่งถุลลัจจัย เหมือนกัน. แต่ในอรรถกถาทั้งหลาย

ท่านไม่ได้วิจารคำนี้ไว้. คำที่เหลือทุก ๆ เรื่อง มีอรรถกระจ่างทั้งนั้นแล.

สัญจริตตสิกขาบทวรรณนา

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๖

เรื่องภิกษุชาวรัฐอาฬวี

[๔๙๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ

พระเวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนคร

ราชคฤห์ ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายชาวรัฐอาฬวี สร้างกุฎีซึ่งมีเครื่องอุปกรณ์

อันตนขอเขามาเอง อันหาเจ้าของมิได้ เป็นส่วนเฉพาะตนเอง ใหญ่ไม่มี

กำหนด กุฎีเหล่านั้นจึงไม่สำเร็จ เธอต้องมีการวิงวอน มีการขอเขาอยู่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 355

ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้บุรุษ จงให้แรงบุรุษ จงให้โค จงให้เกวียน

จงให้มีด จงให้ขวาน จงให้ผึ่ง จงให้จอบ จงให้สิ่ว จงให้เถาวัลย์

จงให้ไม้ไผ่ จงให้หญ้ามุงกระต่าย จงให้หญ้าปล้อง จงให้หญ้าสามัญ

จงให้ดิน ดังนี้เป็นต้น ประชาชนที่ถูกเบียดเบียนด้วยการวิงวอน ด้วย

การขอ พอเห็นภิกษุทั้งหลายแล้ว หวาดบ้าง สะดุ้งบ้าง หนีไปเสียบ้าง

เดินเลียงไปเสียทางอื่นบ้าง เมินหน้าเสียบ้าง ปิดประตูเสียบ้าง แม้พบ

แม่โคเข้าก็หนี สำคัญว่าพวกภิกษุ.

[๔๙๕] ครั้งนั้น ท่านพระมหากัสสปจำพรรษาอยู่ในพระนคร-

ราชคฤห์ แล้วออกเดินทางมุ่งไปรัฐอาฬวี เที่ยวจาริกไปโดยลำดับถึงรัฐ

อาฬวีแล้ว ทราบว่าท่านพักอยู่ที่อัคคาฬวเจดีย์ในรัฐอาฬวีนั้น ครั้นเวลา

เช้า ท่านพระมหากัสสปครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑ-

บาตในรัฐอาฬวี ประชาชนเห็นท่านพระมหากัสสปแล้วหวาดบ้าง สะดุ้ง

บ้าง หลบหนีไปบ้าง เดินเลี่ยงไปทางอื่นบ้าง เมินหน้าบ้าง ปิดประตู

บ้านบ้าง ครั้นท่านพระมหากัสสปเที่ยวบิณฑบาตไปในรัฐอาฬวี เวลา

หลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เรียกภิกษุทั้งหลายมาถามว่า ท่าน

ทั้งหลาย เมื่อก่อนรัฐอาฬวีนี้มีอาหารบริบูรณ์ หาบิณฑบาตได้ง่าย ภิกษุ

สงฆ์ครองชีพด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำได้ง่าย มาบัดนี้รัฐอาฬวี

อัตคัดอาหาร หาบิณฑบาตได้ยาก ภิกษุสงฆ์จะครองชีพด้วยการถือบาตร

แสวงหาก็ทำไม่ได้ง่าย อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้รฐัอาฬวีนี้เป็น

ดังนี้ จึงภิกษุเหล่านั้นกราบเรียนเรื่องนั้นให้ท่านพระมหากัสสปทราบแล้ว.

[๔๙๖] คราวนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ อยู่ในพระนครราช-

คฤห์ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกโดยหนทางอันจะไปสู่รัฐอาฬวี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 356

เมื่อเสด็จจาริกโดยลำดับ ได้เสด็จถึงรัฐอาฬวีแล้ว ทราบว่าพระองค์

ประทับอยู่ที่อัคคาฬวเจดีย์ในรัฐอาฬวีนั้น จึงท่านพระมหากัสสปเข้าไปเฝ้า

ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลเนื้อความนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า.

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุชาว

รัฐอาฬวีว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอให้สร้างกุฎี ซึ่งมี

อุปกรณ์ที่ตนต้องขอเขามาเอง อันหาเจ้าของมิได้ เป็นส่วนเฉพาะ

ตนเอง ใหญ่ไม่มีกำหนด กุฎีเหล่านั้นจงไม่สำเร็จ พวกเธอจึงต้อง

มีการวิงวอน มีการขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้บุรุษ จงให้

แรงบุรุษ จงให้โค จงให้เกวียน จงให้มีด จงให้ขวาน จงให้ผึ่ง

จงให้จอบ จงให้สิ่ว จงให้เถาวัลย์ จงให้ไม้ไผ่ จงให้หญ้ามุงกระต่าย

จงให้หญ้าปล้อง จงให้หญ้าสามัญ จงให้ดิน ดังนี้เป็นต้น ประชาชน

ที่ถูกเบียดเบียนด้วยการวิงวอน ด้วยการขอ พอเห็นภิกษุทั้งหลายเข้า

บ้างก็หวาด บ้างก็สะดุ้ง บ้างก็หลบหนีไป บ้างก็เลี่ยงไปทางอื่น

บ้างก็เมินหน้า บ้างก็ปิดประตูบ้าน แม้พบแม่โคก็หลบหนี สำคัญว่า

พวกภิกษุ ดังนี้ จริงหรือ.

ภิกษุเหล่านั้น ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 357

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ให้สร้างกุฎีซึ่งมีเครื่อง

อุปกรณ์ที่ตนต้องขอเขามาเอง อันหาเจ้าของมิได้ เป็นส่วนเฉพาะตน

ใหญ่ไม่มีกำหนดเล่า กุฎีเหล่านั้นจงไม่สำเร็จ พวกเธอจึงต้องมีการ

วิงวอน มีการขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้บุรุษ จงให้แรง

บุรุษ จงให้โค จงให้เกวียน จงให้มีด จงให้ขวาน จงให้ผึ่ง จงให้

จอบ จงให้สิ่ว จงให้เถาวัลย์ จงให้ไม้ไผ่ จงให้หญ้ามุงกระต่าย

จงให้หญ้าปล้อง จงให้หญ้าสามัญ จงให้ดิน ดั่งนี้เป็นต้น ดูก่อน

โมฆบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุม-

ชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่นเป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่น ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนภิกษุชาวรัฐอาฬวีโดยอเนก

ปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคน

บำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุก

คลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคน

บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนก

ปริยายแล้ว ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่าดังนี้:-

เรื่องฤาษีสองพี่น้อง

[๔๙๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว ฤาษีสองพี่น้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 358

เข้าอาศัยแม่น้ำคงคาสำนักอยู่ ครั้งนั้น มณีกัณฐนาคราชขึ้นจากแม่น้ำ

คงคาเข้าไปหาฤาษีผู้น้อง ครั้นแล้ววงด้วยขนาด ๗ รอบ แผ่พังพานใหญ่

อยู่บนศีรษะ เพราะความกลัวนาคราชนั้น ฤาษีผู้น้องได้ซูบผอม เศร้า

หมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็น ฤาษีผู้พี่

เห็นฤาษีผู้น้องซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ

มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็น จึงได้ไต่ถามว่า เหตุไรเธอจึงซูบผอม เศร้าหมอง

มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็น

น. ท่านพี่ มณีกัณฐนาคราชขึ้นจากแม่น้ำคงคา เข้ามาหาข้าพเจ้า

ณ สถานที่นี้ ครั้นแล้ววงข้าพเจ้าด้วยขนาด ๗ รอบ แผ่พังพานใหญ่บน

ศีรษะ เพราะความกลัวนาคราชนั้น ข้าพเจ้าจึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง

มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็น

พ. ท่านต้องการไม่ให้นาคราชนั้นมาหรือ

น. ข้าพเจ้าต้องการไม่ให้นาคราชนั้นมา

พ. ท่านเห็นนาคราชนั้นมีอะไรบ้าง

น. เห็นมีแก้วมณีประดับอยู่ที่คอ

พ. ถ้าเช่นนั้น ท่านจงขอแก้วมณีกะนาคราชนั้นว่า ท่านจงให้

แก้วมณีแก่ข้าพเจ้า ๆ ต้องการแก้วมณี

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ครั้นมณีกัณฐนาคราชขึ้นจากแม่น้ำคงคาเข้า

ไปหาฤๅษีผู้น้อง หยุดอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ฤาษีผู้น้องได้กล่าว

ขอแก้วมณี กะมณีกัฐนาคราชว่า ขอท่านจงให้แก้วมณีแก่ข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าต้องการแก้วมณี จึงมณีกัณฐนาคราชรำพึงว่า ภิกษุขอแก้วมณี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 359

ภิกษุต้องการแก้วมณี แล้วได้รีบกลับไป แม้ครั้งที่สอง มณีกัณฐนาคราช

ขึ้นจากแม่น้ำคงคาเข้าไปหาฤาษีผู้น้อง ๆ เห็นมณีกัณฐนาคราชมาแต่ไกล

ได้กล่าวขอแก้วมณี กะมณีกัณฐนาคราชว่า ขอท่านจงให้แก้วมณีแก่

ข้าพเจ้า ๆ ต้องการแก้วมณี จึงมณีกัณฐนาคราชรำพึงว่า ภิกษุขอ

แก้วมณี ภิกษุต้องการแก้วมณี แล้วได้กลับแต่ที่ไกลนั้นเทียว แม้ครั้ง

ที่สาม มณีกัณฐนาคราชกำลังจะขึ้นจากแม่น้ำคงคา ฤๅษีผู้น้องได้เห็น

มณีกัณฐนาคราชกำลังโผล่ขึ้นจากแม่น้ำคงคา ก็ได้กล่าวขอแก้วมณี กะมณี-

กัณฐนาคราชว่า ขอท่านจงให้แก้วมณีแก่ข้าพเจ้า ๆ ต้องการแก้วมณี

ขณะนั้นมณีกัณฐนาคราชได้กล่าวตอบฤาษีผู้น้องด้วยคาถา ความว่า

ดังนี้:-

ข้าวน้ำ ที่ดียิ่ง มากหลาย บังเกิดแก่ข้าพเจ้า เพราะเหตุ

แห่งแก้วมณีดวงนี้ ข้าพเจ้าจะให้แก้วนั้นแก่ท่านไม่ได้ ท่าน

เป็นคนขอจัด ข้าพเจ้าจักไม่มาสู่อาศรมของท่านอีกแล้ว.

ท่านขอแก้วกะข้าพเจ้า ทำให้ข้าพเจ้าสะดุ้งกลัว ดังคน

หนุ่มถือดาบซึ่งลับดีแล้วบนหินลับ ข้าพเจ้าจักไม่ให้แก้วนั้น

แก่ท่าน ๆ เป็นคนขอจัด ข้าพเจ้าจักไม่มาสู่อาศรมของท่าน

อีกแล้ว.

ครั้งนั้นมณีกัณฐนาคราชได้หลีกไป พลางรำพึงว่า ภิกษุขอแก้ว

มณี ภิกษุต้องการแก้วมณี ได้หลีกไปอย่างนั้นแล้ว ไม่กลับมาอีก ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย ต่อมาฤาษีผู้น้องได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ

มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็นยิ่งกว่าเก่า เพราะไม่ได้เห็นนาค-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 360

ราชผู้น่าดูนั้น ฤาษีผู้พี่ได้เห็นฤาษีผู้น้องซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณ

คล้ำ มีผิวเหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็นยิงกว่าเก่า จึงได้ถามดูว่า

เพราะเหตุไรท่านจึงซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลือง

ขึ้น ๆ มีตัวสะพรั่งด้วยเอ็นยิ่งกว่าเก่า ฤาษีผู้น้องตอบว่า เพราะไม่ได้

เห็นนาคราชผู้น่าดูนั้น จึงฤาษีผู้พี่ได้กล่าวกะฤาษีผู้น้องด้วยคาถา ความว่า

ดังนี้:-

บุคคลรู้ว่าสิ่งใดเป็นที่รักของเขา ไม่ควรขอสั่งนั้น อนึ่ง

คนย่อมเป็นที่เกลียดชัง ก็เพราะขอจัด นาคที่ถูกพราหมณ์

ขอแก้วมณี จึงไม่มาให้พราหมณ์นั้นเห็นอีกเลย.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การวิงวอน การขอ ไม่เป็นที่พอใจของ

สัตว์ดิรัจฉานในเหล่านั้นแล้ว ก็จะป่วยกล่าวไปไยถึงหมู่มนุษย์เล่า.

เรื่องนกฝูงใหญ่

[๔๙๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งอยู่

ในไพรสณฑ์แห่งหนึ่งแถบภูเขาหิมพานต์ ณ สถานที่ไม่ห่างไพรสณฑ์นั้น

มีหนองน้ำใหญ่ ครั้งนั้นนกฝูงใหญ่ กลางวันเที่ยวหาอาหารที่หนองน้ำนั้น

เวลาเย็นเข้าอาศัยไพรสณฑ์นั้นสำนักอยู่ ภิกษุนั้นรำคาญเพราะเสียงนกฝูง

นั้น จึงเข้าไปหาเรา ครั้นกราบไหว้เราแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง

เราได้ถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ยังพอทนอยู่หรือ ยังพอครองอยู่หรือ

เธอเดินทางมาด้วยความลำบากน้อยหรือ ก็นี่เธอมาจากไหนเล่า

ภิกษุกราบทูลว่า ยังพอทนอยู่ ยังพอครองอยู่ พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 361

ข้าพระพุทธเจ้าเดินทางมาด้วยความลำบากเล็กน้อย พระพุทธเจ้าข้า มี

ไพรสณฑ์ใหญ่อยู่แถบภูเขาหิมพานต์ ณ สถานที่ไม่ห่างไพรสณฑ์นั้นแล

มีหนองน้ำใหญ่ ครั้นเวลากลางวัน นกฝูงใหญ่เที่ยวหาอาหารที่หนองน้ำ

นั้น เวลาเย็นก็เข้าอาศัยไพรสณฑ์นั้นสำนักอยู่ ข้าพระพุทธเจ้าถูกเสียงนก

ฝูงนั้นรบกวน จึงหนีมาจากไพรสณฑ์นั้น พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ ก็เธอต้องการจะไม่ให้นกฝูงนั้นมาหรือ

ภิ. ข้าพระพุทธเจ้าต้องการไม่ให้นกฝูงนั้นมา พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนภิกษุ ถ้าเช่นนั้นเธอจงกลับไปที่ไพรสณฑ์นั้น เข้าอาศัย

ไพรสณฑ์นั้นแล้ว ในปฐมยามแห่งราตรี จงประกาศ ๓ ครั้ง ว่าดังนี้

แน่ะนกผู้เจริญทั้งหลาย นกทั้งหลายที่อาศัยในไพรสณฑ์นี้มีประมาณเท่าใด

จงฟังเรา ๆ ต้องการขน นกทั้งหลายจงให้ขนแก่เรานกละหนึ่งขน ใน

มัชฌิมยามแห่งราตรี ก็จงประกาศ ๓ ครั้ง ว่าดังนี้ แน่ะนกผู้เจริญทั้งหลาย

นกทั้งหลายที่อาศัยอยู่ในไพรสณฑ์นี้ มีประมาณเท่าใด จงฟังเรา ๆ ต้อง

การขน นกทั้งหลายจงให้ขนแก่เรานกละหนึ่งขน ในปัจฉิมยามแห่งราตรี

ก็จงประกาศ ๓ ครั้ง ว่าดังนี้ แน่ะนกเจริญทั้งหลาย นกทั้งหลายที่อาศัย

อยู่ในไพรสณฑ์นี้ มีประมาณเท่าใด จงฟังเรา ๆ ต้องการขน นกทั้งหลาย

จงให้ขนแก่เรานกละหนึ่งขน จึงภิกษุรูปนั้นกลับไปที่ไพรสณฑ์นั้น เข้า

อาศัยไพรสณฑ์นั้นแล้ว ในปฐมยามแห่งราตรี ประกาศ ๓ ครั้ง ว่าดังนี้

แน่ะนกผู้เจริญทั้งหลาย... ในมัชฌิมยามแห่งราตรี ประกาศ ๓ ครั้ง ว่า

ดังนี้ แน่ะนกผู้เจริญทั้งหลาย... ในปัจฉิมยามแห่งราตรี ประกาศ ๓ ครั้ง

ว่าดังนี้ แน่ะนกผู้เจริญทั้งหลาย... ครั้นนกฝูงนั้นทราบว่า ภิกษุขอขน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 362

ภิกษุต้องการขน ดังนี้ ได้หลีกไปจากไพรสณฑ์นั้น ได้หลีกไปอย่างนั้น

เที่ยว ไม่กลับมาอีก

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าการวิงวอน การขอ จักไม่ได้เป็น

ที่พึงใจของพวกสัตว์ดิรัจฉานเหล่านั้นแล ก็จะป่วยกล่าวไปไยเล่าถึง

หมู่สัตว์ที่เกิดมาเป็นมนุษย์.

เรื่องรัฐบาลกุลบุตร

[๔๙๙] ดูก่อนภิกษุหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว บิดาของรัฐบาล

กุลบุตร ได้กล่าวถามรัฐบาลกุลบุตรด้วยคาถา ความว่าดังนี้:-

แน่ะพ่อรัฐบาล เออก็คนเป็นอันมากที่พากันมาขอเรา เรา

ไม่รู้จัก ไฉนเจ้าไม่ขอเรา.

รัฐบาลกุลบุตรได้กล่าวตอบบิดาด้วยคาถา ความว่าดังนี้:-

คนผู้ขอ ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ ฝ่ายคนผู้ถูกขอ

เมื่อไม่ให้ ก็ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ขอ เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้า

จงไม่ขอท่าน ขออย่าให้ข้าพเจ้าเป็นที่เกลียดชังของท่านเลย.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รัฐบาลกุลบุตรนั้นยังได้กล่าวตอบอย่างนี้

กะบิดาของตนแล้ว ก็จะป่วยกล่าวไปไยเล่าถึงคนอื่นต่อคนอื่น.

[๕๐๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โภคสมบัติของคฤหัสถ์รวบรวมได้

ยาก แม้ได้มาแล้วก็ยังยากที่จะตามรักษา ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

เมื่อโภคสมบัติ นั้นอันพวกคฤหัสถ์รวบรวมได้ยาก แม้เขาได้มาแล้วก็ยัง

ยากที่จะตามรักษาอย่างนี้ พวกเธอได้มีการวิงวอน มีการขอเขาบ่อย

ครั้ง หลายคราวแล้วว่า ขอท่านทั้งหลายจงให้คน จงให้เเรงงาน จง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 363

ให้โค จงให้เกวียน จงให้มีด จงให้ขวาน จงให้ผึ่ง จงให้จอบ

จงให้สิ่ว จงให้เถาวัลย์ จงให้ไม้ไผ่ จงให้หญ้ามุงกระต่าย จงให้

หญ้าปล้อง จงให้หญ้าสามัญ จงให้ดิน ดังนี้เป็นต้น การกระทำของ

พวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การ

กระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุชาวรัฐอาฬวีโดยอเนกปริ-

ยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุง

ยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี

ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคน

บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนก

ปริยาย แล้วทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะเกิดในปัจจุบัน เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมรส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 364

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดุก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนั้น ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๐. ๖. อนึ่ง ภิกษุผู้จะสร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะ

ตนเอง ด้วยอาการขอเอาเอง พึงสร้างให้ได้ประมาณ ประมาณในการ

สร้างกุฎีนั้นดังนี้ โดยยาว ๑๒ คืบ โดยกว้างในร่วมใน ๗ คืบ ด้วย

คืบสุคต พึงนำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ ภิกษุเหล่านั้นพึงแสดง

ที่อันไม่มีผู้จองไว้ อันมีชานรอบ หากภิกษุสร้างกุฎีด้วยอาการขอเอา

เอง ในที่อันมีผู้จองไว้ อันหาชานรอบมิได้ หรือไม่นำภิกษุทั้งหลาย

ไปเพื่อแสดงที่ หรือสร้างให้ล่วงประมาณ เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องภิกษุชาวรัฐอาฬวี จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๐๑] ที่ชื่อว่า อาการขอเอาเอง คือ ขอเองซึ่งคนก็ดี แรง

งานก็ดี โคก็ดี เกวียนก็ดี มีดก็ดี ขวานก็ดี ผึ่งก็ดี จอบก็ดี สิ่วก็ดี

เถาวัลย์ก็ดี ไม้ไผ่ก็ดี หญ้ามุงกระต่ายก็ดี หญ้าปล้องดี หญ้าสามัญก็ดี

ดินก็ดี.

ที่ชื่อว่า กุฎี ได้แก่ ที่อยู่ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายในก็ตาม ซึ่ง

โบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายนอกก็ตาม ซึ่งโบกฉาบปูนไว้ทั้งภายในทั้งภาย

นอกก็ตาม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 365

บทว่า สร้าง คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม.

บทว่า อันหาเจ้าของมิได้ คือ ไม่มีใคร ๆ อื่น ที่เป็นสตรีก็ตาม

บุรุษก็ตาม คฤหัสถ์ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม เป็นเจ้าของ.

บทว่า เฉพาะตนเอง คือ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว.

คำว่า พึงสร้างให้ได้ประมาณ ประมาณในการสร้างกุฎีนั้นดังนี้

โดยยาว ๑๒ คืบ ด้วยคืบสุคต นั้น คือ วัดนอกฝาผนัง.

คำว่า โดยสร้างในร่วมใน ๗ คืบ นั้น คือ วัดร่วมในฝาผนัง.

[๕๐๒] คำว่า พึงนำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ นั้น มีพระ-

พุทธาธิบาย ไว้ว่าดังนี้ ภิกษุผู้จะสร้างกุฎีนั้น พึงให้แผ้วถางฟื้นที่ที่จะสร้าง

กุฎีนั้นเสียก่อน แล้วเข้าไปหาสงฆ์ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุทั้งหลายผู้แก่พรรษากว่า แล้วนั่งกระโหย่งประณมมือกล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าใคร่จะสร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะตนเอง ด้วย

อาการขอเอาเอง ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้นขอสงฆ์ให้ตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้าง

กุฎี พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม ถ้าสงฆ์ทั้งหมดจะอุตสาหะ

ไปตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎีได้ ก็พึงไปตรวจดูด้วยกันทั้งหมด ถ้าไม่

อุตสาหะ ในหมู่สงฆ์นั้น ภิกษุเหล่าใดฉลาดสามารถจะรู้ได้ว่า เป็นสถาน

มีผู้จองไว้หรือไม่ เป็นสถานมีชานเดินได้รอบหรือไม่ สงฆ์พึงขอสมมติ

ภิกษุเหล่านั้นไปแทนสงฆ์

วิธีสมมติ

ก็แล สงฆ์พึงสมมติอย่างนั้น คือ ภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถพึงประกาศ

ให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 366

กรรมวาจาขอสมมติให้ภิกษุตรวจดูพื้นที่

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นผู้ใคร่จะ

สร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะตนเอง ด้วยอาการขอเอาเอง เธอขอ

สงฆ์ให้ตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎี ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้ว

สงฆ์พึงสมมติภิกษุทั้งหลายมีชื่อนี้และมีชื่อนี้ เพื่อตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎี

ของภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็นญัตติ ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมี

ชื่อนี้ผู้นี้ เป็นผู้ใคร่จะสร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะตนเอง ด้วย

อาการขอเอาเอง เธอขอสงฆ์ให้ตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎี สงฆ์สมมติ

ภิกษุทั้งหลายมีชื่อนี้และมีชื่อนี้ เพื่อตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎีของภิกษุมี

ชื่อนี้ การสมมติภิกษุทั้งหลายมีชื่อนี้และมีชื่อนี้ เพื่อตรวจดูฟื้นที่ที่จะ

สร้างกุฎีของภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่

ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด ภิกษุทั้งหลายมีชื่อนี้และมีชื่อนี้ อัน

สงฆ์สมมติแล้ว เพื่อตรวจดูฟื้นที่ที่จะสร้างกุฎีของภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่

สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ ด้วยอย่างนี้.

วิธีแสดงพื้นที่

[๕๐๓] ภิกษุทั้งหลายผู้อันสงฆ์สมมติแล้วเหล่านั้น พึงไป ณ ที่นั้น

ตรวจดูพื้นที่ที่จะสร้างกุฎี พึงทราบว่าเป็นสถานมีผู้จองไว้ หรือเป็นสถาน

ไม่มีผู้จองไว้ เป็นสถานมีชานเดินได้รอบ หรือเป็นสถานไม่มีชานเดินได้

รอบ ถ้าเป็นสถานมีผู้จองไว้ ทั้งไม่มีชานเดินได้รอบ พึงบอกว่า อย่า

สร้างลงในที่นี้ ถ้าเป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ทั้งมีชานเดินได้รอบ พึงแจ้ง

แก่สงฆ์ว่า เป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ทั้งมีชานเดินได้รอบ ภิกษุผู้จะสร้างกุฎี

นั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 367

ผู้แก่พรรษากว่า แล้วนั่งกระโหย่งประนมมือกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า

ข้าพเจ้าใคร่จะสร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะตนเอง ด้วยอาการขอ

เอาเอง ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้นขอสงฆ์ให้แสดงพื้นที่ที่จะสร้างกุฎี พึง

ขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม ภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถพึงประกาศ

ให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้

กรรมวาจาขอสงฆ์ให้แสดงพื้นที่

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ใคร่จะสร้างกุฎี

อันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะตนเอง ด้วยอาการขอเอาเอง เธอขอสงฆ์ให้

แสดงพื้นที่ที่จะสร้างกุฎี ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึง

แสดงพื้นที่ที่จะสร้างกุฎีแก่ภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็นญัตติ ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์

จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ใคร่จะสร้างกุฎีอันหาเจ้าของมิได้ เฉพาะ

ตนเอง ด้วยอาการขอเอาเอง เธอขอสงฆ์ให้แสดงพื้นที่ที่จะสร้างกุฎี

สงฆ์แสดงพื้นที่ที่จะสร้างกุฎีแก่ภิกษุมีชื่อนี้ การแสดงะพื้นที่ที่จะสร้างกุฎี

ของภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่

ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด พื้นที่ที่จะสร้างกุฎีของภิกษุมีชื่อนี้ อันสงฆ์

แสดงแล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ ด้วยอย่างนี้.

[๕๐๔] ที่ชื่อว่า อันมีผู้จอง คือ เป็นที่อาศัยของมด เป็นที่

อาศัยของปลวก เป็นที่อาศัยของหนู เป็นที่อาศัยของงู เป็นที่อาศัยของ

แมลงป่อง เป็นที่อาศัยของตะขาบ เป็นที่อาศัยของช้าง เป็นที่อาศัยของ

ม้า เป็นที่อาศัยของราชสีห์ เป็นที่อาศัยของเสือโคร่ง เป็นที่อาศัยของ

เสือเหลือง เป็นที่อาศัยของหมี เป็นที่อาศัยของสุนัขป่า เป็นที่อาศัย

*สุนัขป่าในทะเลทราย, เสือดาวก็ว่า.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 368

ของสัตว์ดิรัจฉานบางเหล่า เป็นสถานใกล้ที่นา เป็นสถานใกล้ตะแลงแกง

เป็นสถานใกล้ที่ทรมานนักโทษ เป็นสถานใกล้สุสาน เป็นสถานใกล้ที่

สวน เป็นสถานใกล้ที่หลวง เป็นสถานใกล้โรงช้าง เป็นสถานใกล้โรง

ม้า เป็นสถานใกล้เรือนจำ เป็นสถานใกล้โรงสุรา เป็นสถานใกล้ที่สุนัข

อาศัย เป็นสถานใกล้ถนน เป็นสถานใกล้หนทางสี่แยก เป็นสถานใกล้ที่

ชุมนุมชน หรือเป็นสถานใกล้ทางที่เดินไปมา นี่ชื่อว่าสถานอันมีผู้จองไว้.

[๕๐๕] ที่ชื่อว่า อันหาชานรอบมิได้ คือ เกวียนที่เขาเทียมวัวแล้ว

ตามปกติ ไม่สามารถจะเวียนได้ บันไดหรือพะองไม่สามารถจะทอดเวียน

ไปได้ โดยรอบ นี่ชื่อว่า สถานอันหาชานรอบมิได้.

[๕๐๖] ที่ชื่อว่า อันไม่มีผู้จองไว้ คือ ไม่เป็นที่อาศัยของมด ไม่

เป็นที่อาศัยของปลวก ไม่เป็นที่อาศัยของหนู ไม่เป็นที่อาศัยของงู ไม่

เป็นที่อาศัยของแมลงป่อง ไม่เป็นที่อาศัยของตะขาบ ไม่เป็นที่อาศัยของ

ช้าง ไม่เป็นที่อาศัยของม้า ไม่เป็นที่อาศัยของราชสีห์ ไม่เป็นที่อาศัยของ

เสือโคร่ง ไม่เป็นที่อาศัยของเสือเหลือง ไม่เป็นที่อาศัยของหมี ไม่เป็นที่อาศัย

ของสุนัขป่า ไม่เป็นที่อาศัยของสัตว์ดิรัจฉานบางเหล่า ไม่เป็นสถานใกล้

ที่นา ไม่เป็นสถานใกล้ที่ไร่ ไม่เป็นสถานใกล้ตะแลงแกง ไม่เป็นสถาน

ใกล้ที่ทรมานนักโทษ ไม่เป็นสถานใกล้สุสาน ไม่เป็นสถานใกล้ที่สวน ไม่

เป็นสถานใกล้ที่หลวง ไม่เป็นสถานใกล้โรงช้าง ไม่เป็นสถานใกล้โรงม้า

ไม่เป็นสถานใกล้เรือนจำ ไม่เป็นสถานใกล้โรงสุรา ไม่เป็นสถานใกล้ที่

สุนัขอาศัย ไม่เป็นสถานใกล้ถนน ไม่เป็นสถานใกล้หนทางสี่แยก ไม่เป็น

สถานใกล้ที่ชุมนุมชน หรือไม่เป็นสถานใกล้ทางที่เดินไปมา นี่ชื่อว่า

สถานอันไม่มีผู้จองไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 369

[๕๐๗] ที่ชื่อว่า อันมีชานรอบ คือ เกวียนที่เขาเทียมวัวแล้ว

ตามปกติสามารถจะเวียนไปได้ บันไดหรือพะองก็สามารถจะทอดเกวียนไป

ได้โดยรอบ นี่ชื่อว่า สถานอันมีชานรอบ.

[๕๐๘] ที่ชื่อว่า อาการขอเอาเอง อธิบายว่า ขอเอง ซึ่งคนก็ดี

แรงงานก็ดี โคก็ดี เกวียนก็ดี มีดก็ดี ขวานก็ดี ผึ่งก็ดี จอบก็ดี สิ่ว

ก็ดี เป็นต้น

ที่ชื่อว่า กุฎี ได้แก่ ที่อยู่ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายในก็ตาม ซึ่ง

โบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายนอกก็ตาม ซึ่งโบกฉาบปูนไว้ทั้งภายในทั้งภาย

นอกก็ตาม.

บทว่า สร้าง คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม.

สองพากย์ว่า หรือไม่นำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ หรือสร้าง

ให้ล่วงประมาณ เป็นสังฆาทิเสส ความว่า ไม่ขอให้สงฆ์แสดงสถานที่

สร้างกฎีด้วยญัตติทุติกรรมวาจาก็ตาม สร้างเองหรือใช้ให้เขาสร้างให้เกิน

กำหนด แม้เพียงเส้นผมเดียว โดยส่วนยาวหรือโดยส่วนกว้างก็ตาม ต้อง

อาบัติทุกกฏทุกประโยคที่ทำ ยังอิฐอีกก้อนหนึ่งจะเสร็จต้องอาบัติถุลลัจจัย

ก้อนที่สุดเสร็จ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 370

บทภาชนีย์

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๐๙] ภิกษุผู้สร้างกุฏี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้เแสดงให้ มีผู้จอง

ไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้เแสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้เแสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไวั มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ไม่ต้องอาบัติ.

สร้างเกินประมาณ

[๕๑๐] ภิกษุสร้างกุฎี เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 371

ภิกษุสร้างกุฎี เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ๑ ตัว

สร้างเท่าประมาณ

ภิกษุสร้างกุฎี เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้อง

อาบัติ.

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

[๕๑๑] ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประ-

มาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติ

สังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้

จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 372

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มี

ผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส

๒ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มี

ผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว.

พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

[๕๑๒] ภิกษุสร้างกุฏี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มี

ผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฏี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้

จองไว้ ไม่มีชาน ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างกุฏี ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้

จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

สั่งสร้างกุฎี มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๑๓] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่ง

สร้างกุฎให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 373

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฎ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

สั่งสร้างกุฎี มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้อง

อาบัติ

สั่งสร้างกุฎี เขาสร้างเกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 374

แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับ

อาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จอง ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

๑ ตัว

สั่งสร้างกุฎี เขาสร้างเท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ

สั่งสร้างกุฎีมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 375

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ต้องอาบัติททุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับ อาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้เเก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่

มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

สั่งสร้างกุฏีมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 376

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้

แก่เธอ ซึ่งมีฟื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ไม่ต้องอาบัติ.

หลีกไป ไม่ได้สั่ง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๑๔] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไป

เสีย แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จอง

ไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีฟื้นที่อัน

สงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีฟื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติ

สังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับสั่งสร้างกุฎีให้แต่เธอ ซึ่งมีฟืนที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ตัว กับ

อาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 377

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีฟื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

หลีกไป ไม่ได้สั่ง สงฆ์แสดงที่ให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีฟืนที่อันสงฆ์

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

จงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีฟื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ

หลีกไป ไม่ได้สั่ง เขาสร้างเกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 378

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่

มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

หลีกไป ไม่ได้สั่ง เขาสร้างเท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฎ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 379

ชานรอบด้วย ผู้รับสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นจงให้ได้ประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ

หลีกไป ไม่ได้สั่ง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ

อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ

อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 380

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ

อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ

อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว

หลีกไป ไม่ได้สั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ

อย่าให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ อย่า

ให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่ง

มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 381

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ อย่า

ให้มีผู้จองไว้ และจงมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมี

พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ จงให้ได้ประมาณ อย่า

ให้มีผู้จองไว้ และจงให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่ง

มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้อง

อาบัติ.

สร้างผิดคำสั่ง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๑๕] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไป

เสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้

และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

กุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไป

บอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ไม่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 382

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้

แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้น

พึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ และ

อย่าให้มีผู้จองไว้ด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

กุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

และมีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎี

ให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

สร้างผิดคำสั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 383

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดง

ให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่

เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึง

ไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย

ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มี

ชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่ง

มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือ

พึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้ ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก

ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดง

ให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้

แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุ

นั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง

หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ อย่าให้มีผู้จองไว้ และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 384

ให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดง

ให้ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ .

สั่งเท่าประมาณ เขาสร้างเกินประมาณ

[๕๑๖] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไป

เสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้

มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เกินประมาณ

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า

ต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง

หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุ

นั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องเท่าประมาณ และ

อย่าให้มีผู้จองไว้ด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอน

ภิกษุนั้นทราบข่าว เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องเท่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 385

ประมาณ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก

ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องเท่าประมาณ

ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

สั่งเท่าประมาณ เขาสร้างเท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบ

ด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เท่าประมาณ มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้

จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้อง

อาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบ

ด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เท่าประมาณ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้

ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 386

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบ

ด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฏีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา เท่าประมาณ ไม่มี

ผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมี

ชานรอบ ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฏีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฏีนั้นต้องเท่าประมาณ อย่าให้จองไว้ และให้มีชานรอบ

ด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ไม่ต้องอาบัติ

สั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ เขาไม่สร้างตามสั่ง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมี

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดง

ให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือ

พึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก

ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 387

ไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมี

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุ

นั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูต

ไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ และต้องไม่มี

ผู้จองไว้ด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ไม่มีผู้

จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่

อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุ

นั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้เเก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึง

ส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ และให้

มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกัน สร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มี

ผู้จองไว้และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่

อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้น

ทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกิน

ประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไป

บอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้และต้องเท่าประมาณด้วย ถ้าไม่ไปเอง

หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 388

สั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ เขาสร้างตามสั่ง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ

ไม่มีผู้จองไว้และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์แสดงให้เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบ

ข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า

ต้องไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไป

บอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่

อันสงฆ์แสดงให้เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้น ทราบข่าวว่า

เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้

ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกัน สร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ

ต้องไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างกุฎีให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 389

พึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีชานรอบ ถ้าไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก

ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ

ต้องไม่มีผู้จองไว้ และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ

ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ไม่ต้องอาบัติ.

ทำผิดคำสั่ง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๑๗] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไป

เสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และให้มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๓ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎี ให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 390

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว.

ทำผิดคำสั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดง

ให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และ

มีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 391

ทำผิดคำสั่ง เกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และต้องมีชาน

รอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๓ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุ

ผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้น ต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชาน

รอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว.

ทำผิดคำสั่ง เท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 392

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุ

ผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องเท่าประมาณ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ไม่ต้องอาบัติ.

ทำผิดคำสั่ง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๔ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 393

ที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๓ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุ

ผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๓ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว.

ทำผิดคำสั่ง ฟื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 394

ที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย แต่

ได้สั่งไว้ว่า กุฎีนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องเท่าประมาณ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้น

ที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ทำค้าง

[๕๑๘] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีก

ไปเสีย ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆา-

ทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 395

หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รอเสียแล้ว

สร้างใหม่ คืออาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

หรือพึงรอเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้ว

สร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้ว

สร้างใหม่ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ทำค้าง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้ว

สร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 396

หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้ว

สร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น

หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ได้ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้

มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

เกินประมาณ ทำค้าง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อ

เสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ถ้า

เมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 397

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อ

เสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่

ต้องอาบัติทุกกฎ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เกินประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว.

เท่าประมาณ ทำค้าง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้อง

อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ถ้า

เมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้ว สร้างใหม่ ต้อง

อาบัติทุกกฎ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 398

ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฏีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อ

เสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ เท่าประมาณ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ไม่ต้องอาบัติ.

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ ทำค้าง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส

๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือ

ไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส

๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 399

กุฎีนั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส

๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย ผู้รับคำ

สั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ เกินประมาณ

ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือ

ไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒ ตัว.

พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ ทำค้าง

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎีนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือ

ไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ถ้าเมื่อเขาทำค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้กุฎี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 400

นั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ถ้าไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างกุฎีให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างกุฎีให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ เท่าประมาณ

ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

สร้างค้าง สร้างต่อ

[๕๑๙] กุฎีที่ตนสร้างค้างไว้ ภิกษุสร้างต่อให้สำเร็จด้วยตนเอง

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กุฎีที่ตนสร้างค้างไว้ ภิกษุให้คนอื่นสร้างต่อให้สำเร็จ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

กุฎีที่คนอื่นสร้างค้างไว้ ภิกษุสร้างต่อให้สำเร็จด้วยตนเอง ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส

กุฎีที่คนอื่นสร้างค้างไว้ ภิกษุให้คนอื่นสร้างต่อให้สำเร็จ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส.

อนาปัตติวาร

[๕๒๐] ภิกษุสร้างถ้ำ ๑ ภิกษุสร้างดูหา ๑ ภิกษุสร้างกุฎีหญ้า ๑

ภิกษุสร้างกุฎีเพื่อภิกษุอื่น ๑ เว้นอาคารอันเป็นที่อยู่เสีย ภิกษุสร้างนอก

จากนั้น ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๖ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 401

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๖

กุฏิการสิกขาบทวรรณนา

กุฎิการสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป. ในกุฎิการสิกขาบทนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องภิกษุชาวแคว้นอาฬวี]

บทว่า อาฬวกา มีความว่า พวกเด็กหนุ่มเกิดในแคว้นอาฬวี

ชื่อว่า อาฬวกา. เด็กหนุ่มเหล่านั้น แม้ในเวลาบวชแล้ว ก็ปรากฏ

ชื่อว่า อาฬวกา เหมือนกัน. ท่านกล่าวคำว่า อาฬวกา ภิกขุ หมาย

เอาภิกษุชาวแคว้นอาฬวีเหล่านั้น.

บทว่า สญฺาจิกาโย ได้แก่ มีเครื่องอุปกรณ์อันตนขอเขาเอา

มาเอง.

บทว่า การาเปนฺติ ได้แก่ กระทำเองบ้าง ใช้ให้คนอื่นทำบ้าง.

ได้ยินว่า พวกภิกษุเหล่านั้น ทอดทิ้งธุระทั้งสอง คือ วิปัสสนาธุระและ

คันถธุระ ยกนวกรรมเท่านั้นขึ้นเป็นธุระสำคัญ.

บทว่า อสฺสามิกาโย ได้แก่ ไม่มีผู้เป็นใหญ่, อธิบายว่า เว้น

จากผู้สร้างถวาย.

บทว่า อตฺตุทฺเทสิกาโย ได้แก่ เฉพาะตนเอง, อธิบายว่า อัน

ภิกษุปรารภเพื่อประโยชน์แก่ตน.

บทว่า อปฺปมาณิกาโย ได้แก่ ไม่มีประมาณกำหนด*ไว้ว่าอย่างนี้ว่า

* ฎีการวิมติและสารัตถทีปนี้ เป็น อปฺปริจฺฉินฺนปฺปมาณาโย แปลว่า ไม่ได้กำหนด

ประมาณไว้, หรือไม่มีกำหนดและไม่มีประมาณ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 402

จักถึงความสำเร็จด้วยเครื่องอุปกรณ์เพียงเท่านี้ หรือขยายกว้างยาวไม่มี

ประมาณ อธิบายว่า ใหญ่ไม่มีประมาณ.

ภิกษุเหล่านี้ มีการขอร้องเท่านั้นมาก การงานอื่น มีน้อย

เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าเป็นมากไปด้วยการขอร้อง. พวกภิกษุ

เหล่านั้นเป็นผู้มากด้วยการขอ ก็พึงทราบอย่างนี้. แต่โดยใจความใน

สองบทว่า ยาจนพหุลา วิญฺตฺติพหุลา นี้ ไม่มีเหตุแตกต่างกัน. คำนั้น

เป็นชื่อรองพวกภิกษุผู้วอนขอหลายครั้งว่า ท่านจงให้คน. จงให้หัตถ-

กรรมที่คนต้องทำ (แรงงาน). บรรดาคนและหัตถกรรมนั้น จะขอคน

โดยความขาดมูลไม่ควร. จะขอว่า พวกท่านจงให้คนเพื่อประโยชน์แก่

การร่วมมือ เพื่อประโยชน์แก่การทำงาน ควรอยู่. หัตถกรรมที่คนพึง

กระทำท่านเรียกว่า แรงงาน, จะขอแรงงาน ควรอยู่.

[วิญญัติกถาว่าด้วยการออกปากขอ]

ขึ้นชื่อว่าหัตถกรรมมิใช่เป็นวัตถุบางอย่าง, เพราะเหตุนั้น หัตถ-

กรรมนั้น เว้นการงานส่วนตัวของพวกพรานเนื้อและชาวประมงเป็นต้น

เสีย ที่เหลือเป็นกัปปิยะทั้งหมด. เมื่อเขาถามว่า ท่านมาทำไมขอรับ ?

มีการงานที่ใครจะต้องทำหรือ ? หรือว่า ไม่ถาม จะขอ ก็ควร. ไม่มี

โทษ เพราะการขอเป็นปัจจัย. เพราะเหตุนั้น พวกพรานเนื้อเป็นต้น ภิกษุ

ไม่ควรขอกิจการส่วนตัวเขา. ทั้งไม่ได้กำหนดให้แน่นอนลงไป ไม่ควร

ขอว่า พวกท่านจงให้หัตถกรรม. เพราะพวกพรานเนื้อเป็นต้นนั้น ถูก

ภิกษุขออย่างนั้นแล้ว จะต้องรับคำว่า ได้ ขอรับ ! แล้วนิมนต์ภิกษุให้

กลับไป พึงฆ่าเนื้อมาถวายได้ แต่ควรขอกำหนดลงไปว่า ในวิหาร

มีกิจการบางอย่างจำต้องทำ, พวกท่านจงให้หัตถกรรมในวิหารนั้น. การ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 403

ที่ภิกษุจะขอหัตถกรรมบางอย่างกะชาวนา หรือคนอื่นแม้ผู้ขวนขวายใน

การงานของตน ซึ่งถือเอาเครื่องอุปกรณ์ มีผาลและไถเป็นต้น กำลัง

เดินไปเพื่อไถนาก็ดี เพื่อหว่านก็ดี เพื่อเกี่ยวก็ดี สมควรแท้.

ส่วนผู้ใด เป็นคนกินเดน หรือเป็นคนว่างงานอื่นบางคน ผู้คุย

แต่เรื่องไร้ประโยชน์ หรือเอาแต่หลับนอนอยู่, แม้ไม่ขอร้องคนเห็นปานนี้

จะกล่าวว่า เฮ้ย ! เองจงมาทำการงานสิ่งนี้ หรือสิ่งนี้ แล้วให้กระทำ

การงานตามที่ต้องการ ควรอยู่. แต่เพื่อแสดงว่า หัตถกรรมเป็นกัปปิยะ

ทุกอย่าง อาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวนัยนี้ไว้.

ก็ ถ้าว่า ภิกษุประสงค์จะให้สร้างปราสาท, พึงไปยังบ้านแห่ง

พวกช่างสลักหิน เพื่อต้องการเสา แล้วกล่าวว่า อุบาสก ! การได้

หัตถกรรม ควรอยู่. เมื่อเขาถามว่า ควรทำอย่างไร ขอรับ ? พึงบอก

ว่า พึงหามเสาหินไปให้. ถ้าพวกเขาหามไปถวาย หรือถวายเสาของตน

ที่เข็นมาเก็บไว้แล้ว ควรอยู่. แม้ถ้าพวกเขากล่าวว่า พวกผมไม่มีเวลา

จะทำหัตถกรรม ขอรับ ! ขอให้ท่านให้คนอื่นขนไปเถิด, พวกผมจักให้

ค่าจ้างแก่เขาเอง ดังนี้, จะใช้ให้คนอื่นขนไปแล้วบอกว่า พวกท่านจง

ให้ค่าจ้างแก่พวกคนขนหินเถิด ดังนี้ ก็ควร.

โดยอุบายเช่นเดียวกันนี้ การที่ภิกษุจะไปยังสำนักพวกคนผู้ทำการ

ช่างศิลป์นั้น ๆ เพื่อประสงค์ทุก ๆ สิ่งที่ต้องการ คือ ไปยังสำนักช่างไม้

เพื่อต้องการไม้สร้างปราสาท ไปยังสำนักช่างอิฐเพื่อต้องการอิฐ ไปยัง

สำนักช่างมุงหลังคาเรือน เพื่อต้องการมุงหลังคา ไปยังสำนักช่างเขียน

เพื่อต้องการจิตรกรรม แล้วขอหัตถกรรม สมควรอยู่. และจะรับเอาของ

แม้ที่ตนได้ ด้วยอำนาจการขอหัตถกรรมก็ดี ด้วยการเพิ่มให้ค่าจ้างและ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 404

เบี้ยเลี้ยง โดยการขาดมูลก็ดี สมควรทุกอย่าง และเมื่อจะนำของมาจากป่า

ควรให้นำของทั้งหมดที่ใคร ๆ ไม่ได้คุ้มครอง (ไม่หวงแหน) มา.

อนึ่ง มิใช่แต่ประสงค์จะสร้างปราสาทอย่างเดียว แม้ประสงค์จะ

ให้ทำเตียงตั่งบาตร ธมกรกกรองน้ำ และจีวรเป็นต้น ก็พึงให้นำมา,

ได้ไม้ โลหะ และด้ายเป็นต้นแล้ว เข้าไปหาพวกช่างศิลป์นั้น ๆ พึง

ขอหัตถกรรมโดยนัยดังกล่าวนั่นแล. และสิ่งของแม้ที่ตนได้มาด้วยอำนาจ

แห่งการขอหัตถกรรมก็ดี ด้วยการเพิ่มให้ค่าจ้างและเบี้ยเลี้ยงโดยการขาด

มูลก็ดี พึงรับเอาทั้งหมด.

ก็ ถ้าพวกคนงานไม่ปรารถนาจะทำ, เกี่ยงเอาค่าจ้างและเบี้ยเลี้ยง,

ของเป็นอกัปปิยะมีเหรียญกษาปณ์เป็นต้น ไม่ควรให้. จะแสวงหา

ข้าวสารเป็นต้น ด้วยภิกขาจารวัตรให้ ควรอยู่.

ภิกษุให้ช่างบาตรทำบาตรด้วยอำนาจแห่งหัตถกรรมแล้ว ให้ระบม

ทำนองเดียวกันนั้นแล้ว เข้าไปยังภายในบ้าน เพื่อต้องการน้ำมันชโลม

บาตรที่ระบมใหม่ เมื่อชาวบ้านเข้าใจว่า มาเพื่อภิกษา แล้วนำข้าวต้ม

หรือข้าวสวยมา (ถวาย) พึงเอามือปิดบาตร. ถ้าอุบาสิกาถามว่า ทำไม

เจ้าค่ะ ! ภิกษุพึงบอกว่า บาตรระบมใหม่ ต้องการน้ำมันสำหรับทา.

ถ้าอุบาสิกานั้นกล่าวว่า โปรดให้บาตรเถิด เจ้าค่ะ ! แล้วรับบาตรไปทา

น้ำมัน บรรจุข้าวต้ม หรือข้าวสวยให้เต็มแล้วถวาย, ไม่ชื่อว่า เป็นวิญญัติ

จะรับควรอยู่ฉะนี้แล.

พวกภิกษุเที่ยวไปบิณฑบาตแต่เช้ามืด ไปถึงหอฉันไม่เห็นที่นั่ง

ยืนคอยอยู่. ถ้าที่หอฉันนั้น พวกอุบาสิกาเห็นพวกภิกษุยืนอยู่ ช่วยกัน

ให้นำที่นั่งมาเอง. พวกภิกษุผู้นั่งแล้ว เมื่อจะไป พึงบอกลาก่อนแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 405

จึงไป. เมื่อพวกภิกษุไม่บอกลาก่อนแล้วไป ของหาย ไม่เป็นสินใช้.

แต่การบอกลาแล้วไป เป็นธรรมเนียม.

ถ้าอาสนะเป็นของที่ชาวบ้านซึ่งภิกษุทั้งหลายสั่งว่า พวกท่านจง

นำอาสนะมา จึงนำมาให้; ภิกษุทั้งหลายต้องบอกลาแล้วจึงไป. เมื่อ

พวกภิกษุไปไม่บอกลา เป็นการเสียธรรมเนียม และของหาย เป็นสินใช้

ด้วย; แม้ในพรมสำหรับปูลาด ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน .

แมลงหวี่มีชุมมาก พึงกล่าวว่า จงเอาพัดปัดแมลงหวี่. พวก

ชาวบ้านนำกิ่งสะเดาเป็นต้นมาให้ พึงให้ทำกัปปิยะก่อน แล้วจึงรับ.

ภาชนะน้ำที่หอฉันว่างเปล่า ไม่ควรกล่าวว่า จงนำธมกรกมา. เพราะ

เมื่อหย่อนธมกรกลงไปในภาชนะว่างเปล่า จะพึงทำภาชนะแตก. แต่

จะไปยังแม่น้ำ หรือบึง แล้วกล่าวว่า จงนำน้ำมา ควรอยู่ จะกล่าวว่า

จงนำมาจากเรือน ก็ไม่ควรเหมือนกัน. อยู่บริโภคน้ำที่เขานำมาให้.

ภิกษุทั้งหลายผู้ทำภัตกิจที่หอฉัน หรือเสนาสนะป่าก็ดี ใบไม้หรือ

ผลไม้ที่ควรกินเป็นกับแกล้มอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่มีคนหวงห้ามเกิดใน

ที่นั้น ถ้าพวกเธอจะให้คนทำงานบางอย่างนำมา ควรจะให้นำมาด้วย

อำนาจแห่งหัตถกรรมแล้วฉัน, แต่ไม่ควรใช้พวกภิกษุ หรือสามเณรผู้เป็น

อลัชชีให้ทำหัตถกรรม, ในเรื่องปุริสัตถกร (แรงงานคน) มีนัยเท่านี้ก่อน.

แต่การที่ภิกษุจะให้นำโคมาจากสถานที่แห่งคนผู้มีใช่ญาติ และมิใช่

ปวารณา ย่อมไม่ควร. เป็นทุกกฏแก่ภิกษุผู้ให้นำมา. จะขอโดยขาด

มูลค่าแม้จากสถานที่แห่งญาติและคนปวารณา ก็ไม่ควร. จะขอโดยนัย

ของขอยืม ควรทุกแห่ง. และพึงรักษาบำรุงโคที่ให้นำมาแล้วอย่างนี้

*อตฺถโยชนา ๑/๔๕๔ มจฺฉิกาติ มกฺขากา. มกฺขิกาติปิ อตฺถิ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 406

เสร็จแล้วพึงมอบให้เจ้าของรับมันคืนไป. ถ้าเท้าหรือเขาของมันแตกหัก

หรือเสียไป, ถ้าเจ้าของยอมรับมันคืนไป, การยินยอมรับนั่นอย่างนั้นเป็น

การดี, ถ้าเจ้าของไม่ยอมรับ. เป็นสินใช้. ถ้าหากเจ้าของกล่าวว่า พวก

ผมถวายท่านเลย ไม่ควรรับ. แต่เมื่อเจ้าของกล่าวว่า พวกผมถวายวัด

พึงกล่าวว่า พวกท่านจงบอกแก่บุคคลผู้ทำการวัด เพื่อประโยชน์แก่การ

เลี้ยงดูมัน. จะกล่าวกะพวกคนที่มิใช่ญาติ และไม่ได้ปวารณาว่า พวก

ท่านจงถวายเกวียน ดังนี้ก็ดี ไม่ควร. ย่อมเป็นวิญญัติแท้ คือต้อง

อาบัติทุกกฏ. แต่ในฐานแห่งญาติและคนปวารณา ควรอยู่. ของขอยืม

ก็ควร. ทำการงานเสร็จแล้วพึงคืนให้. ถ้ากงเป็นต้นแตกไป พึงกระทำ

ให้เหมือนเดิม แล้วให้คืน. เมื่อเสียหาย เป็นสินใช้. เมื่อเจ้าของกล่าวว่า

พวกผมถวายท่านเลย ธรรมดาว่าเครื่องไม้ควรจะรับไว้. ในมีด ขวาน

ผึ่ง จอบ และสิ่วก็ดี ในพฤกษชาติ มีเถาวัลย์เป็นต้นก็ดี ที่เจ้าของ

หวงแหน ก็มีนัยเหมือนกันนี้. ก็ในพวกพฤกษชาติมีเถาวัลย์เป็นต้น ที่

พอเป็นครุภัณฑ์ได้เท่านั้น จึงเป็นวิญญัติ ต่ำกว่านั้นหาเป็นไม่.

แต่ภิกษุจะให้นำเอาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ไม่มีคนหวงห้ามมา ควรอยู่.

เพราะว่า ในที่มีคนรักษาคุ้มครองเท่านั้น ท่านเรียกว่า วิญญัติ. วิญญัติ

นั้น ย่อมไม่ควรในปัจจัยทั้งสอง (คือ จีวรและบิณฑบาต) โดยประการ

ทุกอย่าง. แต่ในเสนาสนปัจจัย เพียงแต่ออกปากขอว่า ท่านจงนำมา

จงให้ เท่านั้น ไม่ควร. ปริกถา โอภาส และนิมิตตกรรม ควร.

บรรดาปริกถา โอภาส และนิมิตตกรรมนั้น คำพูดของภิกษุ

ผู้ต้องการโรงอุโบสถ หอฉัน หรือเสนาสนะอะไร ๆ อื่น โดยนัยเป็นต้น ว่า

การสร้างเสนาสนะเห็นปานนี้ ในโอกาสนี้ ควรหนอ หรือว่าชอบหนอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 407

หรือสมควรหนอ ดังนี้ ชื่อว่า ปริกถา. ภิกษุถามว่า อุบาสก ! พวก

ท่านอยู่ที่ไหน ? พวกอุบาสกตอบว่า ที่ปราสาท ขอรับ ! พูดต่อไปว่า

ก็ปราสาทไม่ควรแก่ภิกษุทั้งหลายหรือ อุบาสก ! คำพูดมีอาทิอย่างนี้

ชื่อว่า โอภาส. ก็การกระทำมีอาทิอย่างนี้ คือภิกษุเห็นพวกชาวบ้านแล้ว

ขึงเชือก ให้ตอกหลัก เมื่อพวกชาวบ้านถามว่า นี้ให้ทำอะไรกัน ขอรับ ?

ตอบว่า พวกอาตมาจะสร้างที่อยู่อาศัยที่นี้ ชื่อว่า นิมิตตกรรม. ส่วน

ในคิลานปัจจัย แม้วิญญติก็ควร จะป่วยกล่าวไปไยถึงปริกถาเป็นต้นเล่า.

คำว่า มนุสฺสา อุปทฺทุตา ยาจนาย อุปทฺทุตา วิญฺตฺติยา

มีความว่า พวกชาวบ้านถูกบีบคั้นด้วยการขอร้อง และด้วยการออกปาก

ขอนั้นของภิกษุเหล่านั้น.

บทว่า อุพฺภิชฺชนฺติปิ มีความว่า ย่อมได้รับความหวาดสะดุ้ง คือ

ไหว หวั่นไปว่า จักให้นำอะไรไปให้หนอ ?

บทว่า อุตฺตสนฺติปิ มีความว่า พบภิกษุเข้า ก็พลันสะดุ้งชะงัก

ไปเหมือนพบงูฉะนั้น.

บทว่า ปลายนฺติปิ มีความว่า ย่อมหนีไปเสียแต่ไกล โดยทางใด

ทางหนึ่ง.

สองบทว่า อญฺเนปิ คจฺฉนฺติ มีความว่า ละทางที่ภิกษุเดินไป

เสีย แล้วกลับเดินมุ่งไปทางซ้าย หรือทางขวา. ปิดประตูเสียบ้างก็มี.

[แก้อรรถศัพพ์ในเรี่องมณีกัณฐนาคราช]

สองบทว่า ภูตปุพฺพ ภิกฺขเว เป็นต้น มีความว่า พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ครั้นทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นด้วยประการฉะนี้ และตรัสธรรมี-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 408

กถาให้สมควรแก่เรื่องราวนั้นแล้ว เมื่อจะทรงทำโทษแห่งวิญญัติให้

ปรากฏชัดแม้อีก จึงทรงแสดง ๓ เรื่องนี้ โดยนัยเป็นต้นว่า ภูตปพฺพ

ภิกฺขเว ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มณิกณฺโ มีความว่า ได้ยินว่า

พญานาคนั้นประดับแก้วมณีมีค่ามาก ซึ่งอำนวยให้สิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง

ไว้ที่คอ เที่ยวไป ; เพราะฉะนั้น จึงปรากฎนามว่า มณิกัณฐนาคราช.

คำว่า อุปริมุทฺธนิ มหนฺต ผณ อฏฺาสิ มีความว่า ได้ยินว่า

บรรดาฤษีทั้ง ๒ นั้น ฤษีผู้น้องนั้น เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยเมตตา; เพราะ

เหตุนั้น พญานาคนั้นจึงขึ้นมาจากแม่น้ำ นิรมิตเพศเป็นเทวดานั่งในสำนัก

แห่งฤษีนั้น กล่าวสันโมทนียกถา ละเพศเทวดานั้นแล้ว กลับกลาย

เป็นเพศเดิมของตนนั้นแล วงล้อมฤษีนั้น เมื่อจะทำอาการเลื่อมใส จึง

แผ่พังพานใหญ่เบื้องบนศีรษะแห่งฤษีนั้น ดุจกั้นร่มไว้ยับยั้งอยู่ชั่วครู่หนึ่ง

แล้วจึงหลีกไป. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า ได้ยืน

แผ่พังพานใหญ่ไว้ ณ เบื้องบนศีรษะ ดังนี้.

ข้อว่า มณิมสฺส กณฺเ ปิลนฺธน มีความว่า ซึ่งแก้วมณีอัน

พญานาคนั้นประดับไว้ คือ สวมไว้ที่คอ.

สองบทว่า เอกมนฺต อฏฺาสิ มีความว่า พญานาคนั้นมาแล้ว

โดยเพศเทวดานั้น ชื่นชมอยู่กับดาบส ได้ยืนอยู่ ณ ประเทศหนึ่ง.

บทว่า มนฺนปาน ได้แก่ ข้าวและน้ำของเรา.

บทว่า วิปุล ได้แก่ มากมาย.

บทว่า อุฬาร ได้แก่ ประณีต.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 409

บทว่า อติยาจโกสิ ได้แก่ เป็นผู้ขอจัดเหลือเกิน. มีคำอธิบายว่า

ท่านเป็นคนขอซ้ำ ๆ ซาก ๆ.

บทว่า สุสู มีความว่า คนหนุ่ม คือ ผู้สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง

ได้แก่บุรุษที่ยังอยู่ในวัยหนุ่ม.

ศิลาดำ ท่านเรียกว่า หินลับ. ดาบที่เขาลับแล้วบนหินลับนั้น

ท่านเรียกว่า สักขรโธตะ. ดามที่ลับดีแล้วบนหินลับ มีอยู่ในมือของ

บุรุษนั้น; เพราะเหตุนั้น บุรุษนั้น จึงชื่อว่า ผู้ถือดาบซึ่งลับดีแล้ว

บนหินลัน, อธิบายว่า มีมือถือดาบซึ่งขัดและลับดีแล้วบนหิน. ท่าน

วอนขอแก้วกะเรา ทำให้เราหวาดเสียว เหมือนบุรุษมีดาบในมือนั้น

ทำให้คนอื่นหวาดเสียวฉะนั้น.

ข้อว่า เสล ม ยาจมาโน มีความว่า วอนขออยู่ซึ่งแก้วมณี.

ข้อว่า น ต ยาเจ มีความว่า ไม่ควรขอของนั้น.

ถามว่า ของสิ่งไหน ?

ตอบว่า ของที่ตนรู้ว่า เป็นที่รักของเขา.

ข้อว่า ยสฺส ปิย ชิคึเส มีความว่า คนพึงรู้ว่า สิ่งใดเป็นที่รัก

ของสัตว์นั้น (ไม่ควรขอของนั้น ).

ข้อว่า กิมงฺค ปน นนุสฺสภูตาน มีความว่า ในคำว่า

(การอ้อนวอนขอนั้น) ไม่เป็นที่พอใจของเหล่าสัตว์ที่เป็นมนุษย์ นี้ จะพึง

กล่าวทำไมเล่า ?

[แก้อรรถศัพท์ในเรื่องนกฝูงใหญ่เป็นต้น]

หลายบทว่า สกุณสงฺฆสฺส สทฺเทน อุพฺพาฬฺโห มีความว่า

ได้ยินว่า ฝูงนกนั้น ทำเสียงระเบ็งเซ็งแซ่ติดต่อกันไปจนตลอดปฐมยาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 410

และปัจฉิมยาม. ภิกษุนั้นเป็นผู้รำคาญด้วยเสียงนกนั้น จึงได้ไปยังสำนัก

ของพระผู้มีพระภาคเจ้า. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า

เข้ามาหาเราถึงที่อยู่.

ในคำว่า กุโต จ ตฺว ภิกฺขุ อาคจฺฉสิ นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:-

ภิกษุนั้นนั่งอยู่แล้ว (ในสำนักแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้านี้ ) มิใช่พึงมา, แต่

การที่จะกล่าวอย่างนี้ในอดีตกาลใกล้ปัจจุบันกาลยอมมีได้. ด้วยเหตุนั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ! ก็เธอมาจากไหนเล่า ?

อธิบายว่า เธอเป็นผู้มาแล้วแต่ที่ไหน ?

แม้ในคำว่า ตโต อห ภควา อาคจฺฉามิ นี้ ก็มีนัยอย่างนั้น

เหมือนกัน.

บทว่า อุพฺพาฬฺโห มีความว่า เป็นผู้ถูกเสียงรบกวน คือ ก่อให้

เกิดความรำคาญ.

ในคำว่า โส สกุณสงฺโฆ ภิกขุ ปตฺต ยาจติ นี้ มีวินิจฉัย ดังนี้:-

ฝูงนกย่อมไม่รู้คำพูดของภิกษุ. แต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงกระทำให้

มันรู้โดยอานุภาพของพระองค์.

คำว่า อปาห เต น ชานามิ มีความว่า เออ เราก็ไม่รู้จักชน

เหล่านั้นว่า ชนเหล่านี้ เป็นคนพวกไหน หรือว่า ชนพวกนี้เป็นคน

ของใคร.

สองบทว่า สงฺคมฺม ยาจนฺติ มีความว่า ชนเหล่านั้นพากันมา คือ

รวมกันเป็นพวก ๆ อ้อนวอนขออยู่.

คำว่า ยาจโก อปฺปิโย โหติ มีความว่า บุคคลผู้ขอย่อมไม่เป็นที่รัก

(ของผู้ถูกขอ).

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 411

คำว่า ยาจ อททมปฺปิโย มีความว่า สิ่งที่คนอื่นขอ ท่านเรียกว่า

ยาจัง แม้ผู้ไม่ให้ซึ่งประโยชน์ที่เขาขอ ย่อมไม่เป็นที่รัก (ของคนผู้ขอ).

อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ยาจ ได้แก่ ของบุคคลผู้ขออยู่.

คำว่า อททมปฺปิโย มีความว่า ผู้ไม่ให้ (แก่ผู้ขอ) ย่อมไม่เป็น

ที่รัก (ของผู้ขอ).

คำว่า มา เม วิทฺเทสนา อหุ มีความว่า ความเป็นผู้ไม่เป็น

ที่รัก อย่าได้มีแล้วแก่ข้าพเจ้า, อธิบายว่า ข้าพเจ้าอย่าได้เป็นที่เกลียดชัง

คือ ไม่เป็นที่รักของท่าน หรือว่าท่านอย่าได้เป็นที่เกลียดชัง คือไม่เป็น

ที่รักของข้าพเจ้า.

บทว่า ทุสฺสหรานิ มีความว่า รวบรวมมาได้โดยยาก ด้วยอุบาย

ทั้งหลาย มีกสิกรรมและโครักขกรรมเป็นต้น. การอ้อนวอนขอที่ภิกษุให้

เป็นไปเอง ท่านเรียกว่า สังยาจิกา ในคำว่า สยาจิกาย ปน ภิกฺขุนา

นี้. เพราะเหตุนั้น บทว่า สยาจิกา จึงมีรูปความที่ท่านกล่าวไว้ว่า ด้วย

การวิงวอนขอของตน. อธิบายว่า ด้วยอุปกรณ์ทั้งหลายที่ตนขอมาเอง.

ก็เพราะว่า กุฎีนั้นเป็นอันภิกษุทำอยู่ด้วยเครื่องอุปกรณ์ที่ตนขอมาเอง คือ

ขอเอามากระทำเอง; ฉะนั้น เพื่อแสดงบรรยายแห่งอรรถนั้น ท่านจึงกล่าว

บทภาชนะแห่งบทว่า สยาจิกาย นั้นอย่างนี้ว่า ขอเองซึ่งคนบ้าง เป็นต้น .

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์ ว่าด้วยการโบกฉาบกุฎี]

บทว่า อุลฺลิตฺตา ได้แก่ โบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายใน.

บทว่า อวลิตฺตา ได้แก่ โบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายนอก.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 412

บทว่า อลฺลิตฺตาวลิตตา มีคำอธิบายว่า โบกฉาบปูนไว้ทั้งภายใน

ทั้งภายนอก.

ในบทภาชนะแห่งบทว่า การยมาเนน นี้ คำเพียงว่า การาเปนฺเตน

นี้เท่านั้น เป็นคำที่ท่านพระอุบาลีกล่าวไว้ เพราะว่าเมื่อมีคำอย่างนี้

พยัญชนะย่อมเสมอกัน. แต่เพราะเหตุที่ภิกษุแม้ให้สร้างกุฎีด้วยอาการ

ขอเอาเอง พึงปฏิบัติโดยนัยดังกล่าวแล้ว ในสิกขาบทนี้นั่นแล, ฉะนั้น

เพื่อแสดงอรรถนี้ว่า ภิกษุผู้สร้างเองก็ตามให้ผู้อื่นสร้างก็ตาม ทั้งสอง

พวกนี้สงเคราะห์ด้วยบทว่า การยมาเนน นี้แล จึงกล่าวว่า กโรนฺโต

วา การาเปนฺโต วา ดังนี้เป็นต้น. ก็ถ้าว่าท่านพระอุบาลีจะพึงกล่าวว่า

กโรนฺเตน วา การาเปนฺเตน วา พยัญชนะจะต้องผิดไป. เพราะว่า

ภิกษุใช้ให้เขาทำ จะชื่อว่าเป็นผู้ทำเองไม่ได้. เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า

ในบทภาชนะนี้พระอุบาลีแสดงแต่เพียงใจความเท่านั้น .

บทว่า อตฺตุทฺเทส มีความว่า คนเป็นที่เจาะจงแห่งกุฎีนั้นอย่างนี้ว่า

กุฎีนี้ของเรา เพราะฉะนั้น กุฎีนั้นจึงชื่อว่าเฉพาะตนเอง. ซึ่งกุฎีเฉพาะ

ตนเองนั้น. ก็เพราะกุฎีมีตนเป็นที่เจาะจงนั้น ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่ตน;

ฉะนั้น ท่านพระอุบาลีเมื่อจะแสดงบรรยายแห่งอรรถนั้น จึงกล่าวว่า

บทว่า อตฺตุตฺเทส คือ เพื่อประโยชน์แก่ตน.

สองบทว่า ปมาณิกา กาเรตพฺพา คือ พึงสร้างให้ได้ประมาณ.

สองบทว่า ตตฺรีท ปมาณ คือ นี้ ประมาณแห่งกุฎีนั้น.

บทว่า สุคติวิทตฺถิยา มีความว่า ที่มีชื่อว่า คืบพระสุคตคือ ๓ คืบ

ของบุรุษกลางคนในปัจจุบันนี้ เท่ากับศอกคืบ โดยศอกช่างไม้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 413

สองบทว่า พาหิริเมน มาเนน ได้แก่ ๑๒ คืบ โดยวัดนอกฝาผนัง

แห่งกุฎี. แต่เมื่อจะวัด ไม่พึงกำหนดเอาที่สุดก้อนดินเหนียวใหญ่ที่ตนให้

ไว้แต่แรกเขาหมด. พึงวัดโดยที่สุดก้อนดินผสมแกลบ (ก้อนอิฐ). การ

ฉาบทาปูนขาวข้างบนแห่งก้อนดินผสมแกลบ เป็นอัพโพหาริก. ถ้าภิกษุ

ไม่มีความต้องการด้วยก้อนดินผสมแกลบ สร้างให้เสร็จด้วยก้อนดินเหนียว

ใหญ่เท่านั้น, ดินเหนียวใหญ่นั่นแล เป็นเขตกำหนด.

บทว่า ติริย แปลว่า โดยส่วนกว้าง.

บทว่า สตฺต แปลว่า ๗ คืบพระสุคต.

บทว่า อนฺตรา นี้ มีนิเทศดังนี้:- คือ โดยการวัดอันมีในร่วม

ใน มีอธิบายว่า เมื่อไม่ถือเอาที่สุดด้านนอกฝา วัดเอาที่สุด โดยการวัด

ทางริมด้านใน ได้ประมาณด้านกว้าง ๗ คืบพระสุคต.

ส่วนภิกษุใดอ้างเลศว่า เราจักทำให้ได้ประมาณตามที่ตรัสไว้จริง ๆ

แต่พึงทำประมาณด้านยาว ๑๑ คืบ ด้านกว้าง ๘ คืบ หรือด้านยาว ๑๓ คืบ

ด้านกว้าง ๖ คืบ. การทำนั้นไม่สมควรแก่ภิกษุนั้น. จริงอยู่ ประมาณ

แม้ที่เกินไปทางด้านเดียว ก็จัดว่าเกินไปเหมือนกัน. คืบจงยกไว้ จะลด

ด้านยาวเพิ่มด้านกว้าง หรือลดด้านกว้างเพิ่มด้านยาว แม้เพียงปลายเส้นผม

เดียว ก็ไม่ควร. จะป่วยกล่าวไปไยในการขยายเพิ่มทั้งสองด้านเล่า.

สมจริงดังคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ภิกษุสร้างเองก็ดี ให้

ผู้อื่นสร้างก็ดี (ซึ่งกุฎี)ให้ล่วงประมาณไปทางด้านยาว หรือด้านกว้าง โดย

ที่สุดแม้เพียงปลายเส้นผมเดียว เป็นทุกกฏทุก ๆ ประโยค ดังนี้เป็นต้น.

ก็กุฎีมีประมาณตามที่กล่าวไว้เท่านั้น จึงสมควร.

ส่วนกุฎีใด ด้านยาวมีประมาณถึง ๖๐ ศอก ด้านกว้างมีประมาณ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 414

๓ ศอก หรือหย่อน ๓ ศอก เป็นที่ซึ่งเตียงที่ได้ขนาดหมุนไปข้างโน้น

ข้างนี้ไม่ได้, กุฎีนี้ไม่ถึงการนับว่า กุฎี. เพราะฉะนั้น กุฎีแม้นี้ ก็สมควร;

แต่ในมหาปัจจรีท่านกล่าวกุฎีกว้าง ๔ ศอกไว้โดยกำหนดอย่างต่ำ. ต่ำกว่า

กุฎีกว้าง ๔ ศอกนั้น ไม่จัดว่าเป็นกุฎี; ก็กุฎีถึงได้ประมาณ แต่สงฆ์ยัง

ไม่ได้แสดงที่ให้ก็ดี มีผู้จองไว้ก็ดี ไม่มีชานเดินโดยรอบก็ดี ไม่ควร.

กุฎีได้ประมาณ สงฆ์แสดงที่ให้แล้ว ไม่มีผู้จองไว้ มีชานเดินได้รอบ

จึงควร.

ภิกษุเมื่อจะสร้างกุฎีต่ำกว่าประมาณก็ดี กุฎีมีประมาณ ๔-๕ ศอกก็ดี

พึงสร้างให้เป็นกุฎีมีที่อันสงฆ์แสดงให้แล้วเท่านั้น. ก็แลเมื่อภิกษุทำให้

ล่วงประมาณไป ต้องครุกาบัติ ในเวลาฉาบเสร็จ. ในอธิการแห่งการ

สร้างกุฎีให้ล่วงประมาณนั้น ผู้ศึกษาพึงทราบการฉาบ การไม่ฉาบ

โอกาสควรฉาบ และโอกาสไม่ควรฉาบ.

คือ อย่างไร ? คือ ที่ชื่อว่าการฉาบนั้น ได้แก่การฉาบ ๒ อย่าง

คือ การฉาบด้วยดินเหนียว ๑ การฉาบด้วยปูนขาว ๑ ก็ยกเว้นการฉาบ

๒ อย่างนี้เสีย การฉาบที่เหลือ มีชนิดฉาบด้วยเถ้าและโคมัยเป็นต้น

ไม่จัดเป็นการฉาบ. ถ้าแม้นมีการฉาบด้วยโคลน ก็ไม่จัดเป็นการฉาบ

เหมือนกัน.

ที่ชื่อว่า โอกาสควรฉาบนั้น ได้แก่จำพวกฝาผนัง และหลังคา.

ก็โอกาสไม่ควรฉาบที่เหลือ ยกเว้นฝาและหลังคาเสีย มีเสา คาน บาน-

ประตู หน้าต่าง และปล่องควันเป็นต้น แม้ทั้งหมด พึงทราบว่า โอกาส

ไม่ควรฉาบ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 415

[ว่าด้วยพื้นที่ควรสร้างกุฏีและไม่ควรสร้าง]

ข้อว่า ภิกฺขู อภิเนตพฺพา วตฺถุเทสนาย มีความว่า อันภิกษุ

ผู้จะสร้าง พึงนำภิกษุทั้งหลายไป เพื่อประโยชน์แก่การแสดงที่ให้ในที่

ซึ่งตนต้องการจะให้สร้างกุฏี.

ก็คำว่า เตน กุฏีการเกน เป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้

เพื่อทรงแสดงวิธีที่จะพึงนำภิกษุเหล่านั้นไปเพื่อแสดงที่สร้าง.

บรรดาบทเหล่านั้นด้วยคำว่า กุฏีวตฺถุ โสเธตฺวา พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงแสดงว่า ภิกษุผู้สร้างกุฎี อย่าพึงนำภิกษุทั้งหลายไปสู่ป่ามีพื้น

ที่ไม่เสมอ พึงให้ชำระที่สร้างกุฎีก่อน ปราบพื้นที่ให้เรียบเสมอเช่นกับ

มณฑลสีมาแล้ว ภายหลังเข้าไปหาสงฆ์ขอแล้วจึงพาไป.

สองบทว่า เอวมสฺส วจนีโย มีความว่า สงฆ์ควรเป็นผู้อันภิกษุ

นั้นพึงบอกอย่างนี้,. แต่ข้างหน้า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึงภิกษุ

หลายรูป ตรัสพหุวจนะว่า ทุติยมฺปิ ยาจิตพฺพา.

คำว่า สเจ สพฺโพ สงฺโฆ น อุสฺสหติ มีความว่า ถ้าสงฆ์

ทั้งปวงไม่ปรารถนา คือ ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ขวนขวายในกิจ มีการ

สาธยายและมนสิการเป็นต้น.

สองบทว่า สารมฺภ อนารมฺภ ได้แก่ มีเหตุขัดข้อง ไม่มีเหตุ

ขัดข้อง.

สองบทว่า สปริกฺกมน อปริกฺกมน ได้แก่ มีชานรอบ ไม่มี

ชานรอบ.

บทว่า ปตฺตกลฺล มีความว่า เวลาแห่งการตรวจดูนี้ถึงแล้ว; เพราะ

เหตุนั้น จึงชื่อว่ามีกาลถึงแล้ว. ปัตตกาลนั้นแล ข้อว่า ปัตตกัลลัง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 416

ก็แลอปโลกนกรรมนี้ ถึงจะอปโลกน์ทำ โดยนัยแห่งการสวดประกาศ

สมมติกรรม เพื่อต้องการตรวจดูพื้นที่ ก็ควร. แต่ต่อไปข้างหน้ากรรม

ที่ทำในการแสดงพื้นที่ ควรทำด้วยญัตติ และอนุสาวนาตามที่กล่าวแล้ว

เท่านั้น. จะอปโลกน์ทำไม่ควร.

บทว่า กิปิลิกาน มีความว่า แห่งมดทั้งหลาย มีชนิดเป็นมดแดง

มดดำและมดเหลืองเป็นต้น ชนิดใดชนิดหนึ่ง. ปาฐะว่า กปีลกาน ก็มี.

บทว่า อาสโย แปลว่า สถานที่อยู่ประจำ. และพึงทราบที่อาศัย

คือ ที่อยู่ประจำแม้ของพวกสัตว์เล็ก มีตัวปลวกเป็นต้น เหมือนของ

พวกมดฉะนั้น, แต่พวกสัตว์เล็ก มีมดแดงเป็นต้นนั้น มาเพื่อต้องการ

หาเหยื่อในที่ใดแล้วไป, ประเทศที่สัญจรเช่นนั้น แม้ของสัตว์ทุก

จำพวก ท่านไม่ห้าม. เพราะฉะนั้น การถางต้นไม้เป็นต้นในโอกาสนั้น

ออกปราบให้เตียนแล้วสร้าง ควรอยู่. ที่ ๖ สถานเหล่านี้ พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าห้ามไว้ก่อน เพราะความเอ็นดูสัตว์.

บทว่า หตฺถีน วา มีความว่า สถานที่อยู่ประจำก็ดี สถานที่

หากินประจำก็ดี ของช้างโขลง ย่อมไม่สมควร. ที่อาศัยของสัตว์ร้าย

มีสีหะเป็นต้นก็ดี ทางเดินประจำของพวกสัตว์ร้ายมีสีหะเป็นต้น ที่หลีก

ไปหาเหยื่อก็ดี ไม่สมควร. แต่ท่านมิได้หมายเอาพื้นที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง

สัตว์ร้ายเหล่านั่น.

สองบทว่า เยส เกสญฺจิ มีความว่า แห่งสัตว์ดิรัจฉานที่ดุร้าย

แม้จำพวกอื่น. ที่ ๗ สถานเหล่านี้ เป็นที่มีภัยเฉพาะหน้า ทรงห้ามไว้

เพื่อประโยชน์แก่ความปลอดจากอันตรายแห่งภิกษุทั้งหลาย. สถานที่เหลือ

เป็นสถานที่มีเหตุขัดข้องด้วยเหตุขัดข้องต่าง ๆ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 417

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุพฺพนฺนนิสฺสิต มีความว่า อันอาศัย

นาบุพพัณชาติ คือตั้งอยู่ใกล้เคียงนาเพราะปลูกธัญชาติ ๗ ชนิด. แม้

ในบทว่า อปรนฺนนิสฺสิต เป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. แต่ในบทว่า

อปรนฺนนิสฺสิต เป็นต้นนี้ ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาทั้งหลายมีกุรุนที

เป็นต้นว่า ที่ชื่อว่า ตะแลงแกง นั้น ได้แก่เรือนของเจ้าพนักงาน คือ

เรือนของคนมีเวร ที่เขาสร้างไว้ เพื่อใช้เป็นที่ฆ่าพวกโจร.

พื้นที่ลงอาชญาคนผิด มีการตัดมือและเท้าเป็นต้น เรียกว่า ที่

ทรมานนักโทษ. ป่าช้าใหญ่ ท่านเรียกว่า สุสาน. ทางที่คนจะต้องเดิน

ผ่านไป คือ ทางไปมา ท่านเรียกว่า ทางสัญจร. บทที่เหลือชัดเจน

ทั้งนั้น.

[ว่าด้วยลักษณะการสร้างกุฎี]

ข้อว่า น สกฺกา โหติ ยถายุตฺเตน สกเฏน มีความว่า เป็น

ที่อันเกวียนซึ่งเทียมด้วยโคถึก ๒ ตัว ไม่อาจจะจอดล้อข้างหนึ่งไว้ในที่น้ำ

ตกจากชายคา ล้อข้างหนึ่งไว้ข้างนอกแล้วเวียนไปได้. แต่ในกุรุนทีกล่าว

ว่า เทียมด้วยโคถึก ๔ ตัว ก็ดี.

หลายบทว่า สมนฺตา นิสฺเสณิยา อนุปริคนฺตุ มีความว่า เป็น

ที่ซึ่งคนทั้งหลายผู้ยืนมุงเรือนอยู่ที่บันได หรือพะอง ไม่อาจเวียนไปโดย

รอบด้วยบันได หรือพะองได้, ในที่มีผู้จองไว้และไม่มีชานรอบ เห็นปานนี้

ดังกล่าวมาฉะนี้ ไม่ควรให้สร้างกุฎี. แค่ควรให้สร้างในที่ไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 418

สองบท (ว่า อนารมฺภ สปริกฺกมน) นั้น มาแล้วในพระบาลี

นั่นแล โดยปฏิปักขนัยแห่งคำกล่าวแล้ว. คำเป็นต้นอย่างนี้ว่า สยาจิกา

นาม พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสซ้ำเพื่อประกาศเนื้อความแห่งคำว่า สยาจิกา

เป็นต้น ที่ตรัสไวอย่างนี้ว่า ถ้าภิกษุสร้างกุฎีด้วยอาการขอมาเอง ในพื้น

ที่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ.

สองบทว่า ปโยเค ทุกฺกฏ มีความว่า ภิกษุดำริว่า เราจักให้

สร้างกุฎีที่สงฆ์ไม่แสดงที่ให้ หรือให้ล่วงประมาณ โดยนัยดังตรัสไว้ในบาลี

อย่างนี้ แล้วลับมีด หรือขวานเพื่อต้องการนำไม้มาจากป่า เป็นทุกกฏ.

เข้าสู่ป่า เป็นทุกกฏ. ตัดหญ้าสดในป่านั้น เป็นปาจิตตีย์พร้อมด้วยทุกกฏ.

ตัดหญ้าแห้ง เป็นทุกกฏ. แม้ในต้นไม้ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน .

ประโยคตั้งแต่ต้นอย่างนี้ คือ ภิกษุถางพื้นที่, ขุด โกยดิน วัด

เป็นต้นไป จนถึงปักผัง (ผูกแผนผัง) ชื่อว่า บุพประโยค. ในบุพ-

ประโยคนี้ ทุก ๆ แห่ง ในฐานะแห่งปาจิตตีย์ เป็นปาจิตตีย์กับทุกกฏ

ในฐานะแห่งทุกกฏ เป็นเพียงทุกกฏ. จำเดิมแต่ปักผังนั้นไป ชื่อว่า

สหประโยค.

ในสหประโยคนั้น มีวินิจฉัยดังนี้ :- ในกุฎีที่พึงสร้างด้วยเสาหลาย

ต้น ภิกษุให้ยกเสาต้นแรกในกุฎีนั้น เป็นทุกกฏ. ในกุฎีที่พึงก่อด้วยอิฐ

หลายก้อน ภิกษุก่ออิฐก้อนแรก เป็นทุกกฏ. ภิกษุประกอบเครื่อง

อุปกรณ์ใด ๆ เข้าด้วยอุบายยอย่านี้. เป็นทุกกฏ ทุกประโยคแห่งการ

ประกอบเครื่องอุปกรณ์นั้น . เมื่อถากไม้ เป็นทุกกฏทุก ๆ ครั้งที่ยกมือ,

เมื่อไปเพื่อต้องการถากไม้นั้นเป็นทุกกฏทุก ๆ ย่างเท้า.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 419

ก็เมื่อภิกษุคิดว่า เราจักฉาบกุฎีฝาผนังไม้ หรือฝาผนังศิลา หรือ

ฝาผนังอิฐ ชั้นที่สุดแม้บรรณศาลา พร้อมทั้งฝาและหลังคาที่สร้างแล้ว

อย่างนี้ แล้วฉาบด้วยปูนขาว หรือดินเหนียวเป็นทุกกฏทุก ๆ ประโยค,

เป็นทุกกฏ ตลอดเวลาที่ยังไม่เป็นถุลลัจจัย. แต่ทุกกฏนี้ ขยายเพิ่มขึ้น

ด้วยการฉาบมากครั้งเหมือนกัน. ไม่เป็นอาบัติ ในเพราะการระบายสีขาว

และสีแดงหรือในเพราะจิตรกรรม.

ข้อว่า เอก ปิณฺฑ อนาคเต มีความว่า ในเมื่อการสร้างกุฎี

ยิ่งไม่ทันถึงก้อนปูนฉาบก้อนหนึ่ง ซึ่งเป็นก้อนหลังสุดแห่งเขาทั้งหมด

มีคำอธิบายว่า ในขณะที่ควรกล่าวได้ว่า กุฎีจักถึงความสำเร็จด้วย ๒ ก้อน

ในบัดนี้ ในบรรดา ๒ ก้อนนั้น เป็นถุลลัจจัยในการใส่ก้อนแรก.

ข้อว่า ตสฺมึ ปิณฺเฑ อาคเต มีความว่า ในเมื่อกุฎีกรรมยัง

ไม่ถึงก้อนหนึ่งอันใด เป็นถุลลัจจัย, เมื่อก้อนนั้นอันเป็นก้อนสุดท้าย

มาถึงแล้ว คือ อันภิกษุใส่แล้ว วางลงแล้ว ต้องสังฆาทิเสส เพราะการ

ฉาบเชื่อมกันแล้ว. และอันภิกษุผู้ฉาบอย่างนี้ เมื่อเชื่อมการฉาบด้านใน

ด้วยการฉาบด้านใน ทำให้ฝาและหลังคาเนื่องเป็นอันเดียวกัน หรือเมื่อ

เชื่อมการฉาบด้านนอกด้วยการฉาบด้านนอกแล้ว จึงเป็นสังฆาทิเสส

ก็ถ้าภิกษุยังไม่ตั้งทวารพันธ์ (กรอบประตู) หรือหน้าต่างเลย ฉาบ

ด้วยดินเหนียว, และเมื่อตั้งกรอบประตูและหน้าต่างนั้นแล้วจะขยายโอกาส

แห่งกรอบประตูและหน้าต่างนั้นใหม่ หรือไม่ขยายก็ตาม การฉาบยังไม่

เชื่อมกัน ยังรักษาอยู่ก่อน. แต่เมื่อฉาบใหม่พอเชื่อมกันก็เป็นสังฆา-

ทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 420

ถ้ากรอบประตูและหน้าต่างนั้น ที่ภิกษุติดตั้งไว้ ตั้งอยู่ติดต่อกัน

กับด้วยการฉาบที่ให้ไว้แต่แรกทีเดียว, เป็นสังฆาทิเสสตั้งแต่แรกเหมือน

กัน. เพื่อป้องกันปลวก จะฉาบฝาผนัง ไม่ให้ถึงหลังคาประมาณ ๘ นิ้ว

ไม่เป็นอาบัติ. เพื่อป้องกันปลวกเหมือนกัน จะทำฝาผนังหินภายใต้ ไม่

ฉาบฝานั้น ฉาบในเบื้องบน, การฉาบชื่อว่ายังไม่เชื่อมต่อกัน, ไม่เป็น

อาบัติเหมือนกัน.

ภิกษุทำหน้าต่างและปล่องไฟด้วยอิฐล้วน ในกุฎีฝาผนังอิฐ เป็น

อาบัติโดยเชื่อมด้วยการฉาบทีเดียว. ภิกษุฉาบบรรณศาลา, เป็นอาบัติ

โดยเชื่อมด้วยการฉาบเหมือนกัน, เพื่อต้องการแสงสว่างในบรรณศาลานั้น

จึงฉาบเว้นที่ไว้ประมาณ ๘ นิ้ว, การฉาบชื่อว่ายังไม่เชื่อมต่อกัน, ยังไม่

เป็นอาบัติเหมือนกัน.

ถ้าภิกษุทำในใจว่า เราได้หน้าต่างแล้ว จักตั้งตรงนี้ แล้วจึงทำ,

เมื่อติดตั้งหน้าต่างเสร็จแล้ว เป็นอาบัติโดยเชื่อมด้วยการฉาบ. ถ้าภิกษุ

ทำฝาผนังด้วยดินเหนียว, เป็นอาบัติในเพราะการเชื่อมกันกับด้วยการฉาบ

หลังคา. รูปหนึ่งพักให้เหลือไว้ก้อนหนึ่ง. อีกรูปอื่นเห็นหนึ่งก้อนที่ไม่ได้

ฉาบนั้น ทำในใจว่า นี้เป็นทุกกฏ จึงฉาบเสียด้วยมุ่งวัตร ไม่เป็นอาบัติ

ทั้งสองรูป.

[แก้อรรถนี้บทภาชนีย์ว่าด้วยจตุกกะทำให้เป็นอาบัติต่าง ๆ]

๓๖ จตุกกะมีอาทิอย่างนี้ว่า ภิกขุ กุฏี กโรติ พระผู้มีพระภาคเจ้า

ตรัสไว้ เพื่อทรงแสดงชนิดแห่งอาบัติ. ใน ๓๖ จตุกกะนั้น พึงทราบ

อาบัติที่คละกันด้วยอำนาจแห่งทุกกฏและสังฆาทิเสสเหล่านี้ คือทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 421

เพราะมีผู้จองไว้, ทุกกฏ เพราะไม่มีชานรอบ, สังฆาทิเสส เพราะทำ

ล่วงประมาณ, สังฆาทิเสส เพราะสงฆ์ไม่ได้แสดงที่สร้างให้.

ก็ในคำเป็นต้นว่า อาปตฺติ ทฺวินฺน สงฺฆาทิเสสาน ทฺวินฺน ทุกฺก-

ฏาน บัณฑิตพึงทราบใจความโดยนัยเป็นต้นว่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

พร้อมด้วยสังฆาทิเสส ๒ ตัว

ก็ในคำเป็นต้นว่า โส เจ วิปฺปกเต อาคจฺฉติ มีอรรถวินิจฉัย

ดังต่อไปนี้:-

บทว่า โส ได้แก่ ภิกษุผู้สั่งแล้วหลีกไปเสีย.

บทว่า วิปฺปกเต ได้แก่ เมื่อการสร้างกุฎียังไม่เสร็จ.

สองบทว่า อญฺสฺส วา ทาตพฺพา มีความว่า พึงสละให้แก่บุคคล

อื่น หรือแก่สงฆ์.

สองบทว่า ภินฺทิตวา วา ปุน กาตพฺพา มีความว่า กุฎีจัดว่าเป็น

อันรื้อแล้ว ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร ? ถ้าเสาฝังลงที่พื้นดิน พึงถอนขึ้น.

ถ้าตั้งไว้บนหิน พึงนำออกเสีย. พึงรื้อผนังแห่งกุฎีที่ก่ออิฐออกเสีย จน

ถึงอิฐมงคล (ศิลาฤกษ์). โดยสังเขป กุฎีที่ถูกพังลงให้เรียบเสมอพื้น

ย่อมจัดว่าเป็นอันรื้อแล้ว เหนือพื้นดินขึ้นไป เมื่อยังมีฝาผนังเหลืออยู่

แม้ประมาณ ๔ นิ้ว กุฎีจัดว่ายังไม่ได้รื้อเลย คำที่เหลือในทุก ๆ จตุกกะ

ปรากฏชัดแล้วทั้งนั้น แท้จริง ในจตุกกะทั้งปวงนี้ ไม่มีคำอะไรอื่นที่จะ

พึงรู้ได้ยาก ตามแนวแห่งพระบาลีเลย.

ก็ในคำว่า อตฺตนา วิปฺปกต เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- ที่ชื่อว่า

ยังกุฎีที่ตนริเริ่มไว้ให้สำเร็จลงด้วยตนเอง คือ เมื่อภิกษุใส่ก้อนสุดท้าย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 422

เข้าในกุฎีที่คนมีความประสงค์จะให้ถึงความเป็นของสร้างแล้วเสร็จด้วยดิน-

เหนียวจำนวนมาก หรือด้วยดินเหนียวผสมแกลบ ชื่อว่าให้สำเร็จลง.

สองบทว่า ปเรหิ ปริโยสาเปติ มีความว่า ใช้คนเหล่าอื่นทาให้

สำเร็จ เพื่อประโยชน์แก่ตน

ในคำนี้ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ว่า ก็กุฎีอันตนเอง หรืออันคน

เหล่าอื่น หรือว่าทั้งสองฝ่าย ทำค้างไว้ก็ตามที, ก็แล ภิกษุยังกุฎีนั้นให้

สำเร็จด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้คนอื่นทำให้สำเร็จก็ดี ใช้คนที่รวมเป็นคู่ คือ

ตนเองและคนเหล่าอื่นสร้างให้สำเร็จก็ดี เพื่อประโยชน์แก่ตน เป็นสังฆา-

ทิเสสทั้งนั้น.

แต่ในกุรุนที ท่านกล่าวว่า ภิกษุ ๒-๓ รูป รวมกันทำกล่าวว่า

พวกเราจักอยู่, ยังรักษาอยู่ก่อน, ยังไม่เป็นอาบัติ เพราะยังไม่แจกกัน,

แจกกันว่า ที่นี่ของท่าน แล้วช่วยกันทำ, เป็นอาบัติ, สามเณรกับภิกษุ

ร่วมกันทำ, ยังรักษาอยู่ตลอดเวลาที่ยังไม่ได้แบ่งกัน, แจกกันโดยนัยก่อน

แล้วช่วยกันทำ เป็นอาบัติแก่ภิกษุ ดังนี้.

[อนาปัตติวารวรรณนา]

ในคำว่า อนาปตฺติ เลเณ เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- ไม่เป็นอาบัติ

แก่ภิกษุผู้กระทำถ้ำแม้ให้ใหญ่ เพราะการฉาบในถ้ำนี้ไม่เชื่อมต่อกัน.

สำหรับภิกษุผู้กระทำแม้คูหา คือ คูหาก่ออิฐก็ดี คูหาศิลาก็ดี คูหาไม้ก็ดี

คูหาดินก็ดี แม้ให้ใหญ่ก็ไม่เป็นอาบัติ.

บทว่า ติณกุฎีกาโย มีความว่า ปราสาทแม้มีพื้น ๗ ชั้น แต่

หลังคามุงด้วยหญ้าและใบไม้ ท่านก็เรียกว่า กุฎีหญ้า. แต่ในอรรถกถา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 423

ทั้งหลาย ท่านเรียกกุฎีที่เขาทำหลังคาให้ประสานกันดุจตาข่าย ด้วยไม้

ระแนงทั้งหลายย แล้วมุงด้วยพวกหญ้าหรือใบไม้นั้นแลว่า เรือนเล้าไก่

ไม่เป็นอาบัติในเพราะกุฎีที่เขามุงแล้วนั่น. จะกระทำเรือนหลังคามุงหญ้า

แม้ให้ใหญ่ ก็ควร เพราะว่าภาวะมีการโบกฉาบปูนภายในเป็นต้นเป็น

ลักษณะแห่งกุฎี. และภาวะมีโบกฉาบปูนภายในเป็นต้นนั้น บัณฑิตพึง

ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายถึงหลังคาเท่านั้น.

ก็คำว่า หญ้าและใบไม้แห่งโรงจงกรมพังลง... ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย !

เราอนุญาตเพื่อกำหนดทำการโบกฉาบปูนทั้งภายในและภายนอก เป็นต้น

เป็นเครื่องสาธกในกุฎีหญ้านี้. เพราะฉะนั้น เรือนหลังใด มีปีกสองข้าง

หรือติดยอด กลม หรือ ๔ เหลี่ยมจตุรัสเป็นของที่เขาสร้างโดยสังเขปว่า

นี้เป็นหลังคาของเรือนหลังนี้ เมื่อการฉาบเชื่อมติดต่อกันกับด้วยการฉาบ

ฝาผนังของเรือนหลังนั้นแล้ว เป็นอาบต. ก็ถ้าว่าภิกษุทั้งหลายมุงด้วย

หญ้าข้างบน เพื่อรักษาเครื่องฉาบของเรือนที่มีหลังคาโบกฉาบปูนไว้ทั้ง

ภายในและภายนอก ไม่ชื่อว่าเป็นกุฎีหญ้า ด้วยอาการเพียงเท่านี้.

ถามว่า ก็ในกุฎีหญ้านี้ ไม่เป็นอาบัติ เพราะสงฆ์ไม่ได้แสดงที่ให้

และทำล่วงประมาณเป็นปัจจัยเท่านั้น หรือว่า แม้เพราะมีผู้จองไว้และ

ไม่มีชานรอบเป็นปัจจัยเล่า ?

ตอบว่า ไม่เป็นอาบัติ แม้ในทุก ๆ กรณี.

จริงอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึงกุฎีเช่นนี้ จึงตรัสไว้

ในคัมภีร์ปริวารว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 424

ภิกษุสร้างกุฎี ซึ่งสงฆ์ไม่แสดงที่ให้ ล่วงประมาณ มีผู้

จองไว้ ไม่มีชานรอบด้วยการขอเอาเอง ไม่เป็นอาบัติ ปัญหานี้

ท่านผู้ฉลาดทั้งหลาย คิดกันแล้ว.

ส่วนคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในบาลีมีอาทิว่า ภิกษุผู้สร้าง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๓ ตัว ดังนี้ ตรัสเพราะการไม่สร้างตามที่สั่งไว้เป็นปัจจัย.

สองบทว่า อญฺสฺสตฺถาย มีความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้สร้าง.

กุฎี แม้ไม่ถูกลักษณะของกุฎี เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น คืออุปัชฌาย์ก็ตาม

อาจารย์ก็ตาม สงฆ์ก็ตาม

ข้อว่า วาสาคาร เปตฺวา สพฺพตฺถ มีความว่า ภิกษุให้สร้าง

อาคารอื่น เว้นอาคารเพื่อประโยชน์เป็นที่อยู่ของตนเสีย ด้วยตั้งใจว่า

จักเป็นโรงอุโบสถก็ตาม เป็นเรือนไฟก็ตาม เป็นหอฉันก็ตาม เป็นโรง

ไฟก็ตาม; ไม่เป็นอาบัติในเพราะอาคารทั้งหมด มีโรงอุโบสถเป็นต้น.

ถ้าแม้นภิกษุนั้น มีความรำพึงในใจว่า จักเป็นโรงอุโบสถด้วย เราจัก

อยู่ด้วย ดังนี้ ก็ดี ว่า จักเป็นเรือนไฟด้วย จักเป็นศาลาฉันด้วย... จัก

เป็นโรงไฟด้วย เราจักอยู่ด้วย ดังนี้ ก็ดี แม้เมื่อให้สร้างโรงอุโบสถ

เป็นต้น เป็นอาบัติแท้. แต่ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวว่า ไม่เป็นอาบัติ

แล้วกล่าวว่า เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้สร้าง เพื่อประโยชน์แก่เรือนเป็นที่อยู่

ของตนเท่านั้น.

บทว่า อนาปตฺติ มีความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุบ้า และแก่

พวกภิกษุชาวแคว้นอาฬวี ผู้เป็นต้นบัญญัติเป็นต้น.

ในสมุฏฐานเป็นต้น พึงทราบวินิจฉัย ดังนี้:- สิกขาบทนี้ มีสมุฏ-

ฐาน ๖ เป็นกิริยา. แท้จริง สิกขาบทนี้ ย่อมเกิดโดยการกระทำของภิกษุ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 425

ผู้ให้สงฆ์แสดงที่ให้แล้ว สร้างให้ล่วงประมาณไป, เกิดทั้งโดยการทำและ

ไม่ทำของภิกษุผู้ไม่ให้สงฆ์แสดงที่ให้แล้วสร้าง เป็นโนสัญญาวิโมกข์

อจิตตกะ ปัณณัติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

กุฏีการสิกขาบทวรรณนา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๗

เรื่องพระฉันนะ

[๕๒๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ วัด

โฆสิตาราม เขตพระนครโกสัมพี ครั้งนั้น คฤหบดีอุปัฏฐากของท่าน

พระฉันนะได้กล่าวกะท่านว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอพระคุณเจ้าโปรด

ตรวจดูสถานที่สร้างวิหาร กระผมจักให้สร้างวิหารถวายพระคุณเจ้า จึง

ท่านพระฉันนะ ให้แผ้วถางสถานที่สร้างวิหาร ให้โค่นต้นไม้อันเป็นเจดีย์

ต้นหนึ่ง ซึ่งชาวบ้าน ชาวนิคม ชาวนคร ชาวชนบท ชาวรัฏฐะ พา

กันบูชา คนทั้งหลายพากัน เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน

พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงให้โค่นต้นไม้อันเป็นเจดีย์ ซึ่งชาว

บ้าน ชาวนิคม ชาวนคร ชาวชนบท ชาวรัฏฐะ พากันบูชาเล่า พระ-

สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเบียดเบียนอินทรีย์ชนิดหนึ่งซึ่งมีชีพ ภิกษุ

ทั้งหลายได้ยินพวกเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดา

ผู้ที่มีความมักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อ

สิกขา ย่อมเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระฉันนะจึงให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 426

โค่นต้นไม้อัน เป็นเจดีย์ ซึ่งชาวบ้าน ชาวนิคม ชาวนคร ชาวชนบท

ชาวรัฏฐะ พากันบูชาเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระฉันนะว่า ดูก่อนฉันะ ข่าวว่า เธอให้เขาโค่นต้นไม้อันเป็นเจดีย์

ซึ่งชาวบ้าน ชาวนิคม ชาวนคร ชาวชนบท ชาวรัฎฐะ พากันบูชา

จริงหรือ

ท่านพระฉันนะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้ให้โค่นต้นไม้ อันเป็นเจดีย์ ซึ่งชาวบ้าน

ชาวนิคม ชาวนคร ชาวชนบท ชาวรัฏฐะ พากันบูชาเล่า เพราะ

มนุษย์มีความสำคัญในต้นไม้ว่ามีชีพ ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของ

เธอนั่น ไม่เป็นเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือ

เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทำ

ของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอี่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระฉันนะ โดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 427

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรง

กระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสนะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้

พระบัญญัติ

๑๑. ๗. อนึ่ง ภิกษุจะให้สร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของเฉพาะ

ตนเอง พึงนำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ ภิกษุเหล่านั้นพึงแสดงที่

อันไม่มีผู้จองไว้ อันมีชานรอบ หากภิกษุให้สร้างวิหารใหญ่ ในที่

อันมีผู้จองไว้ อันหาชานรอบมิได้ หรือไม่นำภิกษุทั้งหลายไป เพื่อ

แสดงที่ เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระฉันนะ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 428

สิกขาบทวิภังค์

[๕๒๒] วิหารที่ชื่อว่า ใหญ่ ท่านว่ามีเจ้าของ

ที่ชื่อว่า วิหาร ได้แก่ ที่อยู่ ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายในก็ตาม

ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายนอกก็ตาม ซึ่งโบกฉาบปูนไว้ทั้งภายในทั้ง

ภายนอกก็ตาม

บทว่า ให้สร้าง คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม.

บทว่า อันมีเจ้าของ คือ มีใคร ๆ คนอื่น ที่เป็นสตรีก็ตาม บุรุษ

ก็ตาม คฤหัสถ์ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม เป็นเจ้าของ

บทว่า เฉพาะตนเอง คือ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว.

[๕๒๓] คำว่า พึงนำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ นั้น ความว่า

ภิกษุจะสร้างวิหารนั้น ต้องให้เเผ้วถางสถานที่จะสร้างวิหารเสียก่อน แล้ว

เข้าใปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า

แล้วนั่งกระโหย่ง ประนมมือกล่าวอย่างนั้นว่า ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าใคร่จะ

สร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของเฉพาะตนเอง ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้น ขอ

สงฆ์ให้ตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหาร ดังนี้ พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้

ครั้งที่สาม ถ้าสงฆ์ทั้งปวงสามารถจะตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหารได้ สงฆ์

ทั้งหมดพึงตรวจดู ถ้าสงฆ์ทั้งปวงไม่สามารถจะตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหาร

ได้ ภิกษุเหล่าใดในสงฆ์หมู่นั้น เป็นผู้ฉลาด สามารถจะรู้ได้ว่าเป็น

สถานมีผู้จองไว้ หรือเป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ เป็นสถานมีชานรอบ หรือ

เป็นสถานไม่มีชานรอบ สงฆ์พึงขอภิกษุเหล่านั้นแล้วสมมติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 429

วิธีสมมติ

ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างนี้ คือภิกษุรูปหนึ่ง ผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึง

ประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้

กรรมวาจาสมมติภิกษุผู้ตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหาร

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้เป็นผู้ใคร่จะสร้าง

วิหารใหญ่ อันมีเจ้าของ เฉพาะตนเอง เธอขอสงฆ์ให้ตรวจดูสถานที่จะ

สร้างวิหาร ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติภิกษุ

ทั้งหลายมีชื่อนี้ และมีชื่อนี้ เพื่อตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหารของภิกษุมี

ชื่อนี้ นี่เป็นญัตติ ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้เป็น

ผู้ใคร่จะสร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของเฉพาะตนเอ ง เธอขอสงฆ์ให้ตรวจ

สถานที่จะสร้างวิหาร สงฆ์สมมติภิกษุทั้งหลายชื่อนี้ และมีชื่อนี้ เพื่อ

ตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหารของภิกษุมีชื่อนี้ การสมมติภิกษุทั้งหลายมีชื่อนี้

และมีชื่อนี้ เพื่อตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหารของภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่าน

ผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด ภิกษุ

ทั้งหลายมีชื่อนี้ และมีชื่อนี้ อันสงฆ์สมมติแล้ว เพื่อตรวจดูสถานที่จะ

สร้างวิหารของภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรง

ความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

วิธีขอสงฆ์แสดงสถานที่สร้างวิหาร

[๕๒๔] ภิกษุทั้งหลายผู้อันสงฆ์สมมติแล้วเหล่านั้น พึงไป ณ ที่

นั้น ตรวจดูสถานที่จะสร้างวิหาร พึงทราบว่าเป็นสถานมีผู้จองไว้ หรือ

เป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ เป็นสถานมีชานรอบ หรือเป็นสถานไม่มีชานรอบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 430

ถ้าเป็นสถานมีผู้จองไว้ ทั้งเป็นสถานไม่มีชานรอบ พึงบอกว่าอย่าสร้าง

ลงในที่นี้ ถ้าเป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ ทั้งมีชานรอบ พึงแจ้งแก่สงฆ์ว่า

เป็นสถานไม่มีผู้จองไว้ ทั้งมีชานรอบ ภิกษุผู้จะสร้างวิหารนั้น พึงเข้า

ไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุทั้งหลายผู้แก่พรรษา

แล้วนั่งกระโหย่งประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าใคร่จะ

สร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของ เฉพาะตนเอง ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้น

ขอสงฆ์ให้แสดงสถานที่จะสร้างวิหาร พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้ง

ที่สาม ภิกษุรูปหนึ่งผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วย

ญัตติทุติยกรรมวาจาว่าดังนี้:-

กรรมวาจาแสดงสถานที่จะสร้างวิหาร

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นผู้ใคร่จะ

สร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของ เฉพาะตนเอง เธอขอสงฆ์ให้แสดงสถาน

ที่จะสร้างวิหาร ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงแสดงสถานที่

จะสร้างวิหารแก่ภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็นญัตติ ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นผู้ใคร่จะสร้างวิหารใหญ่ อันมีเจ้าของ เฉพาะตนเอง

เธอขอสงฆ์ให้แสดงสถานที่จะสร้างวิหาร สงฆ์แสดงสถานที่จะสร้างวิหาร

ของภิกษุมีชื่อนี้ การแสดงสถานที่จะสร้างวิหารของภิกษุผู้มีชื่อนี้ ชอบ

แก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

สถานที่จะสร้างวิหารของภิกษุมีชื่อนี้ อันสงฆ์แสดงแล้ว ชอบแก่สงฆ์

เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[๕๒๕] ที่ชื่อว่า อันมีผู้จองไว้ คือ เป็นที่อาศัยของมด เป็นที่

อาศัยของปลวก เป็นที่อาศัยของหนู เป็นที่อาศัยของงู เป็นที่อาศัยของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 431

แมลงป่อง เป็นที่อาศัยของตะขาบ เป็นที่อาศัยของช้าง เป็นที่อาศัยของ

ม้า เป็นที่อาศัยของเสือโคร่ง เป็นที่อาศัยuของเสือเหลือง เป็นที่อาศัย

ของหมี เป็นที่อาศัยของสุนัขป่า เป็นที่อาศัยของสัตว์ดิรัจฉานบางเหล่า

เป็นสถานใกล้ที่นา เป็นสถานใกล้ที่ไร่ เป็นสถานใกล้ตะแลงแกง เป็น

สถานใกล้ที่ทรมานนักโทษ เป็นสถานใกล้สุสาน เป็นสถานใกล้ที่สวน

เป็นสถานใกล้ที่หลวง เป็นสถานใกล้โรงช้าง เป็นสถานใกล้โรงม้า เป็น

สถานใกล้เรือนจำ เป็นสถานใกล้โรงสุรา เป็นสถานใกล้ที่สุนัขอาศัย

เป็นสถานใกล้ถนน เป็นสถานใกล้หนทางสี่แยก เป็นสถานใกล้ที่ชุมนุม

ชน หรือเป็นสถานใกล้ทางเดินไปมา นี่ชื่อว่าสถานอันมีผู้จองไว้.

[๕๒๖] ที่ชื่อว่า อันหาชานรอบมิได้ คือ เกวียนที่เขาเทียมวัว

แล้วตามปกติ ไม่สามารถจะเวียนไปได้ พะองหรือบันไดก็ไม่สามารถจะ

ทอดเวียนไปได้โดยรอบ นี่ชื่อว่าสถานอันหาชานรอบมิได้.

[๕๒๗] ที่ชื่อว่า อันไม่มีผู้จองไว้ คือ ไม่เป็นที่อาศัยของมด

ไม่เป็นที่อาศัยของปลวก ไม่เป็นที่อาศัยของหนู ไม่เป็นที่อาศัยของงู ไม่

เป็นที่อาศัยของแมลงป่อง ไม่เป็นที่อาศัยของตะขาบ ไม่เป็นที่อาศัยของ

ช้าง ไม่เป็นที่อาศัยของม้า ไม่เป็นที่อาศัยของเสือโคร่ง ไม่เป็นที่อาศัย

ของเสือเหลือง ไม่เป็นที่อาศัยของหมี ไม่เป็นที่อาศัยของสุนัขป่า ไม่

เป็นที่อาศัยของสัตว์ดิรัจฉานบางเหล่า ไม่เป็นสถานใกล้ที่นา ไม่เป็น

สถานใกล้ที่ไร่ ไม่เป็นสถานใกล้ตะแลงแกง ไม่เป็นสถานใกล้ที่ทรมาน

นักโทษ ไม่เป็นสถานใกล้สุสาน ไม่เป็นสถานใกล้ที่สวน ไม่เป็นสถาน

ใกล้ที่หลวง ไม่เป็นสถานใกล้โรงช้าง ไม่เป็นสถานใกล้โรงม้า ไม่เป็น

สถานใกล้เรือนจำ ไม่เป็นสถานใกล้โรงสุรา ไม่เป็นสถานใกล้ที่สุนัขอาศัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 432

ไม่เป็นสถานใกล้ถนน ไม่เป็นสถานใกล้หนทางสี่แยก ไม่เป็นสถานใกล้

ที่ชุมนุมชน หรือไม่เป็นสถานใกล้ทางเดินไปมา นี่ชื่อว่าสถานอันไม่มี

ผู้จองไว้.

[๕๒๘] ที่ชื่อว่า อันมีชานรอบ คือ เกวียนที่เขาเทียมวัวแล้วตาม

ปกติ สามารถจะเวียนไปได้ พะองหรือบันใดก็สามารถจะทอดเวียนไปได้

โดยรอบ นี่ชื่อว่าสถานอันมีชานรอบ.

[๕๒๙] วิหารที่ชื่อว่า ใหญ่ นั้น ท่านว่ามีเจ้าของ

ที่ชื่อว่า วิหาร ได้แก่ ที่อยู่ ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายในก็ตาม

ซึ่งโบกฉาบปูนไว้เฉพาะภายนอกก็ตาม หรือซึ่งโบกฉาบปูนไว้ทั้งภายใน

ทั้งภายนอกก็ตาม.

บทว่า ให้สร้าง คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม

พากย์ว่า หรือไม่นำภิกษุทั้งหลายไปเพื่อแสดงที่ นั้น คือไม่ให้

สงฆ์แสดงสถานที่จะสร้างวิหาร ด้วยญัตติทุติยกรรมวาจาก่อนแล้ว ทำเอง

ก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม ต้องอาบัติทุกกฏ ในประโยคที่ทำ ยังอิฐอีก

ก้อนหนึ่งจะเสร็จ ต้องอาบัติถุลลัจจัย พอเสร็จ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนี้ จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 433

บทภาชนีย์

สร้างวิหาร มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๓๐] ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จอง

ไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่

มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว.

สร้างวิหาร มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสร้างวิหาร ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชาน

รอบ ไม่ต้องอาบัติ.

สั่งสร้าง มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๓๑ ] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 434

สร้างวิหารให้แก่เธอ มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองใว้ ไม่มีชาน

รอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ มีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว.

สั่งสร้าง มีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นทีอันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้อง

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 435

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า ผู้รับคำสั่งสร้าง

วิหารให้เเก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ไม่ต้องอาบัติ.

หลีกไป ไม่ได้สั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

[๕๓๒] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้เเก่ข้าพเจ้า แล้วหลีก

ไปเสีย แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้อง

ไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมี

พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ

๒ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับ

อาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 436

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

หลีกไป ไม่ได้สั่ง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ไม่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

หลีกไป สั่ง เขาสร้าง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๓๓] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 437

ไปเสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มี

ผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่

อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า

เขาสร้างวิหารให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มี

ชานรอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย หากไม่ไปเอง หรือ

ไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้น ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

วิหารให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

และต้องไม่มีผู้จองไว้ด้วย หากไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้อง

อาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

วิหารให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชาน

รอบ ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 438

แสดงให้ และมีชานรอบด้วย หากไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้อง

อาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างวิหาร

ให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

หากเธอไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูต ไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ.

หลีกไป สั่ง เขาสร้าง พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างพระวิหารให้แก่ข้าพเจ้า เเล้วหลีกไป

เสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จอง

ไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อัน

สงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

วิหารให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้ และมีชาน

รอบด้วย หากไม่ไปเอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้างวิหาร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 439

ให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุนั้น

พึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องไม่มีผู้จองไว้ หากไม่ไปเอง

หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุนั้นทราบข่าวว่า เขาสร้าง

วิหารให้แก่เรา ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ

ภิกษุนั้นพึงไปเอง หรือพึงส่งทูตไปบอกว่า ต้องมีชานรอบ หากไม่ไป

เอง หรือไม่ส่งทูตไปบอก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

ภิกษุผู้สร้างต้องอาบัติ พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๓๔] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้เเก่ข้าพเจ้า แล้วหลีก

ไปเสีย แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มี

ผู้จองไว้ และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้เเก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่

อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติ

ทุกกฎ ๓ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 440

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

มิได้แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๑ ตัว

ภิกษุผู้สร้างต้องอาบัติ พื้นที่อันสงฆ์แสดงให้

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดง

ให้ มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 441

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ ภิกษุผู้สร้าง ต้องอาบัติทุกกฏ

๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้เเก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

แต่ได้สั่งไว้ว่า วิหารนั้นต้องมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ต้องไม่มีผู้จองไว้

และมีชานรอบด้วย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์

แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มีชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

ทำค้าง พื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

[๕๓๕ ] ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้เเก่ข้าพเจ้า แล้วหลีก

ไปเสีย ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้

มีผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหาร

นั้นแก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากเธอไม่ให้เเก่ภิกษุ

รูปอื่น หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับอาบัติ

สังฆาทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหารนั้นแก่ภิกษุรูป

อื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากเธอไม่ให้เเก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่

รื้อเสียแล้วสร้างให้ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆาทิเสส ๑ ตัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 442

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์มิได้แสดงให้ ไม่มี

ผู้จองไว้ ไม่มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหารนั้น

แก่ภิกษุรูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากเธอไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น

หรือไม่รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว กับอาบัติสังฆา-

ทิเสส ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหารนั้นแก่ภิกษุ

รูปอื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากไม่ให้เเก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่

รื้อเสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ มีผู้จองไว้

มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหารนั้นแก่ภิกษุรูป

อื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากไม่ให้แก่ภิกษุรูปอื่น หรือไม่รื้อ

เสียแล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างวิหารให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย

ผู้รับคำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้

ไม่มีชานรอบ หากเขาสร้างค้างไว้ เธอกลับมา พึงให้วิหารนั้นแก่ภิกษุ

อื่น หรือพึงรื้อเสียแล้วสร้างใหม่ หากไม่ให้เเก่ภิกษุอื่น หรือไม่รื้อเสีย

แล้วสร้างใหม่ ต้องอาบัติทุกกฏ ๑ ตัว

ภิกษุสั่งว่า จงช่วยกันสร้างให้แก่ข้าพเจ้า แล้วหลีกไปเสีย ผู้รับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 443

คำสั่งสร้างวิหารให้แก่เธอ ซึ่งมีพื้นที่อันสงฆ์แสดงให้ ไม่มีผู้จองไว้ มี

ชานรอบ ไม่ต้องอาบัติ.

สร้างค้าง สร้างต่อ

[๕๓๖] วิหารที่ตนสร้างค้างไว้ ภิกษุสร้างต่อให้สำเร็จด้วยตนเอง

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

วิหารที่คนสร้างค้างไว้ ภิกษุให้คนอื่นสร้างต่อให้สำเร็จ คือ

อาบัติสังฆาทิเสส

วิหารที่คนอื่นสร้างค้างไว้ ภิกษุสร้างต่อให้สำเร็จด้วยตนเอง ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

วิหารที่คนอื่นสร้างค้างไว้ ภิกษุให้คนอื่นสร้างต่อให้สำเร็จ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส.

อนาปัตติวาร

[๕๓๗] ภิกษุสร้างถ้ำ ๑ ภิกษุสร้างคูหา ๑ ภิกษุสร้างกุฎีหญ้า ๑

ภิกษุสร้างวิหารเพื่อภิกษุอื่น ๑ เว้นอาคารเป็นที่อยู่เสีย ภิกษุสร้างนอก

จากนั้น ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๗ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 444

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๗

วิหารการสิกขาบทวรรณนา

วิหารการสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระฉันนะ]

พึงกราบวินิจฉัย ในวิหารการสิกขาบทนั้น ดังต่อไปนี้:-

บทว่า โกสมฺพิย ได้แก่ ใกล้นครที่มีชื่ออย่างนี้.

บทว่า โฆสิตาราเม ได้แก่ ที่วิหาร (วัด) ของท่านโฆสิตเศรษฐี.

ได้ยินว่า วิหาร (วัด) นั้น ท่านเศรษฐีนามว่าโฆสิตให้สร้าง เพราะ-

ฉะนั้น จึงเรียกว่า "วัดโฆสิตาราม."

บทว่า ฉนฺนสฺส ได้แก่ พระฉันนะเคยเป็นมหาดเล็กในเวลาพระ-

พุทธองค์ยังเป็นพระโพธิสัตว์.

ข้อว่า วิหารวตฺถุ ภนฺเต ชานาติ มีความว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ !

ท่านโปรดตรวจดูสถานที่สร้างวิหารเถิด. ก็ในคำว่า วิหารวตฺถุ นี้ ที่ชื่อว่า

วิหาร ไม่ใช่วิหารทั้งสิ้น คืออาวาส (ที่อยู่) หลังหนึ่ง. ด้วยเหตุนั้นนั่นแล

คฤหบดีอุปัฏฐากของท่านพระฉันนะ จึงกล่าวว่า กระผมจักให้สร้างวิหาร

ถวายพระคุณเจ้า.

ในคำว่า เจติยรุกฺข นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:- ที่ชื่อว่า เจดีย์ เพราะ

อรรถว่า อันปวงชนทำความเคารพ. คำว่า เจติยรุกฺข นี้ เป็นชื่อแห่ง

เทวสถานทั้งหลายที่ควรแก่การบูชา ต้นไม้ที่ชาวโลกสมมติว่า เจดีย์ ชื่อว่า

รุกขเจดีย์. ที่ชาวบ้านบูชาแล้ว หรือเป็นที่บูชาของชาวบ้าน; เพราะฉะนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 445

ต้นไม้นั้นจึงชื่อว่า คามปูชิตะ (ที่ชาวบ้านพากันบูชา) ในบทที่เหลือก็มี

นัยเช่นนี้.

อีกอย่างหนึ่ง ในชนบทและรัฐนี้ ส่วนหนึ่งในรัชสีมาแห่งพระ-

ราชาพระองค์หนึ่ง พึงทราบว่า ชนบท. แว่นแคว้นทั้งสิ้น พึงทราบว่า

รัฐ. จริงอยู่ ในกาลบางครั้ง แม้ชาวแว่นแคว้นทั้งสิ้น ก็ทำการบูชา

ต้นไม้นั้น. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ที่ชาวแว่นแคว้นพากันบูชาแล้ว.

ด้วยบทว่า เอกินฺทฺริย นี้ พวกชาวบ้านกล่าวหมายเอากายินทรีย์.

บทว่า ชีวสญฺิโน คือ มีความสำคัญว่า เป็นสัตว์.

บทว่า มหลฺลก มีความว่า ความที่วิหารใหญ่กว่ากุฎีที่ขอเอาเอง

โดยความเป็นที่มีเจ้าของ มีอยู่ แก่วิหารนั้น; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า

มหัลลกะ. อีกอย่างหนึ่ง เพราะใหัสงฆ์แสดงที่ให้แล้วสร้างแม้ให้เกิน

ประมาณก็ควร; ฉะนั้น วิหารนั้น จึงชื่อว่า มหัลลกะ เพราะเป็นของ

ใหญ่กว่าประมาณบ้าง. ซึ่งวิหารใหญ่นั้น. ก็เพราะวิหารนั้น มีความใหญ่

กว่าประมาณนั้นได้ เพราะเป็นของมีเจ้าของนั่นเอง; ฉะนั้น เพื่อแสดง

ใจความนั้น ท่านพระอุบาลีจึงกล่าวบทภาชนะว่า วิหารมีเจ้าของ เรียก

ชื่อว่า วิหารใหญ่.

คำที่เหลือทั้งหมดพร้อมด้วยสมุฏฐานเป็นต้น. ผู้ศึกษาพึงทราบ

โดยนัยดังที่กล่าวแล้วในกุฎีการสิกขาบทนั้นแล. จริงอยู่ ในสิกขาบทนี้

ความแปลกกัน แต่เพียงความเป็นของมีเจ้าของ ความไม่มีสมุฏฐานจาก

การทำ และความไม่มีกำหนดประมาณเท่านั้น และจตุกกะลดลงไป ก็

เพราะไม่มีกำหนดประมาณ ฉะนี้แล.

วิหารการสิกขาบทวรรณนา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 446

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๘

เรื่องพระทัพพมัลลบุตร

[๕๓๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ

พระเวฬุวันวิหาร อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระ-

นครราชคฤห์ ครั้งนั้น ท่านพระทัพพมัลลบุตรมีอายุ ๗ ปี นับแต่เกิด

ได้ทำให้เเจ้งซึ่งพระอรหัต คุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งสาวกจะพึงบรรลุ

ท่านได้บรรลุแล้วโดยลำดับทั้งหมด อนึ่ง ท่านไม่มีกรณียกิจอะไรที่ยิ่งขึ้นไป

หรือกรณียกิจที่ท่านทำเสร็จแล้ว ก็ไม่ต้องกลับสั่งสมอีก.

[๕๓๙] ครั้งนั้น ท่านพระทัพพมัลลบุตร ไปในที่สงัด หลีกเร้น

อยู่ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า เรามีอายุ ๗ ปี นับแต่

เกิด ได้ทำให้เเจ้งซึ่งพระอรหัต คุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งสาวกจะ

พึงบรรลุ เราได้บรรลุแล้วโดยลำดับทุกอย่าง อนึ่งเล่า เราไม่มีกรณียกิจ

อะไรที่ยิ่งขึ้นไป หรือกรณียกิจที่ทำเสร็จแล้วก็ไม่ต้องกลับสั่งสมอีก เรา

ควรทำการช่วยเหลืออะไรหนอแก่สงฆ์ ลำดับนั้น ท่านพระทัพพมัลลบุตร

ได้คิดตกลงใจว่า ผิฉะนั้น เราควรแต่งตั้งเสนาสนะ และแจกอาหารแก่

สงฆ์ ครั้นท่านออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค

เจ้าถึงที่ประทับ ครั้นถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วได้กราบ

ทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ ณ ตำบล

นี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า ข้าพระพุทธเจ้ามีอายุ ๗ ปี

นับแต่เกิด ได้ทำให้แจ้งซึ่งพระอรหัตแล้ว คุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง

ซึ่งสาวกจะพึงบรรลุ ข้าพระพุทธเจ้าได้บรรลุแล้วโดยลำดับทุกอย่าง อนึ่ง

เล่า ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีกรณียกิจอะไรที่ยิ่งขึ้นไป หรือกรณียกิจที่ข้าพระ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 447

พุทธเจ้าทำเสร็จแล้วก็ไม่ต้องกลับสั่งสมอีก ข้าพระพุทธเจ้าควรทำการช่วย

เหลืออะไรหนอแก่สงฆ์ พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าติดตกลงใจ

ว่า ผิฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าควรแต่งตั้งเสนาสนะและแจกอาหารแก่สงฆ์

ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะแต่งตั้งเสนาสนะ และแจกอาหารแก่สงฆ์

พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดีละ ดีละ ทัพพะ ถ้าเช่นนั้น เธอ

จงแต่งตั้งเสนาสนะและแจกอาหารแก่สงฆ์เถิด

ท่านพระทัพพมัลลบุตรกราบทูลรับสนองแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า

อย่างนั้นพระพุทธเจ้าข้า.

สมมติภิกษุผู้แต่งตั้งเสนาสนะและแจกอาหาร

[๕๔๐] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ใน

เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าเช่นนั้น สงฆ์จงสมมติทัพพมัลล-

บุตรให้เป็นผู้แต่งตั้งเสนาสนะและแจกอาหาร

วิธีสมมติ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างนี้ เบื้องต้นพึงขอ

ให้ทัพพะรับ ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบ

ด้วยญัตติทุติยกรรมวาจาว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสมมติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึง

ที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติท่านพระทัพพมัลลบุตร ให้เป็นผู้แต่งตั้งเสนาสนะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 448

และแจกอาหาร นี่เป็นญัตติ ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์

สมมติท่านพระทัพพมัลลบุตร ให้เป็นผู้แต่งตั้งเสนาสนะและแจกอาหาร

การสมมติท่านพระทัพพมัลลบุตร ให้เป็นผู้แต่งตั้งเสนาสนะและแจก

อาหาร ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด

ท่านผู้นั้นพึงพูด ท่านพระทัพพมัลลบุตร อันสงฆ์สมมติให้เป็นผู้แต่งตั้ง

เสนาสนะและแจกอาหารแล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรง

ความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[๕๔๑] ก็แล ท่านพระทัพพมัลลบุตร อันสงฆ์สมมติแล้วย่อม

แต่งตั้งเสนาสนะรวมไว้เป็นพวก ๆ สำหรับหมู่ภิกษุผู้สม่ำเสมอกัน คือ

ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ทรงพระสูตร ท่านก็แต่งตั้งเสนาสนะรวมภิกษุเหล่านั้น

ไว้เเห่งหนึ่ง ด้วยประสงค์ว่าพวกเธอจักซักซ้อมพระสูตรกัน ภิกษุเหล่าใด

เป็นผู้ทรงพระวินัย ท่านก็แต่งตั้งเสนาสนะรวมภิกษุเหล่านั้นไว้แห่งหนึ่ง

ด้วยประสงค์ว่า พวกเธอจักวินิจฉัยพระวินัยกัน ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ทรง

พระอภิธรรม ท่านก็แต่งตั้งเสนาสนะรวมภิกษุเหล่านั้นไว้เเห่งหนึ่ง ด้วย

ประสงค์ว่า พวกเธอจักสนทนาพระอภิธรรมกัน ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ได้

ฌาน ท่านก็แต่งตั้งเสนาสนะรวมภิกษุเหล่านั้นไว้เเห่งหนึ่ง ด้วยประสงค์

ว่า พวกเธอจักไม่รบกวนกัน ภิกษุเหล่าใดชอบกล่าวดิรัจฉานกถา ยังมี

การบำรุงร่างกายอยู่มาก ท่านก็แต่งตั้งเสนาสนะรวมภิกษุเหล่านั้น ไว้เเห่ง

หนึ่ง ด้วยประสงค์ว่าท่านเหล่านี้จักอยู่ด้วยความยินดีแม้นี้ ภิกษุเหล่าใด

มาในเวลาค่ำคืน ท่านก็เข้าจตุตถฌานมีเตโชกสิณเป็นอารมณ์ แล้วแต่งตั้ง

เสนาสนะแม้สำหรับภิกษุเหล่านั้นโดยแสงสว่างนั้นนั่นแล ภิกษุทั้งหลาย

ย่อมแกล้งมาแม้ในเวลาค่ำคืน ด้วยประสงค์ว่า พวกเราจักได้ชมอิทธิ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 449

ปาฏิหาริย์ของท่านพระทัพพมัลลบุตรดังนี้ก็มี ภิกษุเหล่านั้นเข้าไปหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตรแล้วพูดอย่างนี้ว่า พระะคุณเจ้าทัพพะ ขอท่านจง

แต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผม ท่านพระทัพมัลลบุตรถามภิกษุเหล่านั้น

อย่างนี้ว่า ท่านปรารถนาจะอยู่ที่ไหน กระผมจะแต่งตั้งให้ ณ ที่ไหน

ภิกษุเหล่านั้นแกล้งอ้างที่ไกล ๆ ว่า พระคุณเจ้าทัพพะ ขอท่านจงแต่งตั้ง

เสนาสนะให้พวกกระผม ที่ภูเขาคิชฌกูฏ ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้

พวกกระผมที่เหวสำหรับทิ้งโจร ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผม

ที่กาฬศิลาข้างภูเขาอิสิคิลิ ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผมที่ถ้ำ

สัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภาระ ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนให้พวกกระผม

ที่เงื้อมเขาสัปปโสณฑิกะใกล้สีตวัน ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวก

กระผมที่ซอกเขาโคมฏะ ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผมที่ซอก

เขาตินทุกะ ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผมที่ซอกเขากโปตะ

ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวกกระผมที่ตโปทาราม ขอท่านจงแต่งตั้ง

เสนาสนะให้พวกกระผมที่ชีวกัมพวัน ขอท่านจงแต่งตั้งเสนาสนะให้พวก

กระผมที่มัททกุจฉิมฤคทายวัน ท่านพระทัพพมัลลบุตรจึงเข้าจตุตถฌานมี

เตโชกสิณเป็นอารมณ์ มีองคุลีส่องแสงสว่างเดินนำหน้าภิกษุเหล่านั้นไป

แม้ภิกษุเหล่านั้นก็เดินตามหลังท่านพระทัพพมัลลบุตรไปโดยแสงสว่างนั้น

แล ท่านพระทัพพมัลลบุตรแต่งตั้งเสนาสนะสำหรับภิกษุเหล่านั้น โดย

ชี้แจงอย่างนี้ว่า นี่เตียง นี่ตั่ง นั่นฟูก นี่หมอน นี่ที่ถ่ายอุจจาระ

นี่ที่ถ่ายปัสสาวะ นี่น้ำฉัน นี่น้ำใช้ นี่ไม้เท้า นี่ระเบียบกติกาสงฆ์

ควรเข้าเวลานี้ ควรออกเวลานี้ ครั้นแต่งตั้งเสร็จแล้วกลับมาสู่พระเวฬุวัน

วิหารตามเดิม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 450

เรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ

[๕๔๒] ก็โดยยสมัยนั้นแล พระเมตติยะและพระภุมมชกะ เป็น

พระบวชใหม่ และมีบุญน้อย เสนาสนะของสงฆ์ชนิดเลวและอาหารอย่าง

เลว ย่อมตกถึงแก่เธอทั้งสอง ครั้งนั้น ชาวบ้านในพระนครราชคฤห์

ชอบถวาย เนยใสบ้าง น้ำมันบ้าง แกงที่มีรสดี ๆ บ้าง ซึ่งจัดปรุง

เฉพาะพระเถระทั้งหลาย ส่วนพระเมตติยะและพระภุมมชกะ เขาถวาย

อาหารอย่างธรรมดาตามแต่จะหาได้ เป็นชนิดปลายข้าว มีน้ำส้มเป็นกับ

เวลาหลังอาหาร เธอทั้งสองกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวถามพวกภิกษุ

ผู้เถระว่า ในโรงฉันของพวกท่านมีอาหารอะไรบ้าง ขอรับ ในโรงฉันของ

พวกท่านมีอาหารอะไรบ้าง ขอรับ พระเถระบางพวกบอกอย่างนี้ว่า พวก

เรามีเนยใส น้ำมัน แกงที่มีรสอร่อย ๆ ขอรับ ส่วนพระเมตติยะและ

พระภุมมชกะพูดอย่างนี้ว่า พวกกระผมไม่มีอะไรเลย ขอรับ มีแต่อาหาร

อย่างธรรมดาตามแต่จะหาได้ เป็นชนิดปลายข้าวมีน้ำส้มเป็นกับ.

[๕๔๓] สมัยต่อมา คหบดีผู้ชอบถวายอาหารที่ดี ถวายภัตตาหาร

วันละ ๔ ที่แก่สงฆ์เป็นนิจภัต เขาพร้อมด้วยบุตรภรรยาอังคาสอยู่ใกล้ๆ

ในโรงฉัน คนอื่น ๆ ย่อมถามด้วยข้าวสุก กับข้าว น้ำมัน แกงที่มีรส

อร่อย คราวนั้น ภัตตุเทสก์ ได้ถวายภัตตาหารของคฤหบดีผู้ชอบถวาย

อาหารที่ดี แก่พระเมตติยะและพระภุมมชกะ เพื่อฉันในวันรุ่งขึ้น ขณะ

นั้นท่านคฤหบดีไปสู่อารามด้วยกรณียะบางอย่าง แล้วเข้าไปหาท่านพระ-

ทัพพมัลลบุตรถึงที่สำนัก ครั้นนมัสการท่านพระทัพพมัลลบุตรแล้วนั่ง ณ ที่

ควรส่วนข้างหนึ่ง ท่านพระทัพพมัลลบุตรยังท่านคฤหบดีผู้นั่งแล้ว ให้

เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริงด้วยธรรมีกถา ครั้นแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 451

ท่านคฤหบดีได้เรียนถามท่านว่า ภัตตาหารเพื่อจะฉันในวันพรุ่งนี้ที่เรือน

ของเกล้ากระผม พระคุณเจ้าจัดถวายแก่ภิกษุรูปไหน ขอรับ

ท่านพระทัพพมัลลบุตรตอบว่า อาตมาจัดให้แก่พระเมตติยะกับ

พระภุมมชกะแล้วจ้ะ

ขณะนั้น ท่านคฤหบดีได้มีความน้อยใจว่า ไฉนภิกษุผู้ลามกจักฉัน

ภัตตาหารในเรือนเราเล่า แล้วไปเรือนสั่งหญิงคนใช้ไว้ว่า แม่สาวใช้ เจ้า

จงจัดอาสนะไว้ที่ซุ้มประตู แล้วอังคาสภิกษุผู้จะมาฉันภัตตาหารในวัน

พรุ่งนี้ ด้วยปลายข้าว มีน้ำส้มเป็นกับ

หญิงคนใช้รับคำของท่านคหบดีว่า อย่างนั้น เจ้าค่ะ

ครั้งนั้น พระเมตติยะและพระภุมมชกะ กล่าวแก่กันว่า คุณเมื่อวานนี้

ท่านภัตตุเทสก์จัดภัตตาหารในเรือนท่านกัลยาณภัตติกคหบดีให้พวกเรา

พรุ่งนี้ท่านคหบดีพร้อมด้วยบุตรภรรยาจักอังคาสเราอยู่ใกล้ ๆ คนอื่น ๆ จัก

ถามด้วยข้าวสุก กับข้าว น้ำมัน แกงที่มีรสอร่อย ๆ ด้วยความดีใจนั้น

แล ตกกลางคืนเธอทั้งสองนั้นจำวัดหลับไม่เต็มตื่น ครั้นเวลาเช้า พระ-

เมตติยะและพระภุมมชกะ ครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรและจีวรเดิน-

เข้าไปยังนิเวศน์ของกัลยาณภัตติกคหบดี

หญิงคนใช้นั้นได้แลเห็นพระเมตติยะและพระภุมมชกะ กำลังเดิน

มาแต่ไกล ครั้นแล้วจึงปูอาสนะถวายที่ซุ้มประตู แล้วกล่าวว่า นิมนต์นั่ง

เจ้าค่ะ

จึงพระเมตติยะและพระภุมมชกะนึกว่า ภัตตาหารจะยังไม่เสร็จเป็น

แน่ เขาจึงให้เรานั่งพักที่ซุ้มประตูก่อน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 452

ขณะนั้นหญิงคนใช้นำอาหารปลายข้าว ซึ่งมีผักดองเป็นกับ เข้าไป

ถวาย กล่าวอาราธนาว่า นิมนต์ฉันเถิด เจ้าค่ะ

พ. น้องหญิง พวกฉันเป็นพระรับฉันนิจภัต จ้ะ

ญ. ดิฉันทราบแล้วเจ้าค่ะว่า พระคุณเจ้าเป็นพระรับฉันนิจภัต แต่

เมื่อวานนี้เอง ท่านคหบดีได้สั่งดิฉันไว้ว่า แม่สาวใช้ เจ้าจงจัดอาสนะ

ไว้ที่ซุ้มประตู แล้วอังคาสภิกษุผู้จะมาฉันภัตตาหารในวันพรุ่งนี้ ด้วยปลาย

ข้าว มีน้ำส้มเป็นกับดังนี้ นิมนต์ฉันเถิด เจ้าค่ะ

จึงพระเมตติยะและพระภุมมชกะปรึกษากันว่า อาวุโส เมื่อวานนี้

เอง ท่านคฤหบดีไปสู่อารามในสำนักพระทัพพมัลลบุตร พวกเราคงถูก

พระทัพพมัลลบุตรยุยงในสำนักคหบดีเป็นแน่นอนทีเดียว เพราะความ

เสียใจนั้นแล เธอทั้งสองรูปนั้นฉันไม่ได้ดังใจนึก ครั้นกลับจากบิณฑบาต

ถึงอารามในเวลาหลังอาหาร เก็บบาตรและจีวรแล้ว นั่งรัดเข่าด้วยผ้า

สังฆาฎิอยู่ภายนอกซุ้มประตูอาราม นิ่งอั้น เก้อเขิน คอตก ก้มหน้า

ซบเซา ไม่พูดจา

เรื่องภิกษุณีแมตติยา

[๕๔๔] ครั้งนั้นแล ภิกษุณีเมตติยาเข้าไปหาพระเมตติยะและ

พระภุมมชกะถึงสำนัก ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า ดิฉันไหว้ เจ้าค่ะ

เมื่อนางกล่าวอย่างนั้นแล้ว พระเมตติยะและพระภุมมชกะก็มิได้

ทักทายปราศรัย นางจึงกล่าวว่า ดิฉันไหว้ เจ้าค่ะ เป็นครั้งที่สอง แม้

ครั้งที่สอง พระเมตติยะและพระภุมมชกะก็มิได้ทักทายปราศรัย นางจึง

ได้กล่าวอีกเป็นครั้งที่สามว่า ดิฉันไหว้ เจ้าค่ะ แม้ครั้งที่สาม พระเมตติยะ

และพระภุมมชกะก็มิได้ทักทายปราศรัย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 453

ภิกษุณีเมตติยาถามว่า ดิฉันผิดอย่างไรต่อพระคุณเจ้า ๆ ไม่ทักทาย

ปราศรัยกับดิฉัน เพื่อประสงค์อะไร

ภิกษุทั้งสองตอบว่า ก็จริงอย่างนั้นแหละ น้องหญิง พวกเราถูก

พระทัพพมัลลบุตรเบียดเบียนอยู่ เธอยังเพิกเฉยได้

เม. ดิฉันจะช่วยเหลืออย่างไร เจ้าคะ

ภิ. น้องหญิง ถ้าเธอเต็มใจช่วย วันนี้แหละพระผู้มีพระภาคเจ้า

ต้องให้พระทัพพมัลลบุตรสึก

เม. ดิฉันจะทำอย่างไร ดิฉันสามารถจะช่วยเหลือได้ด้วยวิธีไหน

ภิ. มาเถิด น้องหญิง เธอจงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่

ประทับ ครั้นแล้วจงกราบทูลอย่างนี้ว่า พระพุทธเจ้าข้า กรรมนี้ไม่มิด

เม้น ไม่สมควร ทิศที่ไม่มีภัย ไม่มีจัญไร ไม่มีอันตราย บัดนี้กลับมามีภัย

ีมีจัญไร มีอันตราย ณ สถานที่ไม่มีลม บัดนี้ กลับมามีลมแรงขึ้น หม่อมฉัน

ถูกพระคุณเจ้าทัพพมัลลบุตรประทุษร้าย คล้ายน้ำถูกไฟเผา พระพุทธ

เจ้าข้า

ภิกษุณีเมตติยา รับคำพระเมตติยะและพระภุมมชกะว่า ตกลงเจ้าคะ

แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นถวายบังคมแล้ว ได้

ยืนอยู่ ณ ที่ควรข้างหนึ่งกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า กรรมนี้ไม่มิดเม้น

ไม่สมควร ทิศที่ไม่มีภัย ไม่มีจัญไร ไม่มีอันตราย บัดนี้กลับมามีภัย มี

จัญไร มีอันตราย ณ สถานที่ไม่มีลม บัดนี้กลับมามีลมแรงขึ้น หม่อมฉัน

ถูกพระคุณเจ้าทัพพมัลลบุตรประทุษร้าย คล้ายน้ำถูกไฟเผา พระพุทธเจ้าข้า.

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

[๕๔๕] ลำดับนั้น พระผู้พระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมสงฆ์ ใน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 454

เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

ท่านพระทัพพมัลลบุตรว่า ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้

ทำกรรมดังนางภิกษุณีนี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตรกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ย่อม

ทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด

แม้ครั้งที่สองแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอบถามท่านพระทัพพ-

มัลลบุตรว่า ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้ทำกรรมดังนาง-

ภิกษุณีนี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตรกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ย่อม

ทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด

แม้ครั้งที่สามแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอบถามท่านพระทัพพ-

มัลลบุตรว่า ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้ทำกรรมดังนาง-

ภิกษุณีนี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตรกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ย่อม

ทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด I

ภ. ดูก่อนทัพพะ บัณฑิตย่อมไม่กล่าวแก้คำกล่าวหาเช่นนี้ ถ้าเธอ

ทำก็จงบอกว่าทำ ถ้าเธอไม่ได้ทำ ก็จงบอกว่าไม่ได้ทำ

พ. พระพุทธเจ้าข้า ตั้งแต่ข้าพระพุทธเจ้าเกิดมา แม้โดยความฝัน

ก็ยังไม่รู้จักเสพเมถุนธรรม จะกล่าวไปไยถึงเมื่อตอนตื่นอยู่เล่า

ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุ ทั้งหลายว่า ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล พวกเธอจงให้ภิกษุณีเมตติยาสึกเสีย และ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 455

จงสอบสวนภิกษุเหล่านี้ รับสั่งดังนี้แล้ว พระองค์เสด็จลุกจากที่ประทับ

เข้าพระวิหาร

หลังจากนั้น ภิกษุทั้งหลายได้ให้ภิกษุณีเมตติยาสึก จึงพระเมตติยะ

และพระภุมนชกะได้เเถลงเรื่องนี้กะภิกษุทั้งหลายว่า อาวุโสทั้งหลาย ขอ

ท่านทั้งหลายอย่าให้ภิกษุณีเมตติยาสึกเลย นางไม่ผิดอะไร พวกกระผม

แค้นเคือง ไม่พอใจ มีความประสงค์จะให้ท่านพระทัพพมัลลบุตรเคลื่อน

จากพรหมจรรย์ จึงได้ให้นางใส่ไคล้

ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็นี่พวกคุณโจที่ท่านพระ-

ทัพพมัลลบุตรด้วยธรรมีโทษถึงปาราชิก อันหามูลมิได้หรือ

ภิกษุสองรูปนั้นสารภาพว่า อย่างนั้น ขอรับ

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่สิกขา ต่างพากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระเมตติยะ

และพระภุมมชกะ จึงได้โจที่ท่านพระทัพพมัลลบุตรด้วยธรรมมีโทษถึง

ปาราชิก อันหามูลมิได้เล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

เมตติยะและพระภุมมชกะว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอโจท

ทัพพมัลลบุตร ด้วยธรรมมีโทษถึงปาราชิก อันหามูลมิได้ จริงหรือ

ภิกษุสองรูปนั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 456

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย ไฉน

พวกเธอจงได้โจททัพพมัลลบุตรด้วยธรรมมีโทษถึงปาราชิกอันหามูลมิ-

ได้เล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของ

ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใส

แล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของ

ชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนพระเมตติยะและพระภุมมชกะ

โดยอเนกปริยาย ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความ

เป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ

คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความ

มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส

การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้วทรงกระทำ

ธรรมีกถาสมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย

แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต

เพื่อความเลื่อมใสขอชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นเเห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 457

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนั้น ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๒. ๘. อนึ่ง ภิกษุใด ขัดใจ มีโทสะ ไม่แช่มชื่น ตามกำจัด

ซึ่งภิกษุด้วยธรรมมีโทษถึงปาราชิก อันหามูลมิได้ ด้วยหมายว่า แม้

ไฉนเราจะยังเธอให้เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้ ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น

อันผู้ใดผู้หนึ่ง ถือเอาตามก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม แต่อธิกรณ์นั้น

เป็นเรื่องหามูลมิได้ แลภิกษุยันอิงโทสะอยู่ เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๔๖] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ข้อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 458

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พ้ร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ ด้วยญัตติจตุตถ-

กรรมอันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะนี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

บทว่า ซึ่งภิกษุ หมายภิกษุอื่น.

บทว่า ขัดใจ มีโทสะ คือโกรธ ไม่ถูกใจ ไม่พอใจ แค้นใจ

เจ็บใจ.

บทว่า ไม่แช่มชื่น คือ เป็นคนมีใจไม่แช่มชื่น เพราะความ

โกรธนั้น เพราะโทสะนั้น เพราะความไม่ถูกใจนั้น และเพราะความไม่

พอใจนั้น.

ที่ชื่อว่า อันหามูลมิได้ คือ ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ.

บทว่า ด้วยธรรมมีโทษถึงปาราชิก คือ ด้วยปาราชิกธรรมทั้ง ๔

สิกขาบท สิกขาบทใดสิกขาบทหนึ่ง.

บทว่า ตามกำจัด ได้แก่ โจทเอง หรือสั่งให้โจท.

พากย์ว่า แม้ไฉนเราจะยังเธอให้เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้

ความว่า ให้เคลื่อนจากภิกษุภาพ ให้เคลื่อนจากสมณธรรม ให้เคลื่อน

จากศีลขันธ์ ให้เคลื่อนเจ้าคุณคือตบะ.

[๕๔๗] คำว่า ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น ความว่า เมื่อขณะคราว

ครู่หนึ่งที่ภิกษุผู้ถูกตามกำจัดนั้น ผ่านไปแล้ว.

บทว่า อันผู้ใดผู้หนึ่งถือเอาตามก็ตาม คือ ภิกษุเป็นผู้ถูกตามกำจัด

ด้วย เรื่องใด มีคนเชื่อในเพราะเรื่องนั้นก็ตาม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 459

บทว่า ไม่ถือเอาตามก็ตาม คือ ไม่มีใคร ๆ พูดถึง.

[๕๔๘] ที่ชื่อว่า อธิกรณ์ ได้แก่อธิกรณ์ ๔ อย่าง คือวิวาทา-

ธิกรณ์ ๑ อนุวาทาธิกรณ์ ๑ อาปัตตาธิกรณ์ ๑ กิจจาธิกรณ์ ๑.

[๕๔๙] คำว่า แลภิกษุยันอิงโทสะอยู่ ความว่า ภิกษุกล่าว

ปฏิญาณว่าข้าพเจ้าพูดเปล่า ๆ พูดเท็จ พูดไม่จริง ข้าพเจ้าไม่รู้ ได้พูดแล้ว.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือ เป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล

แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

ไม่เห็น โจทว่าได้เห็น

[๕๕๐] ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้า

โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

ไม่ได้ยิน โจทว่าได้ยิน

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่

เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 460

ไม่รังเกียจ โจทว่ารังเกียจ

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจท

เธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ไม่เห็น

[๕๕๑] ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้า

โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็นและได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น และรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอ

ว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน และรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 461

โจทก์ไม่ได้ยิน

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน และรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน และได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน รังเกียจ และได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์ไม่รังเกียจ

ภิกษุผู้โจทก์ไม่รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ และได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ และได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 462

ภิกษุผู้โจทก์ไม่รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ ได้เห็น และได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์เห็น

[๕๕๒] ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้า

โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยินและรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ได้ยิน

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 463

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่

เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้ารังเกียจ และได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์รังเกียจ

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็นและได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 464

โจทก์เห็น สงสัย

[๕๕๓] ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มีความ

สงสัยในสิ่งที่ได้เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย

ถ้าโจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็นและได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

สิ่งที่ได้เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็นและรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

สิ่งที่ได้เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน และรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

โจทก์ได้ยิน สงสัย

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าโจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน และรังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 465

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆคำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยในเรื่อง

ที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน และได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยในเรื่อง

ที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าโจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน รังเกียจและได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์รังเกียจ สังสัย

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้า

โจทเธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจและได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 466

โจทเธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจและได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัย

ในเรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย

ถ้าโจทเธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจ ได้เห็นและได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิก-

ธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ไม่เห็น สั่งให้โจทว่าได้เห็น

[๕๕๔] ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้า

สั่งให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์ไม่ได้ยิน สั่งให้โจทว่าได้ยิน

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 467

โจทก์ไม่รังเกียจ สั่งให้โจทว่ารังเกียจ

ภิกษุผู้โจทก์ไม่รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ไม่เห็น สั่งให้โจท

[๕๕๕] ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้า

สั่งให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 468

โจทก์ไม่ได้ยิน สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้รังเกียจ ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ไม่ได้รังเกียจ สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้

โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณะก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 469

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ไม่ได้รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้เห็น ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์ได้เห็น สั่งให้โจท

[๕๕๖] ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่ง

ให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรม

ก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 470

โจทก์ได้ยิน สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์รังเกียจ สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่าน

ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 471

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

โจทก์เห็น สงสัย สั่งให้โจท

[๕๕๗] ภิกษุผู้โจทได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มี

ความสงสัยในสิ่งที่เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย

ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

สิ่งที่เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้เห็นภิกษุผู้กำลังต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

สิ่งที่เห็น คือเห็นแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยิน ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 472

โจทก์ได้ยิน สงสัย สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่งให้

โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้รังเกียจ ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยในเรื่อง

ที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่งให้โจท

เธอว่า ข้าพเจ้าได้ยิน ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์ได้ยินว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยในเรื่อง

ที่ได้ยิน คือได้ยินแล้วกำหนดไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า

ข้าพเจ้าได้ยิน ได้รังเกียจ ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทก์รังเกียจ สงสัย สั่งให้โจท

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่ง

ให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้เห็น ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 473

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

เรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย ถ้าสั่ง

ให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้ารังเกียจ ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์รังเกียจว่า ภิกษุต้องปาราชิกธรรม มีความสงสัยใน

ในเรื่องที่รังเกียจ คือรังเกียจแล้วกำหนดไม่ได้ ระลึกไม่ได้ ลืมเสีย

ถ้าสั่งให้โจทเธอว่า ข้าพเจ้าได้รังเกียจ ได้เห็น ได้ยิน ท่านเป็นผู้ต้อง

ปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

ความเห็น ๔ อย่าง

[๕๕๘] จำเลยเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ โจทก์มีความเห็นว่า เป็นผู้

บริสุทธิ์ ๑

จำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์ โจทก์มีความเห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ๑

จำเลยเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ โจทก์มีความเห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ๑

จำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์ โจทก์มีความเห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ๑.

[๕๕๙] ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้ไม่

บริสุทธิ์ ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 474

เธอก่อนแล้วโจทเธอ หมายจะให้เคลื่อน ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติ

สังฆาทิเสส

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ถ้า

ภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะให้เคลื่อน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ถ้า

ภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท*

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ถ้า

ภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท.

[๕๖๐] ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้

บริสุทธิ์ ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอ

ก่อนแล้วโจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์ ถ้า

ภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้ว

โจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะ

โอมสวาท

* โอมสวาท คือคำพูดเสียดแทงให้เจ็บใจ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 475

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้ว

โจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท.

[๕๖๑] ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้ไม่

บริสุทธิ์ ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอ

ก่อนแล้วโจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้ว

โจทเธอ หมายจะด่า ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้ว

โจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะ

โอมสวาท

ภิกษุต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ถ้า

ภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท.

[๕๖๒] ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้

บริสุทธิ์ ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอก่อน

แล้วโจทเธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติสังฆาทิเสส

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 476

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ไม่ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจท

เธอ หมายจะด่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท

ภิกษุไม่ต้องปาราชิกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์

ถ้าภิกษุผู้โจทก์เห็นว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ ขอโอกาสต่อเธอก่อนแล้วโจทเธอ

หมายจะด่า ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ในเพราะโอมสวาท.

อนาปัตติวาร

[๕๖๓] ภิกษุจำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์ ภิกษุโจทก์มีความเห็นว่าเป็นผู้

ไม่บริสุทธิ์ ๑ ภิกษุจำเลยเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ภิกษุโจทก์มีความเห็นว่าเป็น

ผู้ไม่บริสุทธิ์ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สิกขาบทที่ ๘ จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๘

ปฐมทุฏฐโทสสิกขาบทวรรณนา

ทุฏฐโทสสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

พึงทราบวินิจฉัยในทุฏฐโทสสิกขาบทนั้น ดังนี้

[ประวัติพระเวฬุวันวิหาร]

คำว่า เวฬุวัน ในคำว่า เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป เป็นชื่อแห่ง

อุทยานนั้น. ได้ยินว่า อุทยานนั้นได้ล้อมรอบไปด้วยกอไผ่และกำแพงสูง

๑๘ ศอก ประกอบด้วยเชิงเทิน (ซุ้มประตู) และป้อม มีสีเขียวชอุ่ม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 477

เป็นที่รื่นรมย์ใจ. ด้วยเหตุนั้น จึงเรียกกันว่า เวฬุวัน. อนึ่ง ชนทั้งหลาย

ได้ให้เหยื่อแก่พวกกระแตในอุทยานนี้, ด้วยเหตุนั้น อุทยานนั้น จึงชื่อว่า

กลันทกนิวาปะ.

ได้ยินว่า ในกาลก่อน พระราชาพระองค์หนึ่ง ได้เสด็จประพาส

ณ อุทยานนั้นทรงมึนเมาเพราะน้ำจัณฑ์แล้ว บรรทมหลับกลางวัน. แม้

บริวารของพระองค์ ก็พูดกันว่า พระราชาบรรทมหลับแล้ว ถูกดอกไม้

และผลไม้เย้ายวนใจอยู่ จึงพากันหลีกไปทางโน้นทางนี้. ขณะนั้น

งูเห่า เลื้อยออกมาจากต้นไม้มีโพรงต้นใดต้นหนึ่ง เพราะกลิ่นสุรา เลื้อย

มุ่งหน้าตรงมาหาพระราชา รุกขเทวดาเห็นงูเห่านั้นแล้วคิดว่า เราจักถวาย

ชีวิตแด่พระราชา จึงแปลงเพศเป็นกระแตมาทำเสียงร้องที่ใกล้พระกรรณ

แห่งพระราชา. พระราชาทรงตื่นบรรทม. งูก็เลื้อยกลับไป. ท้าวเธอ

ทอดพระเนตรเห็นเหตุนั้นแล้ว ทรงดำริว่า กระแตนี้ให้ชีวิตเรา จึงเริ่ม

ต้นเลี้ยงเหยื่อแก่กระแตทั้งหลาย และทรงให้ประกาศพระราชทานอภัยแก่

ฝูงกระแตในอุทยานนั้น เพราะฉะนั้น เวฬุวันนั้น จึงถึงอันนับว่า

กลันทกนิวาปะ (เป็นที่เลี้ยงเหยื่อแก่กระแต) จำเดิมแต่กาลนั้นมา. แท้

จริง คำว่า กลันทกะ นี้ เป็นชื่อของพวกกระรอกกระแต.

[แก้อรรถเรื่องพระทัพพมัลลบุตร]

คำว่า ทัพพะ เป็นนามแห่งพระเถระนั้น.

บทว่า มลฺลปุตฺโต แปลว่า เป็นโอรสของเจ้ามัลลราช.

คำว่า ชาติยา สตฺตวสฺเสน อรหตฺต สจฺฉิกต มีความว่า ได้ยิน

ว่า พระเถระบัณฑิตพึงทราบว่า มีอายุเพียง ๗ ขวบ เมื่อบรรพชา ได้

ความสังเวชแล้วบรรลุพระอรหัตผล ในขณะปลงผมเสร็จนั่นเทียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 478

คำว่า ยงฺกกิญฺจ สาวเกน ปตฺตพฺพ สพฺพ เตน ปตฺตพฺพ มีความว่า

คุณชาตินี้ คือ วิชชา ๓ ปฏิสัมภิทา ๔ อภิญญา ๖ โลกุตรธรรม ๙

ชื่อว่า อันสาวกพึงบรรลุ, คุณชาตินั้น ย่อมเป็นอันพระเถระนั้นบรรลุ

แล้วทุกอย่าง.

คำว่า นตฺถิ จสฺส กิญฺจิ อุตฺตริกรณีย มีความว่า บัดนี้ กิจที่

จะพึงทำให้ยิ่งขึ้นไปน้อยหนึ่ง ไม่มีแก่พระเถระนั้น เพราะกิจ ๑๖ ประการ

ในอริยสัจ ๔ อัน ท่านกระทำเสร็จแล้วด้วยมรรค ๔.

คำว่า กตสฺส วา ปฏิจโย มีความว่า แม้การจะเพิ่มเติมกิจที่

กระทำเสร็จแล้วนั้นก็ไม่มี เหมือนกับผ้าที่ซักแล้ว ไม่ต้องซักซ้ำอีก

เหมือนของหอมที่บดแล้ว ไม่ต้องบดซ้ำอีก และเหมือนดอกไม้ที่บานแล้ว

ไม่กลับบานอีกฉะนั้นแล.

บทว่า รโหคตสฺส ได้แก่ ไปในที่สงัด.

บทว่า ปฏิสลฺลีนสฺส ได้แก่ หลีกจากอารมณ์นั้น ๆ แล้วเร้นอยู่.

มีคำอธิบายว่า ถึงความเป็นผู้โดดเดี่ยว.

ข้อว่า อถโข อายสฺมโต ทพฺพสฺส มลฺลปุตฺตสฺส เอตทโหสิ

ยนฺนูนาห สงฺฆสฺส เสนาสนญฺจ ปญฺาเปยฺย ภตฺตานิ จ อุทฺทิเสยฺย

มีความว่า ได้ยินว่า พระเถระเห็นว่า กิจของตนกระทำเสร็จแล้ว จึงดำริว่า

เรายังทรงไว้ซึ่งสรีระสุดท้ายอันนี้, ก็แลสรีระสุดท้ายนั้น ดำรงอยู่ในทาง

แห่งความเป็นของไม่เที่ยง ไม่นานนักก็จะดับไปเป็นธรรมดา ดุจประทีป

ตั้งอยู่ทางลมฉะนั้น, เราควรจะกระทำการขวนขวายแก่สงฆ์ ตลอดเวลา

ที่ยังไม่ดับ อย่างไรหนอแล ? พลางพิจารณาเห็นอย่างนั้นว่า เหล่ากุลบุตร

เป็นอันมาก ในแคว้นนอกทั้งหลาย บวชไม่ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 479

เลย, ท่านเหล่านั้น ย่อมพากันมาแม้จากที่ไกล ด้วยหวังใจว่า เรา

ทั้งหลายจักเฝ้าแหน จักถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า บรรดากุลบุตรนั้น

เสนาสนะไม่เพียงพอแก่ท่านพวกได, ท่านพวกนั้น ต้องนอนแม้บน

แผ่นศิลา, ก็แล เราย่อมอาจเพื่อนิรมิตเสนาสนะ มีปราสาท วิหาร เพิงพัก

เป็นต้น พร้อมทั้งเตียงตั้งและเครื่องลาดให้ตามอำนาจความปรารถนาของ

กุลบุตรเป็นอันมากเหล่านั้น ด้วยอานุภาพของตน และในวันรุ่งขึ้น

บรรดากุลบุตรเหล่านี้ บางเหล่ามีกายเหน็ดเหนื่อยเหลือเกิน, กุลบุตร

พวกนั้นจะยืนข้างหน้าภิกษุทั้งหลาย แล้วให้เเจกแม้ซึ่งภัตตาหารด้วย

คารวะหาได้ไม่, ก็เราแลอาจแจกแม้ซึ่งภัตตาหารแก่กุลบุตรเหล่านั้นได้.

ครั้งนั้นแล ท่านพระทัพพมัลลบุตรผู้พิจารณาอยู่อย่างนี้ ได้มีความตกลง

ใจนี้ว่า ผิฉะนั้น เราควรแต่งตั้งเสนาสนะ และแจกภัตตาหารแก่สงฆ์.

ถามว่า ก็ฐานะทั้ง ๒ ประการนี้ ควรแก่ภิกษุผู้ตามประกอบแต่

ความยินดีในการพูดเป็นต้น มิใช่หรือ ? ส่วนท่านพระทัพพมัลลบุตรนี้

เป็นพระขีณาสพ ไม่มีความยินดีในธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า, เพราะเหตุไร

ฐานะ ๒ ประการนี้ จึงปรากฎแจ่มแจ้งแก่ท่านผู้มีอายุนี้เล่า ?

ตอบว่า เพราะความปรารถนาในปางก่อนกระตุ้นเตือน.

ได้ยินว่า พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ทรงมีเหล่าพระสาวกผู้บรรลุ

ฐานันดรนี้เหมือนกัน, และท่านพระทัพพมัลลบุตรนี้ เกิดชาติปางหลัง

ในตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า

ปทุมุตตระ เห็นอานุภาพของภิกษุผู้บรรลุฐานันดรนี้ นิมนต์พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าพร้อมด้วยภิกษุ ๖๘๐,๐๐๐ รูป ถวายมหาทานตลอด ๗ วัน แล้ว

หมอบลงแทบบาทมูล ได้กระทำความปรารถนาว่า ในกาลแห่งพระ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 480

พุทธเจ้าเช่นกับพระองค์บังเกิดขึ้นในอนาคต แม้ข้าพระองค์ พึงเป็นผู้

แต่งตั้งเสนาสนะและภัตตุทเทสกะ เหมือนสาวกของพระองค์ผู้มีชื่อนี้.

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอดส่องอนาคตังสญาณไป ได้ทอดพระเนตรเห็น

แล้ว. ก็แลครั้นทอดพระเนตรเห็นแล้ว จึงได้ทรงพยากรณ์ว่า โดยกาล

ล่วงไปแห่งแสนกัปแต่กัปนี้ พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่าโคดมจักทรง

อุบัติขึ้น. ในกาลนั้นท่านจักเกิดเป็นบุตรของมัลลกษัตริย์นามว่า ทัพพะ

มีอายุ ๗ ขวบโดยกำเนิด จักออกบรรพชา แล้วกระทำให้แจ้งซึ่งพระ-

อรหัตผล และจักได้ฐานันดรนี้. จำเดิมแต่นั้นมาท่านบำเพ็ญกุศลมีทาน

ศีล เป็นต้นอยู่ ได้เสวยสมบัติในเทวดาและมนุษย์ ในกาลแห่งพระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าของเรา ได้กระทำให้แจ้งพระอรหัตผลเช่นกับพระผู้มี-

พระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงพยากรณ์แล้วนั่นแล. ลำดับนั้น เมื่อท่าน

พระทัพพมัลลบุตรผู้อยู่ในที่สงัด ดำริอยู่ว่า เราพึงทำการขวนขวายแก่สงฆ์

อย่างไรหนอแล ฐานะ ๒ นี้ปรากฎแจ่มแจ้งแล้ว เพราะความปรารถนา

ในปางก่อนนั้น กระตุ้นเตือน ฉะนี้แล.

ครั้งนั้น ท่านได้มีความรำพึงนี้ว่า เราแล ไม่เป็นอิสระในตนเอง,

เราอยู่ในสำนักเดียวกับพระศาสดา, ถ้าหากพระผู้มีพระภาคเจ้าจักทรง

อนุญาตให้เราไซร้, เราจักสมาทานฐานะทั้ง ๒ นี้ แล้วได้เข้าไปเฝ้าพระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า. เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงได้กล่าวว่า

อถโข อายสฺมา ทพฺโพ มลฺลปุตฺโต ฯ เป ฯ ภตฺตานิ จ อุทฺทิสิตุ

ดังนี้.

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงยังท่านพระทัพพมัลลบุตรนั้น

ให้รื่นเริงด้วยพระดำรัสว่า ดีละ ดีแล้ว ทัพพะ ! จึงตรัสว่า ดูก่อน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 481

ทัพพะ ! ถ้าเช่นนั้น เธอจงแต่งตั้งเสนาสนะและแจกภัตตาหารแก่สงฆ์

เถิด, เพราะว่า ภิกษุผู้ห่างไกลจากการลำเอียงเพราะอคติเห็นปานนี้ ย่อม

สมควรจัดการฐานะทั้ ง ๒ นี้.

สองบทว่า ภควโต ปจฺจสฺโสสิ มีความว่า ท่านพระทัพพมัลลบุตร

กราบทูลรับสนองพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ ทูลรับสนองตรง

พระพักตร์. มีคำอธิบายว่า ทูลรับสนองตอบ.

ในคำว่า ปม ทพฺโพ ยาจิตพฺโพ นี้ มีคำถามว่า พระผู้มี-

พระภาคเจ้าทรงให้ขอ เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพื่อจะป้องกันความครหานินทา.

จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นว่า ในอนาคต อุปัทวะใหญ่

จักบังเกิดแก่ทัพพะ ด้วยอำนาจแห่งภิกษุชื่อเมตติยะและภุมมชกะเพราะ

อาศัยฐานะนี้, บรรดาภิกษุเหล่านั้น บางพวกจักตำหนิว่า ท่านทัพพะนี้

เป็นผู้นิ่งเฉย, ไม่ทำการงานของตน มาจัดการฐานะเช่นนี้เพราะเหตุไร ?

ลำดับนั้น ภิกษุพวกอื่นจักกล่าวว่า โทษอะไรของท่านผู้นี้, ท่านผู้นี้

อันภิกษุเหล่านั้นแลขอตั้งแล้ว, เธอจักพ้นจากความครหานินทาด้วยอาการ

อย่างนี้. แม้ครั้นให้ขอเพื่อเปลื้องความครหาอย่างนี้แล้ว เพราะเมื่อภิกษุ

ที่สงฆ์ไม่ได้สมมติซ้ำอีก กล่าวคำอะไร ๆ ในท่ามกลางสงฆ์จะเกิดการบ่นว่า

เป็นธรรมดาว่า เพราะเหตุไร ท่านผู้นี้จึงกระทำเสียงดัง แสดงความเป็น

ใหญ่ในท่ามกลางสงฆ์เล่า ? แต่เมื่อภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้วพูด จะมีผู้กล่าว

ว่า พวกท่านอย่าได้พูดอะไร ๆ, ท่านผู้นี้สงฆ์สมมติแล้ว จงพูดได้ตาม

สบายเถิด, และภิกษุผู้กล่าวตู่ผู้ที่สงฆ์มิได้สมมติด้วยคำไม่จริง เป็นอาบัติเบา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 482

เพียงทุกกฏ. แต่ผู้กล่าวตู่ภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว เป็นอาบัติปาจิตตีย์ที่หนัก

กว่า, ทีนั้นภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว จะเป็นผู้ถูกพวกภิกษุแม้ผู้จองเวรกำจัด

ได้ยากยิ่ง เพราะเป็นอาบัติหนัก ฉะนั้น เพื่อจะให้สงฆ์สมมติท่านผู้มีอายุ

นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า พยตฺเตน ภิกฺขุนา เป็นต้น.

ถามว่า ก็การให้สมมติ ๒ อย่าง แก่ภิกษุรูปเดียวควรหรือ ?

ตอบว่า มิใช่แต่เพียง ๒ อย่างเท่านั้น, ถ้าสามารถ จะให้สมมติ

ทั้ง ๑๓ อย่าง ก็ควร. แต่เมื่อภิกษุทั้งหลายไม่สามารถ แม้สมมติอย่างเดียว

ก็ไม่สมควรให้แก่ภิกษุ ๒ หรือ ๓ รูป.

บทว่า สภาคาน มีความว่า ผู้เสมอกันด้วยคุณ ไม่ใช่ผู้เสมอกัน

โดยเป็นมิตรสนิทสนมกัน. ด้วยเหตุนั้นนั่นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง

ตรัสว่า เย เต ภิกฺขู สุตฺตนฺติกา เตส เอกชุณ เป็นต้น. ก็ภิกษุ

ผู้ทรงพระสูตรมีจำนวนเท่าใด, ท่านทัพพะคัดเลือกภิกษุเหล่านั้นแต่งตั้ง

เสนาสนะอันสมควรแก่ภิกษุเหล่านั้นแลรวมกัน, แก่พวกภิกษุที่เหลือ

ก็อย่างนั้น.

บทว่า กายทฬฺหีพหุลา ได้แก่ เป็นผู้มากไปด้วยการกระทำ

ร่างกายให้แข็งแรง, อธิบายว่า เป็นผู้มากไปด้วยการบำรุงร่างกาย.

ข้อว่า อิมายปิเม อายสฺมนฺโต รตฺติยา ได้แก่ ด้วยความยินดี

ในดิรัจฉานกถาอันเป็นเหตุขัดขวางต่อทางสวรรค์นี้.

บทว่า อจฺฉิสฺสนฺติ แปลว่า จักอยู่.

ข้อว่า เตฌชธาตุ สมาปชฺชิตฺวา เตเนวาโลเกน มีความว่า ท่าน

ผู้มีอายุนั้น เข้าจตุตถฌาน มีเตโชกสิณเป็นอารมณ์ ออกแล้วอธิษฐาน

นิ้วมือให้สว่างด้วยอภิญญาญาณ (แต่งตั้งเสนาสนะ) ด้วยแสงสว่างที่โพลง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 483

จากนิ้วมือ อันเตโชธาตุสมาบัติให้เกิดแล้วนั้น. ก็อานุภาพของพระเถระ

อย่างนั้น ได้ปรากฏแล้ว ในสกลชมพูทวีป ต่อกาลไม่นานนัก. ชน

ทั้งหลายสดับข่าวนั้น อยากเห็นอิทธิปาฏิหาริย์ของท่าน ได้พากันมา.

พวกภิกษุแกล้งมาในเวลาวิกาลบ้าง ก็มี.

ข้อว่า เต สญฺจจิจ ทูเร อปทิสนฺติ มีความว่า ภิกษุเหล่านั้น

ทั้งที่รู้อยู่ ก็พากันอ้างถึงสถานทีไกล ๆ.

คือ อย่างไร ?

คือ อ้างเอาโดยนัยนี้ว่า พระคุณเจ้าทัพพะ ! ขอท่านจงแต่งตั้ง

เสนาสนะให้พวกกระผมที่เขาคิชฌกูฏ ดังนี้ เป็นต้น.

คำว่า องฺคุลิยา ชลมานาย ปุรโต ปุรโต คจฺฉติ มีความว่า

ถ้ามีภิกษุรูปเดียว, ท่านไปเอง ถ้ามีหลายรูป, ท่านนิรมิตอัตภาพเป็นอัน

มาก ให้เป็นเช่นเดียวกับตนของท่านทั้งหมด.

ก็ในคำว่า เสนาสน ปญฺาเปติ อย มญฺโจ เป็นต้น มีวินิจฉัย

ดังนี้:- เมื่อพระเถระกล่าวว่า นี้เตียง แม้อัตภาพทีนิรมิตก็กล่าวว่า นี้เตียง

ในที่แห่งตน ๆ ไปถึงแล้ว. แม้ในบททั้งปวงก็อย่างนั้น จริงอยู่ ปกตินี้

เป็นธรรมดาของอัตภาพนิรมิต คือ:-

เมื่อผู้มีฤทธิ์คนเดียวพูด อัตภาพนิรมิตทั้งหมด

ก็พูดด้วย เมื่อผู้มีฤทธิ์คนเดียวนั่งนิ่ง อัตภาพนิรมิต

เหล่านั้นทั้งหมด ก็นิ่งด้วย.

ก็ในวิหารใด เตียง ตั่ง เป็นต้น ไม่สมบูรณ์, ท่านย่อมให้บริบูรณ์

ด้วยอานุภาพของตน, การพูดนอกเรื่องของอัตภาพที่พระเถระนั้นนิรมิต

ย่อมไม่มี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 484

คำว่า เสนาสน ปญฺาเปตฺวา ปุนเทว เวฬุวน ปจฺจาคจฺฉติ

มีความว่า ท่านย่อมไม่นั่งคุยเรื่องชนบทกับภิกษุเหล่านั้น กลับนาสู่ที่อยู่

ของตนทันที.

[แก้อรรถเรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ]

บทว่า เมตฺติยภุมฺมชกา ได้แก่ ภิกษุเหล่านี้ คือ ภิกษุชื่อเมตติยะ ๑

ภิกษุชื่อภุมมชกะ ๑ เป็นบุรุษชั้นหัวหน้าแห่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์.

สองบทว่า ลามกานิ จ ภตฺตานิ ได้แก่ ข้อนี้ คือ เสนาสน ะ

อันเลวทราม ถึงแก่พวกภิกษุใหม่ก่อน ไม่เป็นข้อที่น่าอัศจรรย์เลย. แต่

ภิกษุทั้งหลายใส่สลากไว้ในกระเช้า หรือขนดจีวร เคล้าคละกันแล้วจับ

ขึ้นทีละอัน ๆ แจกภัตให้ไป, ภัตแม้เหล่านั้นเป็นของเลวด้อยกว่าเขาทั้งหมด

ย่อมถึงแก่ภิกษุเมตติยะและภุมมชกะนั้น เพราะเป็นผู้มีบุญน้อย.

ภัตที่ควรแจกให้ถึงตามลำดับคราวหนึ่งแม้ใด ชื่อว่า เอกวาริกภัต

เป็นของประณีตแสนจะประณีต พึงประมวลให้แจกตั้งแต่พระเถระจนถึง

พระนวกะ, แม้ภัตนั้น ในวันที่ถึงแก่ภิกษุเมตติยะและภุมมชกะนี้กลายเป็น

ของเลว หรือพวกชาวบ้านพอเห็นภิกษุ ๒ รูปนั้น ไม่ถวายของประณีต

กลับถวายของเลว ๆ.

บทว่า อภิสงฺขริก ได้แก่ อันเขาปรุงผสมด้วยเครื่องปรุงต่าง ๆ.

อธิบายว่า อันเขาตระเตรียมด้วยดี คือให้สำเร็จด้วยดี.

บทว่า กาณาชก ได้แก่ ข้าวปนรำ.

บทว่า พิลงฺคทุติย ได้แก่ คู่กับน้ำผักดอง.

บทว่า กลฺยาณภตฺติโก มีความว่า ภัตอย่างดี คือที่อร่อยแสน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 485

จะประณีตของอุบาสกนั้น มีอยู่, เพราะเหตุนั้น อุบาสกนั้นจึงชื่อว่า

กัลยาณภัตติกะ อุบาสกนั้น ปรากฏชื่อตามภัตนั่นแล เพราะเป็นผู้ถวาย

ภัตประณีต.

สองบทว่า จตุกฺกภตฺต เทติ ได้แก่ ถวายภัตตาหารวันละ ๔ ที่.

แต่โดยโวหารแห่งตัทธิตท่านกล่าวว่า จตุกภัต.

สองบทว่า อุปติฏฺฐิตฺวา ปริวิสติ มีความว่า อุบาสกนั้นสละการ

งานทั้งหมด กระทำการบูชาและสักการะ แล้วยืนอังคาสอยู่ในที่ใกล้ๆ.

สองบทว่า โอทเนน ปุจฺฉนฺติ มีความว่า พวกคนถือข้าวสุกเข้า

ไปหาแล้ว ถามว่า กระผมจะถวายข้าวสุก หรือขอรับ ? อย่างนี้ เป็น

ตติยาวิภัตติ ลงโนอรรถแห่งกรณะ. ในสูปะเป็นต้นก็มีนัยอย่างนี้.

บทว่า สฺวาตนาย มีความว่า การฉันภัตตาหารอันมีในวันพรุ่งนี้

ชื่อว่า สวาตนะ เพื่อประโยชน์แก่การฉันภัตตาหารในวันพรุ่งนี้นั้น ชื่อว่า

สฺวาตนาย. มีคำอธิบายว่า เพื่อประโยชน์แก่การฉันภัตตาหาร ที่ควร

กระทำในวันรุ่งขึ้น.

สองบทว่า อุทฺทิฏ โหติ ได้แก่ เป็นของอันภัตตุทเทสก์ถวาย

ให้ถึงแล้ว.

พระเถระไม่ได้คำนึงถึง จึงกล่าวคำนี้ว่า เมตฺติยภุมฺมชกาน โข

คหปติ ดังนี้.

จริงอยู่ ความที่ภิกษุเมตติยะและภุมมชกะนั้น เป็นผู้มีบุญน้อย มี

พลังอย่างนี้ แม้พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยความเป็นผู้มีสติ

อันไพบูลย์ ก็ไม่มีความคำนึงถึง.

ด้วยคำว่า เช ในคำว่า เย เช นี้ คหบดี ร้องเรียกนางทาสี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 486

ข้อว่า หีโย โข อาวุโส อมฺหาก มีความว่า ภิกษุเมตติยะและ

ภุมมชกะ ปรึกษากันตลอดราตรี กล่าวหมายถึงส่วนแห่งวันที่ล่วงแล้วว่า

หีโย (วันวาน).

บทว่า น จิตูตรูป ได้แก่ ไม่สมใจนึก. ภิกษุทั้งสองนั้นจำวัด

ไม่หลับ เหมือนอย่างที่ตนเคยจำวัดหลับเท่าที่ตนต้องการในก่อน. มีคำ

อธิบายว่า จำวัดได้นิดหน่อยเท่านั้น.

บทว่า พหารามโกฏฺเก ได้แก่ ภายนอกซุ้มประตูแห่งพระเวฬุ-

วันวิหาร.

บทว่า ปตฺตกขนฺธา ได้แก่ มีคอตก คือ นั่งงอกระดูกคอ

(นั่งคอพับ).

บทว่า ปชฺณายนฺตา ได้แก่ ซบเซาอยู่.

คำว่า ยโต นีวาต ตโต ปวาต มีความว่า ณ ที่ใดอับลม คือ

ไม่มีลมแม้แต่น้อย, ณ ที่นั้นเกิดมีลมพัดแรงขึ้น.

คำว่า อุทก มญฺเ อาทิตฺต ได้แก่ เหมือนน้ำถูกต้มให้เดือด.

[พระทัพพมัลลบุตรถูกสอบสวน]

ข้อว่า สรสิ ตฺว ทพฺพ เอวรูป กตฺต ความว่า ดูก่อนทัพพะ !

เธอผู้ทำกรรมเห็นปานนี้ ยังระลึกได้อยู่หรือ ? อีกอย่างหนึ่ง ความว่า

ดูก่อนทัพพะ ! เธอยังระลึกคำอย่างที่นางภิกษุณีกล่าวหาได้อยู่หรือ ? ก็

ในคำนี้ บัณฑิตพึงประกอบเห็นใจความอย่างนี้ว่า เธอเป็นผู้กระทำกรรม

อย่างที่นางภิกษุณีนี้กล่าวหาหรือ ? แต่ปาฐะของพวกอาจารย์ผู้สวดว่า

ภตฺวา ปรากฏตรงทีเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 487

ด้วยคำว่า ยถา ม ภนฺเต ภควา ชานาติ นี้ พระเถระทูลชี้แจง

ว่าอย่างไร ? ทูลชี้แจงว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงเป็นพระสัพพัญญู และข้าพระองค์ก็เป็นพระขีณาสพ, การเสพวัตถุ-

กามไม่มีแก่ข้าพระองค์เลย, พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมทรงทราบข้าพระองค์-

นั้น, ข้าพระองค์จักต้องกล่าวอะไรในการเสพวัตถุกามนั้นเล่า ? พึงทราบ

ข้าพระองค์เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบนั่นแล.

ในคำว่า น โข ทพฺพ ทพฺพา เอว นิพฺเพเนฺติ นี้ บัณฑิตพึง

เห็นใจความอย่างนี้ว่า ดูก่อนทัพพะ ! ผู้ฉลาด คือบัณฑิต ย่อมไม่กล่าวหา

เหมือนอย่างที่เธอกล่าวแก้คำกล่าวหา เพราะมีผู้อื่นเป็นปัจจัย (เพราะเชื่อ

ผู้อื่น), อนึ่งแล บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมกล่าวแก้คำกล่าวหาด้วยกรรมที่ตน

รู้เองทั้งนั้น.

ด้วยคำว่า สเจ ตยา กต นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า

อย่างไร ? ทรงแสดงว่า เพราะว่า ใคร ๆ ไม่อาจทำบุคคลผู้ไม่ได้ทำ

(ผิด) ให้เป็นผู้ทำ (ผิด) หรือผู้ทำ (ผิด) ให้เป็นผู้ไม่ทำ (ผิด) ด้วย

กำลังคน หรือด้วยกำลังสนับสนุนของพรรคพวกได้; เพราะเหตุนั้น

กรรมใดที่ตนทำเอง หรือมิได้กระทำก็ตาม ควรพูดแต่กรรมนั้นเท่านั้น.

ถามว่า ก็เพราะเหตุไร ? พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ทรงทราบอยู่

แต่ไม่ตรัสว่า เรารู้อยู่ เธอเป็นพระขีณาสพ, โทษของเธอไม่มี ภิกษุณี

นี้กล่าวเท็จ.

แก้ว่า เพราะทรงมีความเอ็นดูผู้อื่น. ก็ถ้าว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า

พึงตรัสทุก ๆ เรื่องที่พระองค์ทรงทราบ, พระองค์ถูกผู้อื่นซึ่งต้องปาราชิก

แล้วถาม จำต้องตรัสคำว่า เรารู้อยู่, เธอเป็นปาราชิก. แต่นั้น บุคคลนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 488

พึงผูกอาฆาตว่า เมื่อก่อนพระผู้มีพระภาคเจ้านี้ ทรงทำให้พระทัพพ-

มัลลบุตรบริสุทธิ์ ได้ บัดนี้ทรงทำเราให้เป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ได้, ต่อไปนี้

เราจะพูดอะไรแก่ใครได้เล่า ? ในฐานะที่แม้พระศาสดายังทรงถึงความ

ลำเอียงในหมู่สาวก, ความเป็นพระสัพพัญญูของพระศาสดานี้ จักมีแต่ที่

ไหนเล่า ? ดังนี้แล้ว ต้องเป็นผู้เข้าถึงอบาย. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงทราบอยู่ก็ไม่ตรัส เพราะทรงมีความเอ็นดูผู้อื่นนี้. มีคำที่ควร

กล่าวเพิ่มเติมอีกเล็กน้อย พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัส เพราะทรงหลีก

เลี่ยงคำค่อนขอด.

ก็ถ้าว่า พระะผู้มีพระภาคเจ้า พึงตรัสอย่างนี้, จะพึงมีการกล่าว

ค่อนขอดอย่างนี้ว่า ชื่อว่า การออกจากอาบัติของพระทัพพมัลลบุตรหนัก.

แต่ได้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นสักขีพยานจึงออกได้. และพวกปาปภิกษุ

เข้าใจลักษณะแห่งการออกจากอาบัตินี้ อย่างนี้ว่า ถึงในครั้งพุทธกาล

ความบริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์ ย่อมมีได้ด้วยพยาน, พวกเรารู้อยู่, บุคคล

นี้เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ดังนี้ พึงทำให้ภิกษุ แม้ผู้มีความละอายพินาศแล.

อีกนัยหนึ่ง แม้ในอนาคต พวกภิกษุเมื่อเรื่องวินิจฉัยแล้ว จักให้โจทก์

โจท แล้วให้จำเลยให้การว่า ถ้าท่านทำ จงกล่าวว่า ข้าพเจ้าทำ แล้ว

ถือเอาแต่ปฎิญญาของพวกลัชชีภิกษุ กระทำกรรม; เพราะเหตุนั้น พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงตั้งแบบแผนในลักษณะแห่งวินัย จึงไม่ตรัสว่า

เรารู้อยู่ ตรัสว่า ถ้าเธอทำ จงกล่าวว่า ข้าพเจ้าทำ ดังนี้.

ข้อว่า นาภิชานามิ สุปินนฺเตนปิ เมถุน ธมฺม ปฏิเสวิตา มีความ

ว่า แม้โดยความฝันข้าพระองค์ก็ยังไม่รู้จักเสพเมถุนธรรม มีคำอธิบายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 489

ข้าพระองค์มิได้เสพ. อีกอย่างหนึ่ง มีรูปความที่ท่านกล่าวไว้ว่า ข้า-

พระองค์ไม่รู้จักเมถุนธรรม แม้โดยความฝันว่าเป็นผู้เสพ. แต่ปาฐะของ

พวกอาจารย์ผู้สวดว่า ปฏิเสวิตฺวา ปรากฏตรงทีเดียว.

คำว่า ปเคว ชาคโร มีความว่า ก็ข้าพระองค์ตื่นอยู่ ไม่รู้จักมา

ก่อนทีเดียว.

คำว่า เตนหิ ภิกฺขเว เมตฺตย ภิกฺขุนึ นาเสถ มีคำอธิบายว่า

เพราะคำของพระทัพพมัลลบุตรและภิกษุณีเมตติยานี้ ไม่เชื่อมต่อกัน;

ฉะนั้น พวกเธอจงนาสนะภิกษุณีเมตติยาเสีย. ในคำนั้น นาสนะมี ๓ อย่าง

คือ ลิงคนาสนะ ๑ สังวาสนาสนะ ๑ ทัณฑกัมมนาสนะ ๑. บรรดานาสนะ

เหล่านั้น นาสนะนี้ว่า สามเณรผู้ประทุษร้าย (นางภิกษุณี) สงฆ์พึงให้

ฉิบทายเสีย ชื่อว่า ลิงคนาสนะ. พวกภิกษุทำอุกเขปนียกรรม เพราะไม่

เห็น หรือไม่ทำคืนอาบัติก็ดี เพราะไม่สละทิฎฐิลามกเสียก็ดี นี้ ชื่อสัง-

วาสนาสนะ. พวกภิกษุทำทัณฑกรรม (แก่สมณุเทศ) ว่า เจ้าคนเลว เจ้า

จงไปเสีย จงฉิบทายเสีย นี้ ชื่อทัณฑกัมมนาสนะ. แต่ในฐานะนี้ พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายเอาลิงคนาสนะ จึงตรัสว่า พวกเธอจงนาสนะ

ภิกษุณีเมตติยาเสีย ดังนี้.

ด้วยคำว่า อิเม จ ภิกฺขุ อนุยุญฺชถ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

แสดงพระประสงค์ นี้ว่า ภิกษุณีนี้ มิใช่ผู้กระทำตามธรรมดาของตน คง

ถูกพวกภิกษุอื่นยุยงแน่นอน; เพราะเหตุนั้น พวกเธอจงสอบสวน คือ

จงสืบสวนหา จงรู้ตัวภิกษุผู้ยุยงเหล่านี้.

ถามว่า ก็ภิกษุณีเมตติยา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับสั่งให้สึกเสีย

ด้วยปฏิญญา หรือทรงให้สึกด้วยไม่ปฏิญญา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 490

แก้ว่า ในการทักท้วงนี้ มีคำที่จะต้องกล่าวเพิ่มบ้างเล็กน้อย, ชั้น

แรกถ้าทรงให้สึกด้วยปฏิญญา, พระเถระจะเป็นผู้กระทำ (ผิด), ถ้าทรง

ให้สึกด้วยไม่ปฏิญญา, พระเถระจะเป็นผู้ไม่ทำ (ผิด) ไม่มีโทษ.

[เรื่องตีความหมายบาลีพระวินัยผิดตกลงกันไม่ได้]

แม้ในกาลแห่งพระเจ้าภาติราช พระเถระสำนักมหาวิหารและ

สำนักอภัยติรีวิหาร ได้มีการวิวาทกัน (ถกเถียงกัน) ในเพราะวาทะนี้แล.

ฝ่ายสำนักอภัยติรีวิหาร อ้างสูตรของตนกล่าวว่า ในวาทะของพวกท่าน

พระเถระเป็นผู้ทำ (ผิด). ฝ่ายสำนักมหาวิหารอ้างสูตรของตนกล่าวว่า ใน

วาทะของพวกท่าน พระเถระเป็นผู้ทำ (ผิด). ปัญหาจึงตกลงกันไม่ได้.

พระราชาทรงทราบ (ข่าวัน้น) แล้วรับสั่งให้พระเถระทั้งหลายประชุมกัน

ทรงสั่งบังคับอำมาตย์เชื้อชาติพราหมณ์นามว่า ทีฆการายนะว่า เธอจงฟัง

ถ้อยคำของพระเถระทั้งหลาย. ได้ยินว่า อำมาตย์เป็นบัณฑิต ฉลาดใน

ภาษาอื่น. อำมาตย์นั้นกล่าวว่า ท่านขอรับ ! ขอพระเถระจงกล่าวสูตร

เถิด. ลำดับนั้น พระเถระสำนักอภัยติรีวิหาร ได้กล่าวสูตรของตนว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าเช่นนั้น พวกเธอจงให้นางภิกษุณีเมตติยาสึกเสีย

ด้วยปฎิญญาของตน. อำมาตย์เรียนว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญ ! ในวาทะของ

พวกท่าน พระเถระเป็นผู้ทำ (ผิด) มีโทษ.

ฝ่ายพระเถระสำนักมหาวิหาร ได้กล่าวสูตรของตนว่า ดูก่อนภิกษุ

ทั้งหลาย ! ถ้าเช่นนั้น พวกเธอจงให้นางภิกษุณีเมตติยาสืกเสีย. อำมาตย์

เรียนว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญ ! ในวาทะของพวกท่าน พระเถระไม่ใช่ผู้ทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 491

(ผิด) ไม่มีโทษ. ก็ใน ๒ สูตรนี้ สูตรไหนถูกเล่า ? สูตรที่กล่าวภายหลัง

ถูก, เพราะสูตรนี้ พระอรรถกถาจารย์ทั้งหลายวิจารณ์ไว้แล้ว.

ภิกษุตามกำจัดภิกษุด้วยอันติมวัตถุอันไม่มีมูล เป็นสังฆาทิเสส

ตามกำจัด นางภิกษุณี เป็นทุกกฏ. แต่ในกุรุนทีกล่าวว่า เป็นปาจิตตีย์

เพราะมุสาวาท. ในนัยก่อนและนัยหลังนั้น มีการพิจารณาดังต่อไปนี้:-

นัยต้น เป็นเพียงทุกกฏเท่านั้น ถูกก่อน เพราะมีความประสงค์จะตาม

กำจัด. แม้เมื่อมีการกล่าวเท็จ ก็เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุ ในเพราะภิกษุ

ด้วยกัน และแม้เมื่อมีการกล่าวเท็จ ก็เป็นปาจิตตีย์ เพราะโอมสวาท

เท่านั้น แก่ภิกษุผู้มีความเห็นว่าบริสุทธิ์ โจทภิกษุผู้ไม่บริสุทธิ์ ด้วย

ความประสงค์จะด่า ไม่ใช่เป็นปาจิตตีย์ เพราะสัมปชานมุสาวาท ฉันใด,

แม้ในอธิการนี้ ก็ฉันนั้น เป็นปาจิตตีย์ เพราะสัมปชานมุสาวาท ไม่ถูก

เพราะมีความประสงค์จะตามกำจัด. เป็นเพียงทุกกฏเท่านั้น ถูกแล้ว. แม้

นัยหลัง เป็นปาจิตตีย์อย่างเดียว ก็ถูก เพราะเป็นมุสาวาท. แต่จาก

หลักฐานทางพระบาลี ไม่มีคำว่า เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุ ในเพราะภิกษุ

ด้วยกัน ด้วยความประสงค์จะตามกำจัด, เป็นสังฆาทิเสสในเพราะภิกษุ

ด้วยกัน แก่ภิกษุผู้มีความประสงค์จะด่า เพราะมุสาวาท, แต่เป็นทุกกฏ

แก่ภิกษุผู้มีความประสงค์จะด่า ในเพราะโอมสวาท และเพราะตามกำจัด

นางภิกษุณี, มีคำว่า เป็นปาจิตตีย์ ในเพราะสัมปชานมุสาวาท; เพราะ

เหตุนั้น เป็นปาจิตตีย์อย่างเดียว จึงถูก. ก็ในวาทะนั้นบัณฑิตควรพิจารณา

ดังต่อไปนี้:-

ถามว่า เมื่อไม่มีความประสงค์จะตามกำจัด (โจท) เป็นปาจิตตีย์,

เมื่อมีความประสงค์จะตามกำจัดนั้น จะพึงเป็นอะไรเล่า ?

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 492

แก้ว่า บรรดาปาจิตตีย์และสังฆาทิเสสนั้น เพราะแม้เมื่อสำเร็จเป็น

ปาจิตตีย์ แก่ภิกษุผู้พูดเท็จ พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรงปรับปาจิตตีย์ไว้

ต่างหาก ในเพราะการโจทด้วยสังฆาทิเสสไม่มีมูล; เพราะฉะนั้น เมื่อมี

ความประสงค์จะโจท โอกาสแห่งปาจิตตีย์ ในเพราะสัมปชานมุสาวาท

จึงไม่ปรากฎ และไม่อาจที่จะไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้โจทก์; เพราะฉะนั้น

บรรดานัยทั้งสองนี้ นัยต้นแล ปรากฎว่า บริสุทธิ์กว่า.

อนึ่ง นางภิกษุณีโจทนางภิกษุณีด้วยอันติมวัตถุอันหามูลมิได้ เป็น

สังฆาทิเสส, โจทภิกษุ เป็นทุกกฏ. บรรดาสังฆาทิเสสและทุกกฏนั้น

สังฆาทิเสสเป็นวุฎฐานคามี (ออกได้ด้วยการอยู่กรรม) ทุกกฏเป็นเทสนา-

คามี (ออกได้ด้วยกายแสดง) การนาสนะภิกษุณี เพราะสังฆาทิเสสและ

ทุกกฏเหล่านี้ จึงไม่มี. อนึ่ง นางภิกษุณีเมตติยานั้นยืนกล่าวเท็จต่อพระ-

พักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าใดเล่า ด้วยเหตุนั้น นางจึงเป็นปาจิตตีย์ ใน

เพราะสัมปชานมุสาวาท, เพราะปาจิตตีย์แม้นี้นาสนะก็ไม่มี. แต่เพราะ

นางภิกษุณีเมตติยานั้น ตามปกติแล เป็นภิกษุณีเลวทรามทุศีล, และ

เดี๋ยวนี้นางก็กล่าวด้วยความสำคัญว่า เราเองแล เป็นผู้ทุศีล, เพราะเหตุนั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงรับสั่งให้สึกนางภิกษุณีนั้นเสีย เพราะความเป็นผู้ไม่

บริสุทธิ์นั่นแล.

ข้อว่า อถโข เมตฺติยภุมฺมชกา มีความว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า

ตรัสว่า พวกเธอจงให้นางภิกษุณีเมตติยาสึกเสียอย่างนี้ และจงสอบสวน

ภิกษุเหล่านี้ แล้วเสด็จลุกจากอาสนะเข้าสู่พระวิหาร. ภิกษุเหล่านั้น เห็น

นางภิกษุณีนั้น ถูกภิกษุเหล่านั้นให้สึกอยู่ ด้วยคำว่า พวกท่านจงให้ผ้า

ขาวแก่ภิกษุณีนี้เดี่ยวนี้ จึงได้ประกาศความผิดของตน เพราะเป็นผู้มี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 493

ความประสงค์จะช่วยนางภิกษุณีนั้นให้พ้นผิด. เพื่อแสดงเนื้อความนี้

พระธรรมสังคาหกาจารย์ทั้งหลาย จึงกล่าวคำว่า อถโข เมตฺติยภุมฺมชกา

เป็นอาทิ.

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์สังฆาทิเสสที่ ๘]

สองบทว่า ทุฏฺโ โทโส ได้แก่ เป็นผู้ถูกโทสะประทุษร้ายและ

เป็นผู้ประทุษร้าย. จริงอยู่ เมื่อโทสะเกิดขึ้นแล้ว บุคคลย่อมเป็นผู้ชื่อว่า

ถูกโทสะนั้นประทุษร้ายแล้ว คือ ให้ละความเป็นปกติเสีย; เพราะฉะนั้น

ท่านจึงเรียกว่า ทุฏฐะ (ขัดใจ). และผู้มีความขัดใจนั้น ย่อมประทุษร้าย

ผู้อื่น คือทำผู้อื่นให้พินาศ; เพราะฉะนั้น ท่านจึงเรียกว่า โทสะ. ด้วย

ประการอย่างนี้ คำว่า ทุฏฺโ โทโส นี้ แสดงโดยความต่างแห่งอาการ

ของบุคคลเพียงคนเดียว ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ทุฏฺโ โทโสติ

ทูสิโต เจว ทูสโก จ. ในคำว่า ทุฏฺโ โทโส นั้น ผู้ศึกษาควรค้นหา

ลักษณะแห่งศัพท์. ก็เพราะว่า บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยความแค้นเคืองนั้น

ถึงการนับว่า ขัดใจ มีโทสะ ย่อมเป็นผู้ตั้งอยู่ในความเป็นผู้โกรธเป็นต้น

ทีเดียว; เพราะเหตุนั้น ในบทภาชนะแห่งสองบทว่า ทุฏฺโ โทโส นั้น

ท่านจึงกล่าวคำมีคำว่า กุปิโต เป็นต้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กุปิโต ได้แก่ ถึงภาวะกำเริบ คือภาวะ

ที่เคลื่อนไปจากปกติ.

บทว่า อนตฺตมโน ได้แก่ ผู้ไม่มีใจเป็นของตน คือมีจิตไม่

ตั้งอยู่ในอำนาจของตน. อีกอย่างหนึ่ง ผู้มีใจอันปีติและสุขไม่ซึมซาบ

คือมีจิตตกไปเสียจากปีติและสุข; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า อนัตตมนะ

(ไม่ถูกใจ).

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 494

บทว่า อนภิรทฺโธ คือ ไม่ประสบความสุข, อีกอย่างหนึ่ง ผู้ไม่ถึง

ความแจ่มใส; ฉะนั้น จึงชื่อว่า อนภิรัทธะ (ไม่พอใจ). จิตของเขานั้น

ถูกปฏิฆะกระทบแล้ว; เหตุนั้น เขาจึงชื่อว่า อาหตจิตตะ (แค้นใจ).

ตะปู คือ ปฏิฆะ กล่าวคือ ความที่จิตแข้งกระด้าง และจิตยุ่งเหยิงดุจ

หยากเยื่อ เกิดแล้วแก่บุคคลนั้น; เพราะฉะนั้น ผู้นั้น จึงชื่อว่า ขีลชาตะ

(เจ็บใจ).

บทว่า อปฺปตีโต ได้แก่ ไม่ถึงเฉพาะ (ไม่แช่มชื่น) คือเว้นจากปีติ

และสุขเป็นต้น, ความว่า อันปีติและสุขเป็นต้นไม่ซาบซ่าน. แต่ในบท

ภาชนะท่านพระอุบาลีกล่าวว่า เตน จ โกเปน เป็นต้น เพื่อแสดงธรรม

ทั้งหลายที่มีอำนาจทำให้ไม่แช่มชื่น.

บรรดาบทเหล่านั้น คำว่า เตน จ โกเปน ได้แก่ เพราะความ

โกรธที่เป็นเหตุให้เรียกภิกษุนั้นว่า ผู้มีความขัดใจ และโกรธ. แท้จริง

คำทั้งสองนี้อาการเดียวกัน เพราะให้ละปกติภาพ.

คำว่า เตน จ โทเสน ได้แก่ เพราะโทสะที่เป็นเหตุให้เรียกภิกษุ

นั้นว่า มีโทสะ. ด้วยบททั้ง ๒ นี้ ท่านพระอุบาลีแสดงสังขารขันธ์

เหมือนกัน .

คำว่า ตาย จ อนตฺตมนตาย ได้แก่ เพราะความไม่ถูกใจที่เป็น

เหตุให้เรียกภิกษุนั้นว่า ผู้ไม่ถูกใจ.

คำว่า ตาย จ อนภิรทฺธิยา ได้แก่ เพราะความไม่พอใจที่เป็นเหตุ

ให้เรียกภิกษุนั้นว่า ผู้ไม่พอใจ. ด้วยคำทั้งสองนี้ท่านพระอุบาลีแสดง

เวทนาขันธ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 495

[อธิบายเรื่องอธิกรณ์มีมูลและไม่มีมูล]

ในคำว่า อมูลเกน ปาราชิเกน นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้:-

ปาราชิกนั้น ไม่มีมูล; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า อมูลกะ. ก็ความที่ปารา-

ชิกนั้นไม่มีมูลนั้น ทรงประสงค์เอาด้วยอำนาจแห่งโจทก์ ไม่ใช่ด้วยอำนาจ

แห่งจำเลย เพราะฉะนั้น เพื่อทรงแสดงเนื้อความนั้น ในบทภาชนะ

ท่านพระอุบาลีจึงกล่าวว่า ที่ชื่อว่าไม่มีมูล คือไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้

รังเกียจ.

ด้วยบทภาชนะว่า อหิฏฺ เป็นต้นนั้น ท่านแสดงอธิบายนี้ไว้ว่า

ปาราชิกที่โจทก์ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ ในตัวบุคคลผู้เป็นจำเลย

ชื่อว่า ไม่มีมูล เพราะไม่มีมูล กล่าวคือการเห็น การได้ยิน และการ

รังเกียจนี้. ก็จำเลยนั้น จะต้องปาราชิกนั้น หรือไม่ต้องก็ตามที, ข้อที่

จำเลยต้องหรือไม่ต้องนี้ ไม่เป็นประมาณในสิกขาบทนี้.

ในบทว่า อทิฏฺ เป็นต้นนั้น ที่ชื่อว่า ไม่ได้เห็น คือไม่ได้เห็น

ด้วยจักษุประสาท หรือด้วยทิพยจักษุของตน. ชื่อว่า ไม่ได้ยิน คือไม่ได้

ยินใคร ๆ เขาพูดกันเหมือนอย่างนั้น. ที่ชื่อว่า ไม่ได้รังเกียจ คือไม่ได้

รังเกียจด้วยจิต.

ที่ชื่อว่า ได้เห็น คือตนเองหรือคนอื่นได้เห็นด้วยจักษุประสาทหรือ

ด้วยทิพยจักษุ. ที่ชื่อว่า ได้ยิน คือได้ยินมาเหมือนอย่างที่ได้เห็นนั่นเอง.

ที่ชื่อว่า ได้รังเกียจ คือตนเอง หรือคนอื่นรังเกียจ. ในเรื่องได้เห็น

เป็นต้น ตนเองได้เห็นมา จึงชื่อว่า ได้เห็น. แต่ลักษณะทั้งหมดนี้ คือ

คนอื่นได้เห็น ตนเองได้ยิน คนอื่นได้ยิน คนอื่นได้รังเกียจ ตั้งอยู่ใน

ฐานที่ตนได้ยินมาเท่านั้น. ก็เรื่องที่รังเกียจ มี ๓ อย่าง คือรังเกียจด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 496

อำนาจได้เห็น ๑ รังเกียจด้วยอำนาจได้ยิน ๑ รังเกียจด้วยอำนาจได้ทราบ

๑. ในเรื่องรังเกียจ ๓ อย่างนั้น ที่ชื่อว่า รังเกียจด้วยอำนาจได้เห็น คือ

ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปยังพุ่มไม้แห่งหนึ่งใกล้หมู่บ้าน ด้วยการถ่ายอุจจาระและ

ปัสสาวะ, หญิงแม้คนใดคนหนึ่ง ก็เข้าไปยังพุ่มไม้นั้นด้วยกรณียกิจบาง

อย่างเหมือนกัน แล้วกลับไป, ทั้งภิกษุก็ไม่ได้เห็นผู้หญิง ทั้งผู้หญิงก็ไม่

ได้เห็นภิกษุ, ทั้งสองคนต่างก็หลีกไปตามชอบใจ ไม่ได้เห็นกันเลย, ภิกษุ

อีกรูปหนึ่งกำหนดหมายเอาการที่คนทั้งสองออกไปจากพุ่มไม้นั้น จึง

รังเกียจว่า ชนเหล่านี้กระทำกรรมแล้ว หรือจักกระทำแน่แท้ นี้ ชื่อว่า

รังเกียจด้วยอำนาจได้เห็น.

ที่ชื่อว่า รังเกียจด้วยอำนาจได้ยิน คือคนบางคนในโลกนี้ ได้ยิน

คำปฏิสันถารเช่นนั้นของภิกษุกับมาตุคาม ในโอกาสที่มืด หรือกำบัง คน

อื่นแม้มีอยู่ในที่ใกล้ ก็ไม่ทราบว่า มี หรือไม่มี, เขารังเกียจว่า ชน

เหล่านี้ทำกรรมแล้ว หรือว่า จักทำแน่นอน นี้ชื่อว่า รังเกียจด้วยอำนาจ

ได้ยิน.

ที่ชื่อว่ารังเกียจด้วยอำนาจได้ทราบ คือ ตกกลางคืนพวกนักเลง

เป็นอันมาก ถือเอาดอกไม้ของหอม เนื้อและสุราเป็นต้นแล้ว ไปยัง

วิหารชายแดนแห่งหนึ่งพร้อมกับพวกสตรี เล่นกันตามสบายที่มณฑป

หรือที่ศาลาฉันเป็นต้น ทิ้งดอกไม้เป็นต้นให้กระจัดกระจาย แล้วพากัน

ไป, ในวันรุ่งขึ้น พวกภิกษุเห็นอาการแปลกนั้นแล้วพากันสืบหาว่า นี้

เป็นกรรมของใคร ? ก็ในบรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุบางรูปลุกขึ้นแต่

เช้าตรู่ ปฏิบัติมณฑป หรือศาลาฉันด้วยมุ่งวัตรเป็นใหญ่ จำเป็นต้องจับ

ต้องดอกไม้เป็นต้น, บางรูปต้องทำการบูชาด้วยดอกไม้เป็นต้น ที่ตนนำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 497

มาจากตระกูลอุปัฏฐาก, บางรูปต้องดื่มยาดองชื่ออริฏฐะเพื่อเป็นยา. ครั้ง

นั้น พวกภิกษุเหล่านั้นผู้สืบหาว่า กรรมนี้ของใคร ? จึงดมกลิ่นมือและ

กลิ่นปาก แล้วรังเกียจภิกษุเหล่านั้น, นี้ชื่อว่ารังเกียจด้วยอำนาจได้ทราบ.

ในเรื่องได้เห็นเป็นต้นนั้น เรื่องได้เห็นที่มีมูลก็มี ที่ไม่มีมูลก็มี,

เรื่องได้เห็นนั่นเอง มีมูลด้วยอำนาจแห่งสัญญาก็มี ไม่มีมูลด้วยอำนาจ

แห่งสัญญาก็มี. แม้ในเรื่องได้ยิน ก็นัยนี้. แต่ในเรื่องที่รังเกียจ เรื่องที่

รังเกียจด้วยอำนาจได้เห็น มีมูลก็มี, ไม่มีมูลก็มี, เรื่องที่รังเกียจด้วย

อำนาจได้เห็นนั้นเอง มีมูลด้วยอำนาจแห่งสัญญาก็มี, ไม่มีมูลด้วยอำนาจ

แห่งสัญญาก็มี. ในเรื่องที่รังเกียจ ด้วยการได้ยิน และการได้ทราบก็นัยนี้.

ในคำว่า มีมูลเป็นต้นนั้น เรื่องได้เห็นที่ชื่อว่ามีมูล คือเขาได้เห็น

ภิกษุต้องปาราชิกจริง ๆ แล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าเห็น. ที่ชื่อว่า ไม่มีมูล

คือเขาเห็นภิกษุออกมาจากโอกาสกำบัง แต่ไม่เห็นการล่วงละเมิด กล่าวว่า

ข้าพเจ้าเห็น. เรื่องที่เห็นนั่นเอง ชื่อว่า มีมูลด้วยอำนาจแห่งสัญญา คือ

เขาเพียงแต่ได้เห็นเท่านั้น เป็นผู้มีความสำคัญว่าได้เห็น แล้วโจท. ที่

ชื่อว่า ไม่มีมูลด้วยอำนาจแห่งสัญญา คือในเบื้องต้น เขาเห็นการล่วง

ละเมิดด้วยปาราชิก ภายหลังกลับเกิดมีความสำคัญว่า ไม่ได้เห็น. ผู้นั้น

ทำให้ไม่มีมูลด้วยสัญญา แล้วโจทว่า ข้าพเจ้าเห็น. แม้เรื่องที่รังเกียจ

ด้วยอำนาจแห่งการได้ยิน และได้ทราบ ก็พึงทราบโดยพิสดารตามนัยนี้

แล. ก็ในสิกขาบทนี้ เมื่อภิกษุโจทภิกษุที่ตนเห็น แม้โดยอาการทุกอย่าง

ด้วยปาราชิกที่มีมูล หรือมีมูลด้วยอำนาจแห่งสัญญา ไม่เป็นอาบัติ. เป็น

อาบัติแต่เฉพาะภิกษุผู้โจท ด้วยปาราชิกอันหามูลมิได้ หรือไม่มีมูลด้วย

อำนาจแห่งสัญญา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 498

บทว่า อนุทฺธเสยฺย ได้แก่ พึงกำจัด คือพึงขจัด ขมขู่ ครอบงำ.

ก็เพราะภิกษุโจทด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นโจทก็ดี ชื่อว่า ย่อมทำการ

กำจัดนั้นทั้งนั้น; ฉะนั้น ในบทภาชนะ ท่านพระอุบาลี จึงกล่าวว่า

โจทเองก็ตาม ใช้ให้ผู้อื่นโจทก็ตาม.

ในสองบทว่า โจเทติ วา โจทาเปติ วา นั้น บทว่า โจเทติ มี

ความว่า ภิกษุโจทเองด้วยคำเป็นต้นว่า ท่านเป็นผู้ต้องธรรมถึงปาราชิก

ดังนี้ เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุนั้น ทุก ๆ คำพูด.

บทว่า โจทาเปติ มีความว่า สั่งภิกษุอื่นผู้ยืนอยู่ใกล้ๆ กับตน,

ภิกษุผู้รับสั่งนั้นโจทภิกษุนั้น ตามคำของภิกษุผู้สั่งนั้น, เป็นสังฆาทิเสส

แก่ภิกษุผู้สั่งให้โจททุก ๆ คำพูดเหมือนกัน. ที่นั้นฝ่ายภิกษุผู้รับสั่งนั้นโจท

ว่า เรื่องที่ข้าพเจ้าได้เห็น ได้ยินมีอยู่ ดังนี้ ก็เป็นสังฆาทิเสสแก่ภิกษุ

ทั้งสองรูปทุก ๆ คำพูดเหมือนกัน.

[อธิบายลักษณะแห่งการโจทต่าง ๆ]

ก็แล เพื่อความฉลาดในประเภทแห่งการโจท ในสิกขาบทนี้

บัณฑิตพึงทราบจตุกกะเป็นต้นว่าวัตถุอย่างเดียว และผู้โจทย์ก็คนเดียว

ก่อน. บรรดาจตุกกะเหล่านั้น ภิกษุรูปหนึ่งโจทภิกษุรูปหนึ่งด้วยวัตถุอัน

หนึ่ง. การโจทนี้ มีวัตถุเดียว ผู้โจทก์ก็คนเดียว. ภิกษุมีจำนวนมาก

ด้วยกัน โจทภิกษุรูปหนึ่งด้วยวัตถุอันหนึ่ง ดุจพวกภิกษุฉัพพัคคีย์ ๕๐๐

รูป มีภิกษุเมตติยะ และภิกษุภุมมชกะเป็นหัวหน้า โจทท่านพระทัพพ-

มัลลบุตร ฉะนั้น การโจทนี้ มีวัตถุเดียว มีผู้โจทก์ต่าง ๆ กัน. ภิกษุ

รูปหนึ่ง โจทภิกษุรูปหนึ่ง ด้วยวัตถุมากหลายด้วยกัน, โจทนี้มีวัตถุต่าง ๆ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 499

กัน มีผู้โจทก์คนเดียว. ภิกษุมีจำนวนมากด้วยกัน การโจทภิกษุมากรูป

ด้วยกัน ด้วยวัตถุมากหลาย, การโจทนี้ มีวัตถุต่างกัน มีผู้โจทก์ต่างกัน.

ถามว่า ก็ใครย่อมได้เพื่อจะโจท ใครย่อมไม่ได้ ?

ตอบว่า ภิกษุบางรูปเชื่อคำของโจทก์ที่เพลา ย่อมไม่ได้เพื่อจะโจท

ก่อน.

ที่ชื่อว่า โจทก์เพลา คือเมื่อพวกภิกษุมากด้วยกัน นั่งประชุม

สนทนากัน ภิกษุรูปหนึ่งพูดถึงวัตถุปาราชิก ปรารภถึงภิกษุรูปหนึ่งไม่

เจาะจงตัว. ภิกษุอื่นได้ยินคำของภิกษุนั้น จึงไปบอกแก่ภิกษุเจ้าตัวนอก

นี้. ภิกษุรูปนั้น จึงไปหาเธอ กล่าวว่า ได้ยินว่า ท่านพูดอย่างนี้ ๆ ถึง

ผมหรือ ? เธอจึงตอบว่า ผมไม่รู้รูปการณ์จะเป็นอย่างนี้, แต่ในขณะที่

พูด มีถ้อยคำที่ผมพูดไม่เจาะจง, หากผมรู้ว่าคำพูดนี้ จะเกิดทุกข์แก่ท่าน,

ผมจะไม่พึงพูดถ้อยคำแม้เท่านี้เลย. นี้ชื่อว่า โจทก์เพลา. โจทก์บางรูป

ถือเอาคำพูดสนทนานั้นของเธอ ไม่ได้เพื่อจะโจทภิกษุนั้น. แต่พระมหา-

ปทุมเถระไม่เชื้อถ้อยคำนี้ กล่าวว่า ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมได้เพื่อ

จะโจทภิกษุ หรือภิกษุณี และภิกษุณีผู้มีศีลสมบูรณ์ ย่อมได้เพื่อจะโจท

เฉพาะภิกษุณีเท่านั้น ดังนี้. ฝ่ายพระมหาสุมเถระกล่าวว่า สหธรรมิกทั้ง ๕

ย่อมได้ ดังนี้. ฝ่ายพระโคทัตตเถระกล่าวว่า ใคร ๆ จะไม่ได้เพื่อจะโจท

หามิได้ แล้วอ้างสูตรนี้ว่า ฟังคำของภิกษุแล้วจึงโจท, ฟังคำของภิกษุณี

แล้วจึงโจท, ฯลฯ ฟังคำของพวกสาวกเดียรถีย์แล้วจึงโจท. ในวาทะ

ของพระเถระทั้ง ๓ รูป พึงปรับตามปฏิญญาของจำเลยเท่านั้น.

ก็ธรรมดาการโจทนี้ เมื่อภิกษุแม้ส่งทูตก็ดี หนังสือก็ดี ข่าวสาสน์

ก็ดี ไปโจท ยังไม่ถึงที่สุดก่อน. แต่เมื่อบุคคลยืนอยู่ในที่ใกล้ ๆ โจท

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 500

ด้วยหัวแม่มือ หรือด้วยการเปล่งวาจาเท่านั้น จึงถึงที่สุด. จริงอยู่ การ

บอกลาสิกขาบทอย่างเดียว ไม่ถึงที่สุดด้วยหัวแม่มือ ส่วนการตามกำจัด

นี้ และการอวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีจริง ย่อมถึงทีเดียว. ภิกษุใด หมาย

โจทภิกษุรูปหนึ่งในสถานที่ภิกษุสองรูปยืนอยู่ด้วยกัน, ถ้ารูปที่เขาหมาย

โจทนั้นรู้ตัว, การโจทนั้น ย่อมถึงที่สุด, อีกรูปหนึ่งรู้ยังไม่ถึงที่สุด. ผู้

โจทหมายโจททั้งสองรูป, รูปหนึ่งรู้ หรือว่า รู้ทั้งสองรูปก็ตาม ย่อม

ถึงที่สุด. ในโจทก์มากรูปด้วยกัน ก็นัยนี้. อันธรรมดาว่า จะรู้ได้ใน

ทันทีทันใดนั้น ทำได้ยาก. แต่เมื่อคิดคำนึงตามความรูปปกติ* จึงรู้ ก็จัด

ว่าเป็นอันรู้ได้เหมือนกัน. ถ้ารู้ได้ในภายหลัง ยิ่งไม่ถึงที่สุด. จริงอยู่

สิกขาบทเหล่านี้ คือการบอกลาสิกขา อภูตาโรจนสิกขาบท ทุฏฐุลลวาจา-

สิกขาบท อัตตกามสิกขาบท ทุฎฐโทสสิกขาบท และภูตาโรจนสิกขาบท

ทั้งหมดมีข้อกำหนดอย่างเดียวกันทั้งนั้น.

[อรรถกถาธิบายการโจท ๒ และ ๔ อย่างเป็นต้น]

ก็การโจททั้ง ๒ นี้ ด้วยอำนาจกายและวาจาอย่างนั้น ยังแยกเป็น

๓ อย่างได้อีก คือ โจทตามที่ได้เห็น โจทตามที่ได้ยิน โจทตามที่

รังเกียจ.

ยังมีการโจทอีก ๔ อย่าง คือโจทด้วยศีลวิบัติ ๑ โจทด้วยอาจาร-

วิบัติ ๑ โจทด้วยทิฏฐิวิบัติ ๑ โจทด้วยอาชีววิบัติ ๑. บรรดาการโจท

๔ อย่างนั้น การโจทด้วยศีลวิบัติ พึงทราบด้วยอำนาจแห่งกองอาบัติหนัก

* วิมติริโนทนีฎีกา สมเยนาติ ปกติยา ชานนกฺขเณ, แปลว่า คำว่าสมัย คือ ในขณะรู้

ได้ตามปกติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 501

๒ กอง. โจทด้วยอาจารวิบัติ พึงทราบด้วยอำนาจแห่งกองอาบัติที่เหลือ.

โจทด้วยทิฏฐิวิบัติ พึงทราบด้วยอำนาจแห่งมิจฉาทิฏฐิและอันตคาหิกทิฏฐิ.

โจทด้วยอาชีววิบัติ พึงทราบด้วยอำนาจแห่งสิกขาบท ๖ ที่ทรงบัญญัติ

เพราะอาชีพเป็นเหตุ.

การโจทยังมีอีก ๔ อย่าง คือโจทระบุวัตถุ ๑ โจทระบุอาบัติ ๑

การห้ามสังวาส ๑ การห้ามสามีจิกรรม ๑. บรรดาการโจท ๔ อย่างนั้น

โจทที่เป็นไปอย่างนี้ว่า ท่านเสพเมถุนธรรม, ท่านลักทรัพย์, ท่านฆ่า

มนุษย์, ท่านอวดคุณวิเศษที่ไม่เป็นจริง ชื่อว่า โจทระบุวัตถุ. โจทที่

เป็นไปโดยนัยมีอาทิอย่างนั้นว่า ท่านต้องเมถุนธรรมปาราชิกาบัติ ชื่อว่า

โจทระบุอาบัติ. โจทที่เป็นไปอย่างนี้ว่า อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆ-

กรรมก็ดี ร่วมกับท่านไม่มี ชื่อว่า การห้ามสังวาส. แต่ด้วยอาการเพียง

เท่านี้ การโจทยังไม่ถึงที่สุด. เมื่อพูดเชื่อมต่อกับคำเป็นต้นว่า ท่านไม่

เป็นสมณะ ไม่ใช่เหล่ากอแห่งศากยบุตร จึงถึงที่สุด. การไม่กระทำกรรม

มีการกราบไหว้ ลุกรับ ประคองอัญชลี และพัดวี เป็นต้น ชื่อว่า การ

ห้ามสามีจิกรรม.

การไม่ทำสามีจิกรรมนั้น พึงทราบ ในเวลาที่ภิกษุผู้กำลังทำการ

กราบไหว้เป็นต้นตามลำดับ ไม่กระทำแก่ภิกษุรูปหนึ่ง กระทำแก่ภิกษุที่

เหลือ. ก็ด้วยอาการเพียงเท่านี้ ชื่อว่า โจท. ส่วนอาบัติยังไม่ถึงที่สุด.

แต่เมื่อถูกถามว่า ทำไม ท่านจึงไม่กระทำการกราบไหว้เป็นต้น แก่เราเล่า ?

แล้วพูดเชื่อมต่อ ด้วยคำเป็นต้นว่า ท่านไม่ใช่สมณะ ท่านไม่ใช่เหล่ากอ

แห่งศากยบุตร นั่นแหละ อาบัติจึงถึงที่สุด. ก็ภิกษุอาปุจฉาสิ่งที่ตนต้อง

การด้วยข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น, ด้วยคำเพียงเท่านั้น ยังไม่จัดเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 502

การโจท. ในปาฎิโมกขัฏฐปนขันธกะ ท่านพระอุบาลีเถระกล่าวโจทไว้

อีกถึง ๑๑๐ อย่าง คือการโจทที่ไม่เป็นธรรม ๕๕ ที่เป็นธรรม ๕๕ อย่าง

นี้ คือแต่งตั้งแต่พระดำรัสที่ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! การพักปาฏิโมกข์

ที่ไม่เป็นธรรมมีหนึ่ง, การพักปาฏิโมกข์ที่เป็นธรรมมีหนึ่ง จนถึงการพัก

ปาฏิโมกข์ที่ไม่เป็นธรรม ๑๐ การพักปาฏิโมกข์ที่เป็นธรรม ๑๐. การ

โจทเหล่านั้น เป็น ๓๓๐ คือ ของภิกษุผ้โจทด้วยการได้เห็นเอง ๑๑๐,

ของภิกษุผู้โจทด้วยการได้ยิน ๑๑๐, ของภิกษุผู้โจทด้วยความรังเกียจ ๑๑๐

การโจทเหล่านั้น เอา ๓ คูณ คือสำหรับภิกษุผู้โจทด้วยกาย ผู้โจทด้วย

วาจา ผู้โจทด้วยกายและวาจา จึงรวมเป็น ๙๙๐. การโจท ๙๙๐ เหล่า

นั้น ของภิกษุผู้โจทด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นโจทก็ดี มีจำนวนเท่านั้น

เหมือนกัน; เพราะฉะนั้น จึงเป็นโจท ๑,๙๘๐ อย่าง. บัณฑิตพึงทราบ

อีกว่า การโจทมีหลายพัน ด้วยอำนาจโจทที่มีมูลและไม่มีมูล ในความ

ต่างแห่งมูลมีเรื่องที่ได้เห็นเป็นต้น.

[อธิบายโจทก์และจำเลยตามอรรถถานัย]

อนึ่ง พระอรรถกถาจารย์พระอรรถกถาจารย์ในฐานะนี้แล้ว นำเอาสูตรเป็นอัน

มากที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ในอุบาลีปัญจกะเป็นต้น อย่างนั้นว่า

ดูก่อนอุบาลี ! ภิกษุผู้ประสงค์จะรับอธิกรณ์ พึงรับอธิกรณ์ประกอบด้วย

องค์ ๕ และว่า ดูก่อนอุบาลี ! ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น พึง

พิจารณาธรรม ๕ อย่างในตนแล้ว โจทผู้อื่น ดังนี้ แล้วกล่าวลักษณะ

อธิกรณ์ ธรรมเนียมของโจทก์ ธรรมเนียมของจำเลย กิจที่สงฆ์จะพึงทำ

และธรรมเนียมของภิกษุผู้ว่าความ (ผู้สอบสวน) ทั้งหมด โดยพิสดารไว้

๑. วิ. ปริวาร. ๘/๔๖๕. ๒. วิ. ปริวาร. ๘/๔๖๙.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 503

ในอรรถกถา. ข้าพเจ้าจักพรรณนาลักษณะอธิกรณ์เป็นต้นนั้น ในที่ตาม

ที่มาแล้วนั่นแล.

ก็เมื่อเรื่องถูกนำเข้าในท่ามกลางสงฆ์แล้ว ด้วยอำนาจแห่งโจท

อย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาโจทซึ่งมีประเภทดังกล่าวแล้วนี้ สงฆ์พึงถาม

โจทก์และจำเลยว่า พวกท่านจักพอใจด้วยการวินิจฉัยของพวกเราหรือ ?

ถ้าโจทก์และจำเลยกล่าวว่า พวกกระผมจักพอใจ สงฆ์พึงรับอธิกรณ์นั้น.

แต่ถ้าทั้งสองฝ่ายกล่าวว่า ขอพวกท่านวินิจฉัยดูก่อนเถิด ขอรับ ! ถ้าการ

วินิจฉัยนั้นจักควรแก่พวกกระผม, พวกกระผมจักยอมรับ, พึงกล่าวคำ

มีอาทิว่า พวกท่านจงไหว้พระเจดีย์ก่อน แล้วพึงวิสัชนาทำพระสูตรให้

ยาว. ถ้าพวกเธอ เหน็ดเหนื่อยตลอดกาลนาน เป็นผู้มีบริษัทหลีกไปเสีย

ขาดพรรคพวก จึงขอร้องใหม่, พระวินัยธรพึงห้ามเสียถึง ๓ ครั้ง แล้ว

พึงวินิจฉัยอธิกรณ์ของพวกเธอ ในเวลาพวกเธอหมดความมานะจองหอง.

และพวกภิกษุที่สงฆ์สมมติเมื่อจะวินิจฉัย ถ้ามีบริษัทหนาแน่นด้วยพวก

อลัชชี, พึงวินิจฉัยอธิกรณ์นั้น ด้วยอุพพาหิกาญัตติ, ถ้าบริษัทหนาแน่น

ด้วยพวกคนพาล, พึงกล่าวว่า พวกท่านจงแสวงหาพระวินัยธร ที่ชอบ

พอของพวกท่าน ๆ เถิด ให้แสวงหาพระวินัยธรเอาเอง แล้วพึงระงับ

อธิกรณ์นั้นโดยธรรม โดยวินัย โดยสัตถุศาสน์ ซึ่งเป็นเครื่องระงับ

อธิกรณ์นั้น.

ก็ในธรรมวินัยและสัตถุศาสน์นั้น เรื่องที่เป็นจริง ชื่อว่า ธรรม.

การโจทและการให้การ ชื่อว่า วินัย. ญัตติสมบัติและอนุสาวนาสมบัติ

ชื่อว่า สัตถุศาสน์. เพราะฉะนั้น เมื่อโจทก์ยกเรื่องขึ้นฟ้อง พระวินัยธร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 504

พึงถามจำเลยว่า เรื่องนี้ จริง หรือไม่จริง ? พระวินัยธร สอบสวนเรื่อง

อย่างนี้แล้ว โจทด้วยเรื่องที่เป็นจริง ให้จำเลยให้การแล้ว พึงระงับ

อธิกรณ์นั้นด้วยญัตติสมบัติและอนุสาวนาสมบัติ.

ถ้าว่า ในโจทก์และจำเลยนั้น โจทก์เป็นอลัชชี โจทจำเลยผู้เป็น

ลัชชี และโจทก์อลัชชีนั้นเป็นพาล ไม่ฉลาด, พระวินัยธรไม่พึงให้การ

ซักถามแก่เธอ. แต่พึงกล่าวอย่างนี้ ท่านโจทภิกษุนั้นเพราะเรื่องอะไร ?

แน่นอนโจทก์นั้นจักกล่าวว่า ท่านเจริญ ! ที่ชื่อว่ากิมหินัง นี้ คืออะไร ?

พึงส่งเธอไปเสียด้วยคำว่า ท่านไม่ระจักแม้คำว่า กิมหินัง (ท่านโจทภิกษุ

นั้นในเพราะเรื่องอะไร). ท่านเป็นคนโง่เห็นปานนี้ ไม่ควรโจทผู้อื่น.

พระวินัยธรไม่พึงให้การซักถามแก่เธอ. แต่ถ้าโจทก์อลัชชีนั้น เป็นบัณฑิต

เฉลียวฉลาด สามารถจะกลบเกลื่อนให้สำเร็จได้ ด้วยเรื่องที่ได้เห็น หรือ

ด้วยเรื่องที่ได้ยิน, พึงให้การซักถามแก่โจทก์นั้น แล้วกระทำกรรมตาม

ปฏิญญาของจำเลยผู้เป็นลัชชีนั่นแล. ถ้าลัชชีโจทอลัชชี, และลัชชีนั้นเป็น

คนโง่ ไม่เฉลียวฉลาด ไม่อาจจะให้คำตอบข้อซักถามได้, พระวินัยธร

พึงให้นัยแก่เธอว่า ท่านโจทภิกษุนั้นเพราะเรื่องอะไร ? เพราะเรื่องแห่ง

ศีลวิบัติ หรือเพราะเรื่องแห่งวิบัติอย่างหนึ่ง ในบรรดาอาจารวิบัติเป็นต้น

ถามว่า ก็เพราะเหตุไร จึงควรให้นัยอย่างนี้แก่ลัชชีนี้เท่านั้น ไม่

ควรให้แก่อลัชชีนอกนี้เล่า ? การลำเอียงเพราะอคติ ไม่สมควรแก่พวก

พระวินัยธรมิใช่หรือ ?

แก้ว่า การลำเอียงเพราะอคติ ไม่สมควรเลย. แต่การให้นัยนี้ ไม่

จัดเป็นการลำเอียงเพราะอคติ. การนี้ชื่อว่าเป็นการอนุเคราะห์ธรรม. จริง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 505

อยู่ สิกขาบทพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติไว้ เพื่อต้องการข่มพวกอลัชชี

และเพื่อต้องการยกย่องพวกลัชชี.

ในลัชชีและอลัชชีเหล่านั้น อลัชชีได้นัยแล้ว จักกลบเกลื่อนไป

เสีย. ฝ่ายลัชชีได้นัยแล้ว จักกล่าวยืนยันในเรื่องที่ได้เห็น โดยความสืบ

เนื่องกันกับเรื่องที่ได้เห็น ในเรื่องที่ได้ยิน โดยความสืบเนื่องกันกับเรื่อง

ที่ได้เห็น ในเรื่องที่ได้ยิน โดยความสืบเนื่องกันกับเรื่องที่ได้ยิน. เพราะ-

ฉะนั้น การอนุเคราะห์ธรรม จึงสมควรแก่ลัชชีนั้น. ก็ถ้าว่าลัชชีนั้น

เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด ยืนยันพูด, แต่อลัชชีไม่ให้ปฏิญญา ด้วย

ปฏิเสธว่า แม้เรื่องนี้ก็ไม่มี, ถึงเรื่องนั่นก็ไม่มี. พึงปรับตามปฏิญญาของ

อลัชชีเหมือนกัน.

[ว่าด้วยเรื่องทำตามปฏิญญาของจำเลยลัชชีและอลัชชี]

ก็แลเพื่อแสดงใจความนั้น ผู้ศึกษาพึงทราบเรื่องดังต่อไปนี้:-

ได้ยินว่า พระเถระจูฬาภัย ผู้ทรงไตรปิฎก แสดงวินัยแก่ภิกษุทั้งหลาย

ภายใต้โลหปราสาท เลิกในเวลาเย็น. ในเวลาพระเถระนั้นเลิก ภิกษุ ๒

รูปผู้เป็นความกันในอรรถคดี ได้ยังถ้อยคำให้เป็นไป. รูปหนึ่งไม่ให้

ปฏิญญาโดยปฏิเสธว่า แม้เรื่องนี้ก็ไม่มี, ถึงเรื่องนั้นก็ไม่มี. คราวนั้น

เมื่อปฐมยามยังเหลือน้อย พระเถระเกิดความเข้าใจว่าไม่บริสุทธิ์ในบุคคล

นั้นว่า ผู้นี้ยืนยันพูด, แต่ผู้นี้ไม่ให้ปฏิญญา และเรื่องชักมาเป็นอุทาหรณ์

มีมาก, กรรมนี้ จักเป็นของอันบุคคลนั้นทำแล้วแน่นอน. ครั้งนั้น

พระเถระได้ให้สัญญาที่แผ่นกระเบื้องเช็ดเท้าด้วยด้ามพัดแล้วกล่าวว่า คุณ !

เราไม่สมควรจะวินิจฉัย, เธอจงให้คนอื่นวินิจฉัยเถิด. พวกภิกษุถามว่า

เพราะเหตุไร ขอรับ ? พระเถระได้บอกเนื้อความนั้น. ความเร่าร้อนเกิด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 506

ขึ้นในกายของบุคคลผู้เป็นจำเลย. ครั้งนั้น จำเลยไหว้พระเถระแล้วกล่าวว่า

ธรรมดาพระวินัยธรผู้เหมาะสมเพื่อวินิจฉัย ควรเป็นผู้เช่นท่านนั่นแหละ

และผู้โจทก์ก็ควรเป็นเช่นท่านผู้นี้แล แล้วนุ่งผ้าขาวกล่าวว่า ผมทำให้

ท่านลำบากนานแล้ว ขอขมาพระเถระแล้วหลีกไป.

อลัชชีภิกษุถูกลัชชีภิกษุโจทอยู่อย่างนั้น เมื่อเรื่องแม้เป็นอันมากเกิด

ขึ้นแล้ว ก็ไม่ให้ปฏิญญา. อลัชชีภิกษุนั้น พระวินัยธรไม่ควรกล่าวเลยว่า

เป็นผู้บริสุทธิ์ ทั้งไม่ควรกล่าวว่า เป็นผู้ไม่บริสุทธิ์. บุคคลนี้ ชื่อว่าตาย

ทั้งเป็น ชื่อว่าเน่าทั้งดิบ. ก็ถ้าว่า เรื่องแม้อื่นเช่นนั้นเกิดขึ้นแก่เขา,

พระวินัยธรไม่ต้องวินิจฉัย. เขาจักต้องฉิบหายไปอย่างนั้นนั่นเอง.

อนึ่ง ถ้าอลัชชีภิกษุโจทอลัชชีภิกษุด้วยกัน พระวินัยธรควรพูด

แนะโจทก์นั้นว่า แน่ะคุณ ! ผู้นี้ใคร ๆ ไม่อาจว่ากล่าวอะไร ตามคำของ

คุณได้, กล่าวอย่างนั้นเหมือนกันกะฝ่ายจำเลย นอกนี้ แล้วส่งไปด้วย

คำว่า พวกเธอทั้งสองจงร่วมสมโภคบริโภคกันอยู่เถิด, ไม่พึงทำการ

วินิจฉัยแก่อลัชชีทั้งสองนั้น เพื่อประโยชน์แก่ศีล, แต่เพื่อประโยชน์แก่

บาตรและจีวร และบริเวณเป็นต้น ได้พยานสมควรแล้วจึงควรทำ.

ถ้าลัชชีภิกษุ โจทลัชชีภิกษุด้วยกัน และการวิวาทของพวกเธอมี

เพียงเล็กน้อย ในเรื่องบางเรื่องเท่านั้น, พระวินัยธรพึงให้รอมชอมตกลง

กัน ให้แสดงโทษล่วงเกินแล้วส่งไปด้วยคำว่า พวกเธอจงอยู่ทำอย่างนี้

ก็ถ้าในโจทก์และจำเลยนั้น จำเลยพูดพลั้งพลาดผิดไป, ตั้งแต่ต้น จำเลย

ยังไม่ชื่อว่าเป็นอลัชชี. และจำเลยนั้น ไม่ให้ปฏิญญาเพื่อต้องการรักษา

พรรคพวก. พวกมากลุกขึ้นด้วยกล่าวว่า พวกเราไม่เชื่อ พวกเราไม่เชื่อ.

จำเลยนั้น จะเป็นผู้บริสุทธิ์ครั้งเดียว หรือ ๒ ครั้ง ตามปฏิญญาของพวก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 507

มากนั้นเถิด. แต่ถ้าเธอไม่ตั้งอยู่ในฐาน (เป็นลัชชี) จำเดิมแต่เวลาพูดผิด

ไป. พึงให้การวินิจฉัย.*

[ว่าด้วยองค์ของโจทก์และจำเลย]

เมื่อเรื่องถูกนำมาเสนอในที่ประชุมท่ามกลางสงฆ์ ด้วยอำนาจแห่ง

การโจทอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นนี้ พระวินัยธรทราบการปฏิบัติในจำเลย

และโจทก์แล้ว พึงทราบวินิจฉัยด้วยสามารถแห่งเบื้องต้น ท่ามกลางและ

ที่สุดเป็นต้น เพื่อรู้จักสมบัติและวิบัติแห่งการโจทนั้นนั่นเอง. คืออย่างไร ?

คือการโจทมีอะไรเป็นเบื้องต้น มีอะไรเป็นท่ามกลาง มีอะไรเป็นที่สุด ?

การขอโอกาสว่า ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวกะท่าน, ขอท่านผู้มีอายุ จง

กระทำโอกาสให้แก่ข้าพเจ้า ดังนี้ ชื่อว่า เบื้องต้นแห่งการโจท.

การโจทแล้วให้จำเลยให้การตามวัตถุที่ยกขึ้นบรรยายฟ้องแล้ววินิจ-

ฉัย ชื่อว่า ท่ามกลางแห่งการโจท.

การระงับด้วยให้จำเลยทั้งอยู่ในอาบัติ หรืออนาบัติ ชื่อว่า ที่สุด

แห่งการโจท.

การโจท มีมูลเท่าไร ? มีวัตถุเท่าไร ? มีภูมิเท่าไร ?

การโจทมีมูล ๒ คือ มูลมีเหตุ ๑ มูลไม่มีเหตุ ๑ (มูลมีมูล ๑ มูล

ไม่มีมูล ๑). มีวัตถุ ๓ คือ ได้เห็น ๑ ได้ยิน ๑ ได้รังเกียจ ๑. มีภูมิ ๕

คือจักพูดตามกาล จักไม่พูดโดยกาลไม่ควร ๑ จักพูดตามจริง จักไม่พูด

โดยคำไม่จริง ๑ จักพูดด้วยคำอ่อนหวาน จักไม่พูดด้วยคำหยาบ ๑ จัก

* สารัตถทีปนี ๓/๔๔, มี น ปฏิเสธ เป็น วินิจฺฉโย น ทาตพฺโพติ อลชฺชิภาวาปนฺนตฺตา

ทาตพฺโพ แปลว่า ข้อว่า ไม่พึงให้วินิจฉัย คือ พึงให้วินิจฉัย เพราะถึงความเป็นอลัชชี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 508

พูดถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์ จักไม่พูดคำที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑

จักมีจิตประกอบด้วยเมตตาพูด จักไม่เพ่งโทษพูด ๑.

ก็ในการโจทนี้ บุคคลผู้เป็นโจทก์ พึงตั้งอยู่ในธรรม ๕ อย่าง

ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในอุบาลีปัญจกะ โดยนัยเป็นต้นว่า เราเป็น

ผู้มีกายสมาจารบริสุทธิ์หรือหนอแล. ผู้เป็นจำเลย พึงตั้งอยู่ในธรรม ๒ อย่าง

คือในความจริง และความไม่โกรธ.

ข้อว่า อปฺเปว นาม น อิมมฺหา พฺรหฺมจริยา จาเวยฺย มีความว่า

แม้ไฉนแล เราจะพึงให้บุคคลผู้นั้นเคลื่อนจากความประพฤติอันประเสริฐ

นี้ได้. มีคำอธิบายว่า พึงตามกำจัดด้วยความประสงค์อย่างนี้ว่า พึงเป็น

การดีหนอ ถ้าเราพึงให้บุคคลผู้นี้เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้. แต่ในบท

ภาชนะ ท่านพระอุบาลีกล่าวคำเป็นต้นว่า พึงให้เคลื่อนจากความเป็น

ภิกษุ เพื่อแสดงเพียงปริยายแห่งคำว่า พึงให้เคลื่อนจากพรหมจรรย์ นี้

เท่านั้น.

บททั้งหลายมีขณะเป็นต้น เป็นไวพจน์ของสมัย.

หลายบทว่า ต ขณ ต ลย ต มหุตฺต วีติวตฺเต ได้แก่ เมื่อขณะ

นั้น เมื่อครู่นั้น เมื่อยามนั้น ล่วงเลยไปแล้ว จริงอยู่ คำว่า ต ขณ

เป็นต้นนี้ เป็นทุติยาวิภัตติ เพื่อเกิดเป็นสัตตมีวิภัตติ (ลงในอรรถแห่งสัตต-

มีวิภัตติ).

ในสมนุคคาหิยมานนิเทศ ข้อว่า เยน วตฺถุนา อนุทฺธสิโต โหติ

มีความว่า จำเลยถูกโจทก์ตามกำจัด คือข่มเหง ครอบงำด้วยวัตถุใด ใน

บรรดาวัตถุแห่งปาราชิก ๔.

ข้อว่า ตสฺมึ วตฺถุสฺมึ สมนุคฺคาหิยมาโน มีความว่า ในเรื่องที่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 509

โจทก์กล่าวหานั้น โจทก์นั้น ถูกพระวินัยธรผู้ว่าความสอบสวน ไต่สวน

คือพิจารณาอยู่โดยนัยเป็นต้นว่า ท่านเห็นอะไร ? ท่านเห็นว่าอย่างไร ?

ในอสมนุคคาหิยมานนิเทศ ข้อว่า น เกนจิ วุจฺจมาโน คืออันผู้

ว่าความ หรือใครคนใดคนหนึ่ง (ไม่ซักถาม). อีกอย่างหนึ่ง ความว่า

ไม่ถูกผู้ว่าความสอบถาม ด้วยบรรดาวัตถุที่ได้เห็นเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง.

ก็บัณฑิตพึงทราบความสัมพันธ์แห่งบทมาติกาทั้ง ๒ นี้ ด้วยคำว่า

ภิกขุ จ โทส ปติฏฺาติ นี้ข้างหน้า. จริงอยู่ มีรูปความที่ท่านกล่าวไว้

ดังนี้ว่า ก็แล ภิกษุอันผู้ใดผู้หนึ่งถือเอาตามก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม

อย่างนี้ (เชื่อก็ตาม ไม่เชื่อก็ตาม) ยืนยัน อิงอาศัยโทสะ คือปฎิญญา,

เป็นสังฆาทิเสส. ก็คำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เพื่อแสดงกาลปรากฏ

แห่งความเป็นอธิกรณ์ไม่มีมูลเท่านั้น. แต่ภิกษุผู้โจทก์ย่อมต้องอาบัติใน

ขณะที่ตนโจทนั่นแล.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำว่า อธิกรณ นาม เป็นต้น เพื่อ

จะไม่ตรัสลักษณะอธิกรณ์ไม่มีมูลนั้น แสดงแต่ที่ยังไม่เคยมีเท่านั้น เพราะ

ลักษณะแห่งอธิกรณ์ไม่มีมูล ได้ตรัสไว้แล้วในก่อน ในคำว่า อมูลกญฺเจว

ต อธิกรณ โหติ นี้.

[อธิบายคำว่าอธิกรณ์เป็นต้น]

เพราะ อธิกรณ์ในคำว่า อิธิกรณ นาม นั้น โดยอรรถ คือเหตุ

ย่อมมีแม้อย่างเดียว ด้วยอำนาจแห่งวัตถุมีต่าง ๆ กัน; เพราะเหตุนั้น

เพื่อความแตกต่างกันนั้น แห่งอธิกรณ์นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำ

มีอาทิว่า จตฺตาริ อธิกรณานิ วิวาทาธิกรณ ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 510

ถามว่า ก็อธิกรณ์นั่น ย่อมเป็นอันเดียว ด้วยอรรถคือเหตุอันใด

อรรถคือเหตุอันนั้นเป็นอย่างไร ?

แก้ว่า อรรถ คือ เหตุนั้น คือ ข้อที่อธิกรณ์เป็นเหตุที่จะพึงกระทำ

ยิ่ง (ระงับ) ด้วยสมถะทั้งหลาย. เพราะเหตุนั้น สมถะทั้งหลายเที่ยว ปรารภ

คือ อาศัย หมายเอาอธิกิจอันใดเป็นไป, อธิกิจอันนั้นพึงทราบว่า อธิกรณ์.

แต่ในอรรถกถาทั้งหลายกล่าวว่า อาจารย์บางพวกกล่าวความยึดถือว่า

อธิกรณ์, บางพวกกล่าวเจตนาว่า อธิกรณ์, บางพวกกล่าวความไม่ชอบใจ

ว่า อธิกรณ์, บางพวกกล่าวโวหารว่า อธิกรณ์ บางพวกกล่าวบัญญัติ

ว่า อธิกรณ์.

พระอรรถกถาจารย์เหล่านั้นวิจารณ์ซ้ำไว้อย่างนี้ว่า ถ้าความยึดถือพึง

เป็นอธิกรณ์ไซร้, ภิกษุรูปหนึ่งถือเอาคดีปรึกษากันกับภิกษุผู้เป็นสภาคกัน

เห็นโทษในคดีนั้นแล้วสละเสียอีก, อธิกรณ์นั้นของเธอ จักเป็นอันถึง

ความระงับไป. ถ้าเจตนาพึงเป็นอธิกรณ์ไซร้, เจตนาที่เกิดขึ้นว่า เราจัก

ถือเอาคดีนี้ ย่อมดับไป. ถ้าความไม่ชอบใจพึงเป็นอธิกรณ์ไซร้, ภิกษุ

แม้ถือเอาคดีด้วยความไม่ชอบใจ ภายหลังไม่ได้ความวินิจฉัย หรือฝ่าย

จำเลยขอขมาโทษแล้ว ย่อมสละเสีย. ถ้าโวหารพึงเป็นอธิกรณ์ไซร้, ภิกษุ

เที่ยวพูดอยู่ ย่อมเป็นผู้นิ่งไม่มีเสียงในภายหลัง, อธิกรณ์นั้นของเธอ จัก

เป็นอันถึงความระงับด้วยประการฉะนี้. เพราะเหตุนั้น บัญญัติจึงจัดเป็น

อธิกรณ์.

แต่คำของพระอรรถกถาทั้งหลายนั้นนี้ แย้งพระบาลีมีอาทิอย่างนั้นว่า

เมถุนธรรมปาราชิกาบัติ มีในส่วนนั้นแห่งเมถุนธรรมปาราชิกาบัติ ฯลฯ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 511

อาปัตตาธิกรณ์เป็นส่วนนั้น แห่งอาปัตตาธิกรณ์อย่างนี้ และว่า วิวาทา-

ธิกรณ์ เป็นกุศลก็มี เป็นอัพยากฤต ก็มี ดังนี้.

อันที่จริง พระอรรถกถาจารย์เหล่านั้น มิได้ประสงค์ข้อที่บัญญัติ

เป็นกุศลเป็นต้น. และธรรมคือปาราชิก ที่มาในคำว่า อมูลเกน ปารา-

ชิเกน ธมฺเมน นี้ จะได้ชื่อว่าเป็นบัญญัติ หามิได้. เพราะเหตุไ ?

เพราะเป็นอกุศลโดยส่วนเดียว.

จริงอยู่ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ได้ตรัสคำนี้แล้วว่า อาปัตตา-

ธิกรณ์ เป็นอกุศลก็มี เป็นอัพยากฤตก็มี. และปาราชิกไม่มีมูลนั่นใด

ที่ทรงนิเทศไว้ในพระบาลีนี้ว่า อมูลเกน ปาราชิเกน ดังนี้. พระบาลีว่า

อมูลกญฺเจว ต อธิกรณ โหติ นี้ เป็นปฏินิเทศแห่งปาราชิกไม่มีมูลนั้น

นั่นแล ไม่ใช่แห่งบัญญัติ. แท้จริง พระผู้มีพระภาคเจ้า จะได้ทรงนิเทศ

ปาราชิกอื่น แล้วทรงปฏินิเทศปาราชิกอื่น หามิได้. แต่บุคคลนั้นถูก

โจทก์ตราเอาว่า ล่วงธรรม คือปาราชิก ด้วยบัญญัติใด คือด้วยข้อหา

อันใด, บัญญัติแม้นั้น จัดว่าไม่มีมูล ก็เพราะอธิกรณ์กล่าวคือปาราชิก

เป็นของไม่มีมูล, แต่จัดเป็นอธิกรณ์ ก็เพราะบัญญัตินั้นเป็นไปในอธิกรณ์;

เพราะเหตุนั้น คำว่า บัญญัติเป็นอธิกรณ์ ควรถูก โดยบรรยายนี้. แต่

อธิกรณ์ที่จัดว่าไม่มีมูล ย่อมไม่มีโดยปกติของตน. จะมีได้ก็สักว่าบัญญัติ

เท่านั้น. แม้เพราะเหตุนั้น คำว่า บัญญัติจัดเป็นอธิกรณ์ ก็ควรจะถูก.

ก็แล ข้อที่บัญญัติจัดเป็นอธิกรณ์ โดยบรรยายดังกล่าวมานั้น ย่อม

ถูกในสิกขาบทนี้เท่านั้น ไม่ถูกทุก ๆ สิกขาบท. จริงอยู่ การบัญญัติ

อธิกรณ์มีวิวาทาธิกรณ์เป็นต้น ไม่ใช่อรรถ คือเหตุ. แต่อรรถ คือเหตุ

๑. วิ มหา. ๑/๓๘๙-๓๙๐. ๒. วิ. จลฺล ๖/๓๓๔.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 512

ก็ได้แก่ข้อที่อธิกรณ์เหล่านั้น เป็นเหตุที่จะพึงกระทำยิ่ง (ระงับ) ด้วยสมถะ

ทั้งหลายดังกล่าวแล้วในหนหลัง. ด้วยอรรถ คือเหตุนี้อย่างกล่าวมานี้

วิวาทบางอย่างในโลกนี้ เป็นวิวาทด้วย เป็นอธิกรณ์ด้วย; เพราะเหตุนั้น

จึงชื่อว่า วิวาทาธิกรณ์. ในอธิกรณ์ที่เหลือ ก็นัยนี้.

บรรดาอธิกรณ์ ๔ มีวิวาทาธิกรณ์เป็นต้นนั้น วิวาทที่อาศัยเภทกร-

วัตถุ ๑๘ อย่าง เกิดขึ้นอย่างนี้ คือพวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ วิวาทกันว่า

เป็นธรรม หรือว่า ไม่ใช่ธรรม ชื่อว่า วิวาทาธิกรณ์.

การกล่าวหากันอาศัยวิบัติ ๔ เกิดขึ้นอย่างนี้ คือภิกษุในพระธรรม

วินัยนี้ ย่อมกล่าวหาภิกษุด้วยศีลวิบัติบ้าง ชื่อว่า อนุวาทากรณ์.

เฉพาะอาบัติเท่านั้นชื่อว่า อาปัตตาธิกรณ์ อย่างนี้คือ กองอาบัติ

ทั้ง ๕ ชื่อว่า อาปัตตาธิกรณ์. กองอาบัติทั้ง ๗ ชื่อว่า อาปัตตาธิกรณ์.

ความเป็นกิจของสงฆ์ คือความเป็นกิจอันสงฆ์ต้องทำ ได้แก่ สังฆ-

กิจ ๔ อย่างนี้คือ อปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และ

ญัตติจตุตถกรรม พึงทราบว่า กิจจาธิกรณ์. แต่ในอรรถนี้ประสงค์เอา

อาปัตตาธิกรณ์ กล่าวคืออาบัติปาราชิกเท่านั้น. อธิกรณ์ที่เหลือมีวิวาทา-

ธิกรณ์เป็นต้น ท่านกล่าวไว้ ด้วยอำนาจแห่งการขยายความ. แท้จริง

อรรถแห่งศัพท์ว่าอธิกรณ์ มีเท่านี้. ในอรรถเหล่านั้น ปาราชิกเท่านั้น

ประสงค์เอาในอธิการนี้. ปาราชิกนั้นเป็นอธิกรณ์ไม่มีมูล ด้วยมูลมีการ

ได้เห็นเป็นต้นนั่นแล. และภิกษุนี้ยืนยันอิงอาศัยโทสะ คือเมื่อกล่าวคำ

เป็นต้นว่า ข้าพเจ้าพูดเล่นเปล่า ๆ ชื่อว่าย่อมปฏิญญา. เป็นสังฆาทิเสส

แก่ภิกษุนั้นในขณะที่ตนโจทนั่นเองแล. นี้เป็นใจความแห่งสิกขาบทนั้น

ซึ่งมีนิเทศ (การขยาย) ตามลำดับแห่งบทก่อน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 513

[แก้อรรถบทภาชนีย์]

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงยกอาบัติขึ้นแสดงโดยพิสดาร

ด้วยสามารถแห่งเรื่องของการโจท มีเรื่องที่ไม่ได้เห็นเป็นต้น ที่ตรัสไว้

โดยสังเขปแล้วนั้น จึงตรัสคำมีอาทิว่า อทิฏฺสฺส โหติ ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น คำว่า อหิฏฺสฺส โหติ ได้แก่ (จำเลย) เป็น

ผู้อันโจทก์นั้นมิได้เห็น. อธิบายว่า บุคคลผู้ต้องธรรมถึงปาราชิกนั้น เป็น

ผู้อันโจทก์นี้มิได้เห็น. แม้ในบทว่า อสฺสุตสฺส โหติ เป็นต้น ก็มีนัย

เหมือนกันนี้.

สองบทว่า หิฏฺโ มยา มีคำอธิบายว่า ท่านเป็นผู้อันเราเห็นแล้ว.

แม้ในบทว่า สุโต มยา เป็นต้นก็มีนัยอย่างนี้. บทที่เหลือในอธิกรณ์มี

เรื่องที่ไม่ได้เห็นเป็นมูลชัดเจนทีเดียว. ส่วนในอธิกรณ์ที่มีมูลด้วยเรื่องที่

ได้เห็น พึงทราบความเป็นอธิกรณ์ไม่มีมูล เพราะความไม่มีแห่งมูล มี

เรื่องที่ได้ยินเป็นต้น ที่ตรัสไว้อย่างนี้ว่า ถ้าโจทก์โจทภิกษุนั้นว่า ข้าพเจ้า

ได้ยิน เป็นต้น.

ก็ในวาระของโจทก์ทั้งหมดนั่นแล ย่อมเป็นสังฆาทิเสสเหมือนกัน

ทุก ๆ คำพูด ด้วยอำนาจแห่งคำพูดคำหนึ่ง ๆ ในบรรดาคำเหล่านี้อันมา

แล้วในที่อื่นว่า ท่านเป็นผู้ทุศีล มีธรรมเลว มีสมาจารอันไม่สะอาด น่า

รังเกียจ มีการงานอันซ่อนเร้น มิใช่สมณะ ปฏิญญาว่าเป็นสมณะ มิใช่

พรหมจารี ปฏิญญาว่าเป็นพรหมจารี เป็นผู้เน่าใน มีราคะชุม เกิดเป็น

เพียงหยากเยื่อ เหมือนเป็นสังฆาทิเสสทุก ๆ คำพูด ด้วยอำนาจคำหนึ่ง ๆ

ในบรรดาคำเหล่านี้ อันมาแล้วในสิกขาบทนี้ว่า ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิก

เป็นผู้มีใช่สมณะ ไม่ใช่เหล่ากอแห่งศากยบุตรฉะนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 514

ก็คำล้วน ๆ เหล่านี้ว่า อุโบสถ หรือปวารณา หรือสังฆกรรม

ร่วมกับท่าน ย่อมไม่มี ยังไม่ถึงที่สุดก่อน. แต่คำพูดที่เชื่อมต่อกับบทใด

บทหนึ่งแล้วเท่านั้น บรรดาบทว่าทุศีลเป็นต้นอย่างนี้ว่า ท่านเป็นผู้ทุศีล

อุโบสถก็ดี ร่วมกับท่านไม่มี และบรรดาบทว่า ท่านต้องธรรมถึงปาราชิก

เป็นต้น ย่อมถึงที่สุด คือทำให้เป็นสังฆาทิเสส.

แต่พระมหาปทุมเถระกล่าวว่า เฉพาะบทเป็นต้นว่า เป็นผู้ทุศีล มี

ธรรมเลว อย่างเดียว ซึ่งมิได้มาในบาลีในสิกขาบทนี้ ยังไม่ถึงที่สุด,

แม้บทเหล่านี้คือ ท่านเป็นคนชั่ว ท่านเป็นสามเณรโค่ง ท่านเป็นมหา

อุบายสก ท่านเป็นผู้ประกอบวัตรแห่งเจ้าแม่กลีเทพีผู้ประเสริฐ ท่านเป็น

นิครนถ์ ท่านเป็นอาชีวก ท่านเป็นดาบส ท่านเป็นปริพาชก ท่านเป็น

บัณเฑาะก์ ท่านเป็นเถยยสังวาส ท่านเป็นผู้เข้ารีตเดียรถีย์ ท่านเป็น

ดิรัจฉาน ท่านเป็นผู้ฆ่ามารดา ท่านเป็นผู้ฆ่าบิดา ท่านเป็นผู้ฆ่าพระ-

อรหันต์ ท่านเป็นผู้ทำสังฆเภท ท่านเป็นผู้ทำโลหิตุปบาท ท่านเป็น

ภิกขุนีทูสกะ ท่านเป็นคนสองเพศ ย่อมถึงที่สุดทีเดียว. และพระมหา-

ปทุมเถระอีกนั่นแหละ กล่าวในบทว่า ทิฏฺเ เวมติโก เป็นต้นว่า เป็น

ผู้เคลือบแคลงด้วยส่วนใด ย่อมไม่เชื่อด้วยส่วนนั้น, ไม่เชื่อด้วยส่วนใด

ย่อมระลึกไม่ได้โดยส่วนนั้น, ระลึกไม่ได้โดยส่วนใด ย่อมเป็นผู้หลงลืม

โดยส่วนนั้น.

ฝ่ายมหาสุมเถระแยกบทหนึ่ง ๆ ออกเป็น ๒ บท แล้วแสดงนัย

เฉพาะอย่างแห่งบทแม้ทั้ง ๔. คืออย่างไร ? คือพึงทราบนัยว่า หิฏฺเ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 515

เวมติโก นี้ก่อน, ภิกษุเป็นผู้สงสัยในการเห็นบ้าง, ในบุคคลบ้าง, บรรดา

การเห็นและบุคคลนั้น ย่อมเป็นผู้สงสัยในการเห็นอย่างนี้ว่า เป็นบุคคล

ที่เราเห็น หรือไม่ใช่คนที่เราเห็น, เป็นผู้มีความสงสัยในบุคคลอย่างนี้ว่า

คนนี้แน่หรือที่เราเห็นหรือคนอื่น. ย่อมไม่เชื่อการเห็นบ้าง บุคคลบ้าง,

ย่อมระลึกไม่ได้ซึ่งการเห็นบ้าง บุคคลบ้าง, ย่อมเป็นผู้ลืมการเห็นบ้าง

บุคคลบ้าง ด้วยประการอย่างนี้.

ก็บรรดาบทเหล่านี้ บทว่า เวมติโก ได้แก่ เกิดความสงสัย.

สองบทว่า โน กปฺเปติ ได้แก่ ย่อมไม่เชื่อ.

บทว่า น สรต มีความว่า เมื่อคนอื่นไม่เตือน ก็ระลึกไม่ได้.

แต่เมื่อใด คนเหล่าอื่นเตือนเธอให้ระลึกว่า ในสถานที่ชื่อโน้น ขอรับ !

ในเวลาโน้น เมื่อนั้น จึงระลึกได้.

บทว่า ปมุฏโ มีความว่า บุคคลผู้แม้ซึ่งคนอื่นเตือนให้ระลึกอยู่

โดยอุบายนั้น ๆ ก็ระลึกไม่ได้เลย. แม้วาระแห่งบุคคลผู้ให้โจท ก็พึงทราบ

โดยอุบายนี้ ก็ในโจทาปกวารนั้น ลดบทว่า มยา ออกอย่างเดียว, บท

ที่เหลือ ก็เช่นเดียวกับโจทกวารนั่นแล.

ต่อจากโจทาปกวารนั้น เพื่อแสดงชนิดแห่งอาบัติ และชนิดแห่ง

อนาบัติ จึงทรงตั้งจตุกกะว่า อสุทฺเธ สุทฺธทิฏฺิ เป็นต้นแล้วทรงแสดง

ขยายแต่ละบทออกไป ตามชนิดอย่างละ ๔ ชนิด. จตุกกะทั้งหมดนั้น

ผู้ศึกษาอาจจะรู้ได้ ตามนัยแห่งพระบาลีนั้นแล. ก็ในการโจทนี้ พึงทราบ

ความต่างกันแห่งความประสงค์อย่างเดียว. จริงอยู่ ธรรมดาว่า ความ

ประสงค์นี้ มีมากอย่าง คือ ความประสงค์ในอันให้เคลื่อน ความประสงค์

ในการด่า ความประสงค์ในการงาน ความประสงค์ในการออก (จากอาบัติ)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 516

ความประสงค์ในการพักอุโบสถและปวารณา ความประสงค์ในการสอบ-

สวน ความประสงค์ในการกล่าวธรรม.

บรรดาความประสงค์เหล่านั้น ในความประสงค์ ๔ อย่างข้างต้น

เป็นทุกกฏ แก่ภิกษุผู้ไม่ให้กระทำโอกาส, และเป็นสังฆาทิเสส แม้เเก่

ภิกษุผู้ให้กระทำโอกาส แล้วตามกำจัด (โจท) ด้วยปาราชิกอันไม่มีมูล

ซึ่ง ๆ หน้า, เป็นปาจิตตีย์ แก่ภิกษุผู้ตามกำจัด (โจท) ด้วยสังฆาทิเสส

ไม่มีมูล, เป็นทุกกฏ แก่ภิกษุผู้ตามกำจัดด้วยอาจารวิบัติ, เป็นปาจิตตีย์

แก่ภิกษุผู้กล่าวด้วยประสงค์จะด่า, เป็นทุกกฏ แก่ภิกษุผู้กล่าวด้วยกอง

อาบัติแม้ทั้ง ๗ กอง ในที่ลับหลัง, เป็นทุกกฏอย่างเดียวแก่ภิกษุผู้กระทำ

กรรมทั้ง ๗ อย่าง เฉพาะในที่ลับหลัง.

ส่วนในกุรุนที ท่านกล่าวว่า กิจด้วยการขอโอกาส ย่อมไม่มีแก่

ภิกษุผู้กล่าวว่า ท่านต้องอาบัติชื่อนี้ จงกระทำคืนอาบัตินั้นเสีย โดย

ความประสงค์จะให้ออกจากอาบัติ. ในอรรถกถาทุก ๆ อรรถกถาทีเดียว

ไม่มีการขอโอกาสสำหรับภิกษุผู้พักอุโบสถและปวารณา แต่พึงรู้เขตแห่ง

การพัก ดังนี้:- ก็เมื่อสวดยังไม่เลย เร อักษร นี้ว่า สุณาตุ เม ภนฺเต

สงฺโฆ อชฺชโปสโถ ปณฺเณรโส ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกฺล สงฺโฆ อุโปสถ

กเร ดังนี้ ไป ย่อมได้เพื่อจะพัก. แต่ถัดจากนั้นไป เมื่อถึง อักษร

แล้ว ย่อมไม่ได้เพื่อพัก. ในปวารณาก็มีนัยอย่างนี้.

โอกาสกรรม ย่อมไม่มี แม้แก่ภิกษุผู้สอบสวนในเมื่อเรื่องถูกนำ

เข้าเสนอแล้ว กล่าวอยู่ด้วยประสงค์จะสอบสวนว่า เรื่องอย่างนี้มีแก่ท่าน

หรือ ? แม้สำหรับพระธรรมกถึกผู้นั่งอยู่บนธรรมาสน์กล่าวธรรมไม่เจาะจง

โดยนัยเป็นต้นว่า ภิกษุใดกระทำอย่างนี้และนี้, ภิกษุนี้มิใช่สมณะ ดังนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 517

ก็ไม่ต้องมีการขอโอกาส. แต่ทว่ากล่าวเจาะจงกำหนดว่า ผู้โน้น ๆ มิใช่

สมณะ มิใช่อุบาสก ดังนี้ ลงจากธรรมาสน์แล้วควรแสดงอาบัติก่อนจึง

ไป. อนึ่ง พึงกราบใจความแห่งคำที่ท่านกล่าวไว้ในที่นั้น ๆ ว่า อโนกาส

กาเรตฺวา อย่างนี้ว่า โอกาส อกาเรตฺวา แปลว่า ไม่ให้กระทำโอกาส.

จริงอยู่ ขึ้นชื่อว่าโอกาส ไม่สมควรบางโอกาส ที่โจทก็ให้ทำโอกาสแล้ว

ยังต้องอาบัติจะไม่มี หามิได้. แต่โจทก์ไม่ให้จำเลยทำโอกาสจึงต้องอาบัติ

ฉะนี้แล. คำที่เหลือตื้นทั้งนั้น.

บรรดาสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๓ คือ เกิดขึ้น

ทางกายกับจิต ๑ ทางวาจากับจิต ๑ ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็นกิริยา

สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต เป็น

ทุกขเวทนา ฉะนี้แล.

ปฐมทุฏฐโทสสิกขาบทวรรณนา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๙

เรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ

[๕๖๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เวพุวันวิหาร อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนคร

ราชคฤห์ ครั้งนั้นพระเมตติยะและพระภุมมชกะกำลังลงจากภูเขาคิชฌกูฏ

ได้เเลเห็นแพะผู้กับแพะเมียกำลังสมจรกัน ครั้นแล้วได้พูดอย่างนี้ว่า

อาวุโส ผิฉะนั้น พวกเราจะสมมติแพะผู้นี้เป็นพระทัพพมัลลบุตร สมมติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 518

แพะเมียนี้เป็นภิกษุณีเมตติยา จักกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย ครั้งก่อน

พวกกระผมได้กล่าวหาพระทัพพมัลลบุตรด้วยได้ยิน แต่บัดนี้พวกกระผม

ได้เห็นพระทัพพมัลลบุตรปฏิบัติผิดในภิกษุณีเมตติยาด้วยตนเอง เธอ

ทั้งสองได้สมมติแพะผู้นั้นเป็นพระทัพพมัลลบุตร สมมติแพะเมียนั้นเป็น

ภิกษุณีเมตติยาแล้ว จึงแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า อาวุโสทั้งหลาย เมื่อก่อน

พวกกระผมได้กล่าวหาพระทัพพมัลลบุตรด้วยได้ยิน แต่บัดนี้ พวกกระผม

ได้เห็นพระทัพพมัลลบุตรปฏิบัติผิดในภิกษุณีเมตติยาด้วยตนเอง ภิกษุ

ทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายอย่าได้กล่าวอย่างนี้ ท่าน

พระทัพพมัลลบุตรจักไมทำกรรมเช่นกล่าวมานี้ แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-

ทัพพมัลลบุตรว่า ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้ทำกรรม

อย่างที่ภิกษุเหล่านี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระ-

องค์ยอมทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด

แม้ครั้งที่สองแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสสอบถามท่านพระ-

ทัพพมัลลบุตรวา ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้ทำกรรม

อย่างที่ภิกษุเหล่านี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์

ย่อมทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 519

แม้ครั้งที่สามแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสสอบถามท่านพระ-

ทัพพมัลลบุตรว่า ดูก่อนทัพพะ เธอยังระลึกได้หรือว่า เป็นผู้ทำกรรม

อย่างที่ภิกษุเหล่านี้กล่าวหา

ท่านพระทัพพมัลลบุตร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ

พระองค์ย่อมทรงทราบว่า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นฉันใด

ภ. ดูก่อนทัพพะ คนฉลาดย่อมไม่แก้ข้อกล่าวหาอย่างนี้ ถ้าเธอ

ทำ จงบอกว่าทำ ถ้าเธอไม่ได้ทำ จงบอกว่าไม่ได้ทำ

ท. ตั้งแต่ข้าพระพุทธเจ้าเกิดนา แม้โดยความฝันก็ยังไม่รู้จัก

เสพเมถุนธรรม จะกล่าวไ ยถึงเมื่อตื่นอยู่ พระพุทธเจ้าข้า

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ

ทั้งหลาย ถ้าเช่นนั้น พวกเธอจงสอบสวนภิกษุพวกนี้ ครั้นรับสั่งเท่านี้

แล้วเสด็จลุกจากที่ประทับ เข้าพระวิหาร จึงภิกษุเหล่านั้นได้ทำการสอบ

สวนพระเมตติยะและพระภุมมชกะ เมื่อเธอทั้งสองถูกสอบสวน ได้แจ้ง

เรื่องนี้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว

ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็พวกท่านถือเอาเอกเทศ

บางแห่ง แห่งอธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่นให้เป็นเพียงเลศ แล้วตามกำจัด

ท่านพระทัพพมัลลบุตรด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิกหรือ

พระเมตติยะและพระภุมมชกะรับว่า จริงอย่างนั้น ขอรับ

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระ-

เมตติยะและพระภุมมชกะ จึงได้ถือเอาเอกเทศบางแห่ง แห่งอธิกรณ์

อันเป็นเรื่องอื่นให้เป็นเพียงเลศ แล้วตามกำจัดท่านพระทัพพมัลลบุตร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 520

ด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิกเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มี -

พระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

เมตติยะและพระภุมมชกะว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอถือเอา

เอกเทศบางแห่ง แห่งอธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่นให้เป็นเพียงเลศ แล้ว

ตามกำจัดพระทัพพมัลลบุตร ด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิกจริงหรือ

ภิกษุสองรูปนั้นทูลรับว่า จริงพระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย ไฉน

พวกเธอจึงได้ถือเอาเอกเทศบางแห่ง แห่งอธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่นให้

เป็นเพียงเลศ แล้วตามกำจัดพระทัพพมัลลบุตร ด้วยธรรมมีโทษถึง

ปาราชิกเล่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่นไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่ง ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของ

พวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว ครั้นพระ-

ผู้มีพระภาคาเจ้าทรงติเติยนพระเมตติยะ และพระภุมมชกะโดยอเนก-

ปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคน

บำรุงยาก ความเป็นคนมักมา ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี

ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 521

บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนก-

ปริยาย แล้วทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่อง

นั้น แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ประการ คือ เพื่อความรับว่า

ดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑

เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสนะอันจะ

บังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสนะอันจักบังเกิดรนอนาคต ๑ เพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุนชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๓. ๙. อนึ่ง ภิกษุใด ขัดใจ มีโทสะ ไม่แช่มชื่น ถือเอา

เอกเทศบางแห่ง แห่งอธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่น ให้เป็นเพียงเลศ ตาม

กำจัดซึ่งภิกษุ ด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิก ด้วยหมายว่า แม้ไฉน

เราจักยังเธอให้เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้ ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น อัน

ผู้ใดผู้หนึ่งถือเอาตามก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม แต่อธิกรณ์นั้นเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 522

เรื่องอื่นแท้ เอกเทศบางแห่ง เธอถือเอาพอเป็นเลศ แลภิกษุยันอิง

โทสะอยู่ เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๖๕] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิภษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฎิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุ

เหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะนี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.

บทว่า ซึ่งภิกษุ หมายภิกษุอื่น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 523

บทว่า ขัดใจ มีโหสะ คือ โกรธ ไม่ถูกใจ ไม่พอใจ แค้นใจ

เจ็บใจ.

บทว่า ไม่แช่มชื่น คือ เป็นคนมีใจไม่ชุ่มชื่น เพราะความโกรธ

นั้น เพราะโทสะนั้น เพราะความไม่ถูกใจนั้น และเพราะความไม่

พอใจนั้น

[๕๖๖] บทว่า แห่งอธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่น คือ เป็นส่วนอื่นแห่ง

อาบัติ หรือเป็นส่วนอื่นแห่งอธิกรณ์

[๕๑๗] อธิกรณ์เป็นส่วนอื่นแห่งอธิกรณ์ อย่างไร

๑. วิวาทาธิกรณ์ เป็นส่วนอื่นแห่งอนุวาทาธิกรณ์ อาปัตตาธิกรณ์

และกิจจาธิกรณ์

๒. อนุวาทาธิกรณ์ เป็นส่วนอื่นแห่งอาปัตตาธิกรณ์ กิจจาธิกรณ์

และวิวาทาธิกรณ์

๓. อาปัตตาธิกรณ์ เป็นส่วนอื่นแห่งกิจจาธิกรณ์ วิวาทาธิกรณ์

และอนุวาทาธิกรณ์

๔. กิจจาธิกรณ์ เป็นส่วนอื่นแห่งวิวาทาธิกรณ์ อนุวาทาธิกรณ์

และอาปัตตาธิกรณ์

อย่างนี้ อธิกรณ์ชื่อว่าเป็นส่วนอื่นแห่งอธิกรณ์.

[๕๖๘] อธิกรณ์เป็นส่วนเดียวกันแห่งอธิกรณ์ อย่างไร

๑. วิวาทาธิกรณ์ เป็นส่วนเดียวกันแห่งวิวาทาธิกรณ์

๒. อนุวาทาธิกรณ์ เป็นส่วนเดียวกันแห่งอนุวาทาธิกรณ์

๓. อาปัตตาธิกรณ์ เป็นส่วนเดียวกันแห่งอาปัตตาธิกรณ์ก็มี เป็น

ส่วนอื่นแห่งอาปัตตาธิกรณ์ก็มี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 524

อาปัตตาธิกรณืเป็นส่วนอื่นแห่งอาปัตตาธิกรณ์ อย่างไร

เมถุนธรรมปาราชิกาบัติ เป็นส่วนอื่นแห่งอทินนาทานปาราชิกาบัติ

มนุสสวิคคหปาราชิกาบัติ และอุตริมนุสธรรมปาราชิกาบัติ

อทินนาทานปาราชิกาบัติ เป็นส่วนอื่นแห่งมนุสสวิคคหปาราชิ-

กาบัติ อุตริมนุสธรรมปาราชิกาบัติ และเมถุนธรรมปาราชิกาบัติ

มนุสสวิคคหปาราชิกาบัติ เป็นส่วนอื่นแห่งอุตริมนุสธรรมปาราชิ-

กาบัติ เมถุนธรรมปาราชิกาบัติ และอทินนาทานปาราชิกาบัติ

อุตริมนุสธรรมปาราชิกาบัติ เป็นส่วนอื่นแห่งเมถุนธรรมปาราชิ-

กาบัติ อทินนาทานปาราชิกาบัติ และมนุสสวิคคหปาราชิกาบัติ

อย่างนี้ อาปัตตาธิกรณ์ชื่อว่าเป็นส่วนอื่นแห่งอาปัตตาธิกรณ์

ก็อาปัตตาธิกรณ์เป็นส่วนเดียวกันแห่งอาปัตตาธิกรณ์ อย่างไร

เมถุนธรรมปาราชิกาบัติ เป็นส่วนเดียวกันแห่งเมถุนธรรมปาราชิ-

กาบัติ

อทินนาทานปาราชิกาบัติ เป็นส่วนเดียวกันแห่งอทินนาทานปาราชิ-

กาบัติ

มนุสสวิคคหปาราชิกาบัติ เป็นส่วนเดียวกันแห่งมนุสสวิคคหปาราชิ-

กาบัติ

อุตริมนุสธรรมปาราชิกาบัติ เป็นส่วนเดียวกันแห่งอุตริมนุสธรรม-

ปาราชิกาบัติ

อย่างนี้ อาปัตตาธิกรณ์ชื่อว่าเป็นส่วนเดียวกันแห่งอาปัตตาธิกรณ์

๔. กิจจาธิกรณ์เป็นส่วนเดียวกันแห่งกิจจาธิกรณ์

อย่างนี้ อธิกรณ์ชื่อว่าเป็นส่วนเดียวกันแห่งอธิกรณ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 525

เลศ ๑๐ อย่าง

[๕๖๙] ที่ชื่อว่า เลศ ในคำว่า ถือเอาเอกเทศบางแห่ง...เป็น

เพียงเลศ นั้น อธิบายว่า เลศมี ๑ อย่าง ได้แก่ เลศคือชาติ ๑ เลศ

คือชื่อ ๑ เลศคือวงศ์ ๑ เลศคือลักษณะ ๑ เลศคืออาบัติ ๑ เลศคือ

บาตร ๑ เลศคือจีวร ๑ เลศคืออุปัชฌายะ ๑ เลศคืออาจารย์ ๑

เลศคือเสนาสนะ ๑.

อธิบายเลศ ๑๐ อย่าง

[๕๗๐] ที่ชื่อว่า เลศคือชาติ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้กษัตริย์ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุผู้กษัตริย์รูปอื่น

โจทว่า ภิกษุผู้กษัตริย์ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้พราหมณ์ ต้องปาราชิกธรรม ครั้น

เห็นภิกษุผู้พราหมณ์รูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้พราหมณ์ ข้าพเจ้าได้เห็น

ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสาย

พระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน

ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้แพศย์ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็น

ภิกษุผู้แพศย์รูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้แพศย์ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้

ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 526

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทย์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ศูทร ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็น

ภิกษุผู้ศูทรรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ศูทร ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้อง

ปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

[๕๗๑] ที่ชื่อว่า เลศคือชื่อ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้

ได้เห็นพระพุทธรักขิต ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นพระพุทธรักขิต

รูปอื่นแล้วโจทว่า พระพุทธรักขิต ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิก-

ธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นพระธรรมรักขิต ต้องปาราชิกธรรม ครั้น

เห็นพระธรรมรักขิตรูปอื่นแล้วโจทว่า พระธรรมรักขิต ข้าพเจ้าได้เห็น

ท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสาย

พระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน

ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นพระสังฆรักขิต ต้องปาราชิกธรรม ครั้น

เห็นพระสังฆรักขิตรูปอื่นแล้วโจทว่า พระสังฆรักขิต ข้าพเจ้าได้เห็นท่าน

เป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 527

ศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน

ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

[๕๗๒] ที่ชื่อว่า เลศคือวงศ์ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้

ได้เห็นภิกษุผู้วงศ์โคตมะ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุผู้วงศ์โคตมะ

รูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้วงศ์โคตมะ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้อง

ปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้วงศ์โมคคัลลานะ ต้องปาราชิกธรรม

ครั้นเห็นภิกษุผู้วงศ์โมคคัลลานะรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้วงศ์โมคคัลลานะ

ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็น

เชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วม

กับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้วงศ์กัจจายนะ ต้องปาราชิกธรรม

ครั้นเห็นภิกษุผู้วงศ์กัจจายนะรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้วงศ์กัจจายนะ

ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่

เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วม

กับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้วงศ์วาสิฏฐะ ต้องปาราชิกธรรม

ครั้นเห็นภิกษุผู้วงศ์วาสิฏฐะรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้วงศ์วาสิฏฐะ ข้าพเจ้า

ได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 528

สายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วม

กับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

[๕๗๓] ที่ชื่อว่า เลศคือลักษณะ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้สูง ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุผู้สูงรูปอื่นเเล้วโจทว่า

ภิกษุผู้สูง ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ท ก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ต่ำ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็น

ภิกษุผู้ต่ำรูปอื่นโจทว่า ภิกษุผู้ต่ำ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิก-

ธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวาณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ดำ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็น

ภิกษุผู้ดำรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ดำ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้อง

ปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ขาว ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็น

ภิกษุผู้ขาวรูปอื่นแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ขาว ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้

ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

โบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 529

[๕๗๔] ที่ชื่อว่า เลศคืออาบัติ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้ต้องลหุกาบัติ ถ้าโจทเธอด้วยปาราชิกธรรมว่า ข้าพเจ้า

ได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสาย

พระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน

ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

[๕๗๕] ที่ชื่อว่า เลศคือบาตร นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้ใช้บาตรโลหะ ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่น

ผู้ใช้บาตรโลหะแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ใช้บาตรโลหะ ข้าพเจ้าได้เห็นท่าน

เป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระ-

ศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ใช้บาตรดินเหนียว ต้องปาราชิก-

ธรรม ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่นผู้ใช้บาตรดินเหนียวแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ใช้

บาตรดินเหนียว ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ใช้บาตรเคลือบ ต้องปาราชิกธรรม

ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่นผู้ใช้บาตรเคลือบแ ล้วโจทว่า ภิกษุผู้ใช้บาตรเคลือบ

ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่

เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 530

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ใช้บาตรดินธรรมดา ต้องปาราชิก-

ธรรม ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่นผู้ใช้บาตรดินธรรมดาแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ใช้

บาตรดินธรรมดา ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

[๕๗๖] ที่ชื่อว่า เลศคือจีวร นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้

เห็นภิกษุผ้ทรงผ้าบังสกุล ต้องปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่นผู้ทรง

ผ้าบังสกุลแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ทรงผ้าบังสกุล ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้

ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้ทรงผ้าของคหบดี ต้องปาราชิก

ธรรม ครั้นเห็นภิกษุรูปอื่นผู้ทรงผ้าของคหบดีแล้วโจทว่า ภิกษุผู้ทรงผ้า

ของคหบดี ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี

ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

[๕๗๗] ที่ชื่อว่า เลศคืออุปัชฌายะ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้

โจทก์เป็นผู้ได้เห็นภิกษุผู้สัทธิวิหาริกของพระอุปัชฌายะผู้มีชื่อนี้ ต้อง

ปาราชิกธรรม ครั้นเห็นภิกษุผู้สัทธิวิหาริกรูปอื่นของพระอุปัชฌายะผู้มี

ชื่อนี้แล้วโจทว่า ภิกษุผู้สัทธิวิหาริกของพระอุปัชฌายะผู้มีชื่อนี้ ข้าพเจ้า

ก็เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 531

เชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วม

กับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

[๕๗๘] ที่ชื่อว่า เลศคืออาจารย์ นั้น อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้อันเตวาสิกของพระอาจารย์ผู้มีชื่อนี้ ต้องปาราชิกธรรม

ครั้นเห็นภิกษุผู้อันเตวาสิกรูปอื่นของพระอาจารย์ผู้มีชื่อนี้แล้วโจทว่า ภิกษุ

ผู้อันเตวาสิกของพระอาจารย์ผู้มีชื่อนี้ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้อง

ปาราชิกธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

[๕๗๙] ที่ชื่อว่า เลสคือเสนาสนะ อธิบายว่า ภิกษุผู้โจทก์เป็น

ผู้ได้เห็นภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะของคหบดีผู้มีชื่อนี้ ต้องปาราชิกธรรม ครั้น

เห็นภิกษุรูปอื่นผู้อยู่ในเสนาสนะของคหบดีผู้มีชื่อนี้แล้วโจทว่า ภิกษุผู้อยู่

ในเสนาสนะของคหบดีผู้มีชื่อนี้ ข้าพเจ้าได้เห็นท่านเป็นผู้ต้องปาราชิก-

ธรรม ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน ดังนี้ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

[๕๘๐] บทว่า ด้วยพรรมอันมีโทษถึงปาราชิก คือ ด้วยปาราชิก-

ธรรมทั้ง ๔ สิกขาบทใดสิกขาบทหนึ่ง.

บทว่า ตามกำจัด ได้แก่ โจทเองหรือสั่งให้โจท.

พากย์ว่า แม้ไฉนเราจะยังเธอให้เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้

ความว่า ให้เคลื่อนจากภิกษุภาพ ให้เคลื่อนจากสมณธรรม ให้เคลื่อนจาก

ศีลขันธ์ ให้เคลื่อนจากคุณคือตบะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 532

[๕๘๑] คำว่า ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น ความว่า เมื่อ ขณะ คราว

ครู่หนึ่งที่ภิกษุผู้ถูกตามกำจัดนั้นผ่านไปแล้ว.

บทว่า อันผู้ใดผู้หนึ่งถือตาม คือ มีบุคคลเชื่อในเรื่องที่เป็นเหตุ

ให้เขาตามกำจัดนั้น.

บทว่า ไม่ถือเอาตาม คือ ไม่มีใคร ๆ พูดถึง.

[๕๘๒] ที่ชื่อว่า อธิกรณ์ ได้แก่อธิกรณ์ ๘ อย่าง คือ วิวาทา-

ธิกรณ์ ๑ อนุวาทาธิกรณ์ ๑ อาปัตตาธิกรณ์ ๑ กิจจาธิกรณ์ ๑

[๕๘๓] บทว่า เอกเทศบางแห่ง เธอถือเอาพอเป็นเลศ คือ ถือ

เอาเลศ ๑๐ อย่างนั้น อย่างใดอย่างหนึ่ง.

[๕๘๔] บทว่า แลภิกษุยันอิงโทสะอยู่ ความว่า ภิกษุกล่าว

ปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าพูดเปล่า ๆ พูดเท็จ พูดไม่จริง ข้าพเจ้าไม่รู้ ได้

พูดแล้ว.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัติ เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ไช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล

แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

เอเกกมูลจักร โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

[๕๘๕] ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส มีความ

เห็นในอาบัติสังฆาทิเสสว่าเป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 533

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่าเป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 534

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษูผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด.

โจทภิกษุต้องอาบัติถุลลัจจัย

[๕๘๖] ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย มีความเห็น

ในอาบัติถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นใน

อาบัติถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 535

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัย ว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุกๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 536

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 537

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด.

โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ มีความเห็นในอาบัติ

ปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนีย่ว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 538

ปวารณาก็ดี สังฆกรรนก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อม

เป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนียะว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนียะว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ มีความเห็นในอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 539

ว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ

ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรม

ก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ

และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 540

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด.

โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิต ว่าเป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่าเป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต เเต่มีความเห็นใน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 541

อาบัติทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าโจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่

เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

พึงทำอาบัติหนึ่ง ๆ ให้เป็นมูลแล้วผูกเป็นจักร.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 542

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

[๕๘๗] ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส มีความเห็น

ในอาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนั้น

อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร

อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้

อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 543

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ แเละผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส แต่มีความเห็นใน

อาบัติสังฆาทิเสสว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย

[๕๘๘] ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย มีความเห็นใน

อาบัติถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชึ้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้ส่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 544

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นยอมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 545

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติถุลลัจจัย แต่มีความเห็นในอาบัติ

ถุลลัจจัยว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ ว่าเป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ ว่าเป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 546

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ปาจิตตีย์ว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 547

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ มีความเห็นในอาบัติ

ปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อม

เป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆา-

ทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนียะว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนียะว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 548

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฎิเทสนียะว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ แต่มีความเห็นใน

อาบัติปาฏิเทสนียะว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติ

ปาราชิกว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถ

ก็ดี ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์

นั้นย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเสศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด.

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ มีความเห็นในอาบัติทุกกฏ

ว่าเป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่านไม่เป็น

สมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 549

แห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทกเห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 550

ไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณาก็ดี

สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วนอื่น

แห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ทุก ๆ

คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุกกฏ แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุกกฏว่า เป็นอาบัติปาฎิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

สั่งให้โจทภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติทุพภาสิต ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆธรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็นส่วน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 551

อื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติถุลลัจจัย ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติปาฏิเทสนียะ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิก

ว่า ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี

ปวารณาก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้น

ย่อมเป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติ

สังฆาทิเสส ทุก ๆ คำพูด

ภิกษุผู้โจทก์เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติทุพภาสิต แต่มีความเห็นในอาบัติ

ทุพภาสิตว่า เป็นอาบัติทุกกฏ ถ้าสั่งให้โจทเธอด้วยอาบัติปาราชิกว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 552

ท่านไม่เป็นสมณะ ท่านไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร อุโบสถก็ดี ปวารณา

ก็ดี สังฆกรรมก็ดี ไม่มีร่วมกับท่าน แม้อย่างนี้ อธิกรณ์นั้นย่อมเป็น

ส่วนอื่นแห่งอาบัติ และผู้สั่งให้โจทถือเอาเป็นเลศ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

อนาปัตติวาร

[๕๘๙] ภิกษุผู้สำคัญเป็นอย่างนั้นโจทเองก็ดี สั่งให้ผู้อื่นโจทก็ดี ๑

ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๙ บท

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๙

ทุติยทุฏฐโทสสิกขาบทวรรณนา

ทุติยทุฏฐโทสสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป :-

พึงทราบวินิจฉัยในทุฏฐโทสสิกขาบทนั้น ดังต่อไปนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องภิกษุเมตติยะและภุมมชกะ]

คำว่า หนฺท มย อาวุโส ฉกลก ทพฺพ มลฺลปุตฺต นาม กโรม มี

ความว่า ได้ยินว่า พระเมตติยะและภุมมชกะนั้น ไม่อาจให้มโนรถของ

ตนสำเร็จในเรื่องแรก ได้รับการนิคหะ ถึงความแค้นเคือง กล่าวว่า

เดี๋ยวเถอะ พวกเราจักรู้กัน จึงเที่ยวคอยแส่หาเรื่องราวเช่นนั้น. ต่อมา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 553

วันหนึ่ง ได้พบเห็นแล้วดีใจ มองดูกันและกันแล้ว ได้กล่าวอย่างนี้ว่า

เอาเถิด ผู้มีอายุ ! พวกเราจะสมมติแพะผู้ตัวนี้ ให้ชื่อว่า ทัพพมัลลบุตร

มีคำอธิบายว่า พวกเราจะตั้งชื่อให้แพะผู้ตัวนั้น อย่างนี้ว่า แพะตัวนี้

ชื่อว่าทัพพมัลลบุตร. แม้ในคำว่า เมตฺติย นาม ภิกขุนึ นี้ ก็นัยนี้.

คำว่า เต ภิกฺขู เมตฺติยภุมฺมชเก ภิกฺขู อนุยุญฺชึสุ มีความว่า พวก

ภิกษุเหล่านั้น สอบสวนอย่างนี้ว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! พวกท่านเห็น

พระทัพพมัลลบุตรกับนางเมตติยาภิกษุณี ณ ที่ไหนกัน ?

พวกเธอตอบว่า ที่เชิงเชาคิชฌกูฏ.

ภิกษุทั้งหลายถามว่า ในเวลาไหน ?

พวกเธอตอบว่า ในเวลาไปภิกขาจาร.

พวกภิกษุ ถามท่านพระทัพพมัลลบุตรว่า ท่านทัพพะ ! พวกภิกษุ

เหล่านี้ กล่าวอย่างนี้ ท่านอยู่ที่ไหน ในเวลานั้น !

ท่านพระทัพพมัลลบุตรตอบว่า ข้าพเจ้าแจกภัตตาหารอยู่ในพระ-

เวฬุวัน.

ใครบ้างทราบว่าท่านอยู่ในเวฬุวัน ในเวลานั้น ?

ภิกษุสงฆ์ ขอรับ.

พวกภิกษุเหล่านั้น จึงถามสงฆ์ว่า ท่านทั้งหลาย ทราบไหมว่า

ท่านผู้มีอายุทัพพะนี้ อยู่ที่เวฬุวันในเวลานั้น ?

ภิกษุสงฆ์ ขอรับ ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! พวกเรารู้ว่า พระเถระ

อยู่ที่เวฬุวันเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ท่านได้รับสมมติแล้ว.

ลำดับนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงกล่าวกะพระเมตติยะและภุมมชกะว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 554

ท่านผู้มีอายุ ! ถ้อยคำของท่านทั้งสอง ไม่สมกัน, พวกท่านอ้างเลศ

กล่าวกะพวกเรากระมัง ?

พระเมตติยะและภุมมชกะทั้งสองนั้น ถูกพวกภิกษุเหล่านั้น ซักฟอก

อย่างนั้น ได้กล่าวว่า ขอรับ ท่านผู้มีอายุ จึงได้บอกเรื่องราวนั้น.

ในคำว่า กมฺปน ฯเปฯ อธิกรณสฺส นี้ มีวินิจฉัยดังนี้ :-

แพะนี้ (อธิกรณ์กล่าวคือแพะนี้ ) แห่งส่วนอื่น หรือส่วนอื่นแห่ง

แพะนั้น มีอยู่; เพราะเหตุนั้น แพะนั้น จึงชื่อว่า อัญญภาคิยะ (มี

ส่วนอื่น). สัตว์ที่รองรับ พึงทราบว่า อธิกรณ์. อธิบายว่า ที่ตั้งแห่ง

เรื่อง. เพราะว่า แพะที่พวกภิกษุเมตติยะและภุมมชกะ กล่าวว่า ชื่อว่า

ทัพพมัลลบุตรนั้น ย่อมมีแก่ส่วน คือโกฎฐาส ฝักฝ่าย กล่าวคือกำเนิด

สัตว์ดิรัจฉาน และความเป็นแพะอื่นจากส่วน คือโกฏฐาส ฝักฝ่าย กล่าว

คือกำเนิดมนุษย์ และความเป็นภิกษุของท่านพระทัพพมลัลบุตร, อีก

อย่างหนึ่ง ส่วนอื่นนั้น มีอยู่แก่แพะนั้น เพราะเหตุดังนี้นั้น แพะนั้น

จึงได้การนับว่า มีส่วนอื่น. ก็เพราะแพะนั้น เป็นที่รองรับ เป็นที่ตั้ง

แห่งเรื่องของสัญญา คือการตั้งชื่อแห่งพวกภิกษุเมตติยะและภุมมชกะนั้น

ผู้กล่าวอยู่ว่า พวกเราจะสมมติแพะนี้ ให้ชื่อว่า ทัพพมัลลบุตร, เพราะ-

ฉะนั้น แพะนั้น พึงทราบว่า อธิกรณ์. จริงอยู่ ภิกษุเหล่านั้นหมายถึง

แพะนั้น จึงได้กล่าวว่า อญฺภาคิยสฺสิ อธิกรณสฺส เป็นต้น, มิได้

กล่าวหมายถึงอธิกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง มีวิวาทาธิกรณ์เป็นต้น.

ถามว่า เพราะเหตุไร ?

แก้ว่า เพราะอธิกรณ์เหล่านั้น ไม่มี.

เพราะว่าภิกษุเหล่านั้น ไม่ได้ถือเอาเอกเทศบางอย่างให้เป็นเพียง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 555

เลศ แห่งอธิกรณ์ ๔ อย่าง บางอธิกรณ์ซึ่งมีส่วนอื่น. และชื่อว่า เลศ

แห่งอธิกรณ์ ๔ ก็ไม่มี จริงอยู่ เลศทั้งหลาย มีเลศ คือชาติเป็นต้น

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้สำหรับบุคคลเหล่านั้น มิได้ตรัสไว้สำหรับ

อธิกรณ์ มีวิวาทาธิกรณ์เป็นต้น. และชื่อว่า ทัพพมัลลบุตร นี้ เป็น

เอกเทศบางอย่างของแพะนั้น ตัวตั้งอยู่ในความเป็นอธิกรณ์มีส่วนอื่น

และเป็นเพียงเลศ เพื่อตามกำจัดพระเถระ ด้วยปาราชิกอันไม่มีมูล.

ก็บรรดาเทศและเลศนี้ ส่วนที่ชื่อว่าเทศ เพราะอรรถว่า ปรากฎ

คือถูกอ้างถึง ถูกเรียกว่า แพะนี้มีความสัมพันธ์แก่ส่วนอื่นนั้น. คำว่า

เทศนี้ เป็นชื่อแห่งส่วนใดส่วนหนึ่ง บรรดาส่วนมีชาติเป็นต้น. ที่ชื่อว่า

เลศ เพราะอรรถว่า รวม คือยึดตัววัตถุแม้อื่นไว้ ได้แก่ติดอยู่เพียงเล็กน้อย

โดยเป็นเพียงโวหารเท่านั้น. คำว่า เลศ นี้ เป็นชื่อแห่งส่วนใดส่วนหนึ่ง

บรรดาส่วนมีชาติเป็นต้นเหมือนกัน. คำอื่นนอกจากสองคำนั้น มีอรรถ

กระจ่างทั้งนั้น. แม้ในสิกขาบทบัญญัติ ก็มีอรรถอย่างนั้นเหมือนกัน.

[อธิบายอธิกรณ์เป็นเรื่องอื่นและเป็นเรื่องนั้น]

ก็บัณฑิตพึงทราบสันนิษฐาน ในบทภาชนะว่า ภิกษุพึงถือเอา

เอกเทศบางอย่าง ของอธิกรณ์อัน เป็นเรื่องอื่นใด ให้เป็นเพียงเลศ ตาม

กำจัดภิกษุด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิก, อธิกรณ์อันเป็นเรื่องอื่นนั้น

แจ่มแจ้งแล้วด้วยอำนาจแห่งเหตุที่เกิดขึ้นนั่นแล; เพราะเหตุนั้น อธิกรณ์

อันเป็นเรื่องอื่นนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงไม่ทรงจำแนกไว้ในบท

ภาชนะ. ก็แล อธิกรณ์ ๔ เหล่าใด ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วด้วย

อำนาจแห่งอันยกเนื้อความขึ้น โดยคำสามัญว่า อธิกรณ์. ข้อที่อธิกรณ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 556

เหล่านั้นเป็นเรื่องอื่น และข้อที่อธิกรณ์เหล่านั้นเป็นเรื่องนั้น ยังไม่ปรากฏ

ด้วย อันพระวินัยธรทั้งหลาย ควรทราบด้วย; เพราะเหตุนั้น เมื่อ

พระองค์จะทรงอาศัยอธิกรณ์ที่ได้โดยคำสามัญ กระทำข้อที่อธิกรณ์เหล่านั้น

เป็นเรื่องอื่นและเป็นเรื่องนั้นนั้นให้เเจ่มแจ้ง จึงตรัสบทภาชนะว่า อญฺ-

ภาคิยสฺส อธิกรณสฺสาติ อาปตฺตญฺภาคิย วา โหติ อธิกรณญฺภาคิย

วา เป็นต้น.

ก็ข้อที่อธิกรณ์ทั้งปวงเป็นเรื่องนั้น และเป็นเรื่องอื่นนี้ อันผู้ศึกษา

พึงทราบว่า ทรงประมวลมาแล้ว เพื่อแสดงแม้ซึ่งคำโจทด้วยอำนาจแห่ง

อธิกรณ์ อันเป็นเรื่องอื่นแห่งอาบัติ ที่ตรัสไว้เเล้วในสุดนั่นแล. อันที่

จริง เมื่อนิเทศว่า กถญฺจ อาปตฺติ อาปตฺติยา อญฺภาคิยา โหติ ดังนี้

อันพระองค์ควรปรารภถึ. เพราะในอุเทศนั้นได้ทรงยกขึ้นไว้ก่อนว่า

อาปตฺตญฺภาคิย วา เป็นต้น, เนื้อความนี้จักมาในคราวพิจารณาอธิกรณ์

เป็นส่วนนั้น แห่งอาปัตตาธิกรณ์นั้นแล; เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า

พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ทรงปรารภอย่างนั้น ทรงกำหนดเอาบทสุดท้าย

ทีเดียว ปรารภนิเทศว่า กถญฺจ อธิกรณ อธิกรณสฺส อญฺภาคิย ดังนี้.

ในวาระทั้งสองนั้น อัญญภาคิยวาร มีเนื้อความตื้นทีเดียว. จริงอยู่

อธิกรณ์แต่ละอย่าง ๆ จัดเป็นเรื่องอื่น คือเป็นฝ่ายอื่น เป็นส่วนอื่นแห่ง

อธิกรณ์ ๓ อย่างนอกนี้ เพราะมีวัตถุเป็นวิสภาคกัน.

ส่วนในตัพภาติวาร มีวินิจฉัยว่า วิวาทาธิกรณ์ จัดเป็นเรื่องนั้น

เป็นฝ่ายนั้น เป็นส่วนนั้นแห่งวิวาทาธิกรณ์ ก็เพราะมีวัตถุเป็นสภาคกัน.

อนุวาทาธิกรณ์ เป็นเรื่องนั้นแห่งอนุวาทาธิกรณ์ ก็เหมือนกัน. คือ

อย่างไร ? คือเพราะว่า วิวาทที่อาศัย เภทกรวัตถุ ๑๘ เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 557

พุทธกาล และวิวาทที่อาศัยเภทกรวัตถุเกิดขึ้นในบัดนี้ ย่อมเป็นวิวาทา-

ธิกรณ์อย่างเดียวกันแท้ เพราะมีวัตถุเป็นสภาคกัน.

อนึ่ง อนุวาทที่อาศัยวิบัติ ๔ เกิดขึ้นตั้งแต่พุทธกาล และอนุวาท

ที่อาศัยวิบัติ ๔ เกิดในบัดนี้ ย่อมชื่อว่า เป็นอนุวาทาธิกรณ์อย่างเดียวกัน

แท้ เพราะมีวัตถุเป็นสภาคกัน. ส่วนอาปัตตาธิกรณ์ ไม่จัดเป็นเรื่องนั้น

โดยส่วนเดียว แห่งอาปัตตาธิกรณ์ เพราะมีวัตถุทั้งเป็นสภาคกัน ทั้งเป็น

วิสภาคกัน และเพราะพึงเห็นคล้ายความเป็นเอง; เพราะเหตุนั้น อาปัตตา-

ธิกรณ์ ท่านจึงกล่าวว่า เป็นเรื่องนั้น แห่งอาปัตตาธิกรณ์ก็มี เป็นเรื่อง

อื่น แห่งอาปัตตาธิกรณ์ก็มี. ในตัพภาติยะ และอัญญภาคิยะนั้น อัญญ-

ภาติยะนั่นแล ทรงอธิบายก่อน แม้ในอาปัตตาธิกรณ์นิเทศนี้ เพราะ

อัญญาภาคิยะ ได้ทรงอธิบายมาก่อนแล้ว ตั้งแต่ต้น. ข้อที่อาปัตตาธิกรณ์

เป็นเรื่องอื่น ในอาปัตตาธิกรณ์นิเทศนั้น และข้อที่อาปัตตาธิกรณ์เป็น

เรื่องนั้น (ที่กล่าวไว้) ข้างหน้า ผู้ศึกษาพึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแล.

ก็ในคำว่า กิจฺจาธิกรณ กิจฺจาธิกรณสฺส ตพฺภาคิย นี้ มีวินิจฉัย

ดังนี้:- อธิกรณ์ที่อาศัยสังฆกรรม ๔ เกิดขึ้น ตั้งแต่ครั้งพุทธกาล และ

อธิกรณ์ที่อาศัยสังฆกรรม ๔ เกิดขึ้นในบัดนี้ ย่อมเป็นกิจจาธิกรณ์อย่าง

เดียวกันแท้ เพราะเป็นสภาคกัน และเพราะเห็นได้คล้ายกัน.

ถามว่า อธิกรณ์ที่อาศัยสังฆกรรมเกิดขึ้น ชื่อว่า กิจจาธิกรณ์

หรือว่า ข้อนั้นเป็นชื่อแห่งสังฆกรรมทั้งหลายเท่านั้น.

แก้ว่า ข้อนั้น เป็นชื่อแห่งสังฆกรรมทั้งหลายเท่านั้น. แม้เมื่อ

เป็นอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ตรัสเรียกอธิกรณ์ที่อาศัยสังฆกรรมเกิด

ขึ้นว่า กิจจาธิกรณ์ เพราะอาศัยกรรมลักษณะที่ภิกษุใฝ่ใจถึง ซึ่งตรัส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 558

ไว้ว่า 'ชื่อว่าสังฆกรรมนี้และนี้ ควรทำอย่างนี้ ่ เกิดขึ้นและเพราะอาศัย

สังฆกรรมก่อน ๆ เกิดขึ้น.

ก็เพราะสองบทว่า เทโส หรือ เลสมตฺโต อันมีอยู่ในคำว่า กิญฺจิ

เทส เลสมตฺต อุปาทาย นี้ ต่างกันโดยพยัญชนะ โดยอรรถเป็นอย่าง

เดียวกัน โดยนัยดังกล่าวแล้วดังก่อนนั่นแล; ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสคำมีอาทิว่า เลโสติ ทส เลสา ชาติเลโส นามเลโส ดังนี้.

บรรดาเลศ คือชาติเป็นต้นนั้น ชาติ (กำเนิด) นั่นเอง ชื่อว่า เลศ คือ

ชาติ. ในเลศที่เหลือ ก็นัยนี้.

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์ตอนว่าด้วยเลศ]

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะทรงแสดงเลศนั้นนั่นแลโดยพิสดาร

แสดงให้เห็นพร้อมทั้งวัตถุ โดยประการที่จะมีการอ้างเลศนั้นตามกำจัด

จึงตรัสคำเป็นต้นว่า ชาติเลโส นาม ขตฺติโย ทิฏโ โหติ ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น คำว่า ขตฺติโย หิฏโ โหติ มีความว่า บุคคล

อื่นบางคน เป็นเชื้อชาติกษัตริย์ ย่อมเป็นผู้อันโจทก์นี้เห็นแล้ว.

คำว่า ปาราชิก ธมฺม อชฺฌาปชฺชนฺโต ได้แก่ เป็นผู้ต้องบรรดา

ปาราชิกมีเมถุนธรรมเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง.

คำว่า อญฺ ขตฺติย ปสฺสิตฺวา โจเทติ มีความว่า ภายหลังโจทก์

นั้น เห็นภิกษุอื่นผู้มีชาติเป็นกษัตริย์ ซึ่งเป็นคู่เวรของตน แล้วถือเอา

เลศ คือชาติกษัตริย์นั้น โจทอย่างนี้ว่า กษัตริย์ต้องธรรม คือปาราชิก

ข้าพเจ้าได้เห็นแล้ว, ท่านเป็นกษัตริย์ เป็นผู้ต้องธรรม คือปาราชิก.

อีกอย่างหนึ่ง โจทว่า ท่าน คือกษัตริย์นั้น ไม่ใช่ผู้อื่นเป็นผู้ต้องธรรม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 559

คือปาราชิก, ท่านเป็นผู้มิใช่สมณะ เป็นผู้มิใช่เหล่ากอแห่งศากยบุตร,

ไม่มีอุโบสถ ปวารณา หรือว่าสังฆกรรม ร่วมกับท่าน ต้องสังฆาทิเสส

ทุก ๆ คำพูด.

ก็ในคำว่า ขตฺติโย มยา ทิฏฺโ เป็นต้นนี้ ผู้ศึกษาพึงทราบความ

ที่กษัตริย์เหล่านั้น เป็นผู้มีส่วนอื่น ด้วยอำนาจแห่งกษัตริย์ ผู้ไม่เหมือน

กันและกันนั้น ๆ มีลักษณะสูง หรือที่ตนได้เห็นแล้วเป็นต้น และความที่

กษัตริย์เหล่านั้น เป็นอธิกรณ์ ด้วยอำนาจแห่งความเป็นผู้รองรับบัญญัติ

คือชาติกษัตริย์. ผู้ศึกษาพึงทราบโยชนาในบททั้งปวงโดยอุบายนี้นั่นแล.

พึงทราบวินิจฉัยในปัตตเลสนิเทศ ดังนี้:- บาตรดินเหนียวมี

สัณฐานงาม มีผิวเรียบสนิท มีสีเหมือนแมลงภู่ คล้ายกับบาตรโลหะ ท่าน

เรียกว่า บาตรเคลือบ. บาตรดินตามปกติ ท่านเรียกว่า บาตรดินธรรมดา.

ก็เพราะตรัสนิเทศแห่งเลศ คืออาบัติไว้โดยสังเขปด้วยบทเดียวกันเท่านั้น;

ฉะนั้น เพื่อแสดงเลศ คืออาบัติแม้นั้นโดยพิสดาร พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสคำเป็นต้นว่า เราได้เห็นภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ดังนี้.

ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสนิเทศแห่งเลศ

คืออาบัตินั้นไว้ในอธิการแห่งเลศ คืออาบัตินั้นเสียทีเดียว แต่กลับมาตรัส

ไว้ต่างหาก ในนิเทศแห่งบทว่า สงฺฆาทิเสโส นี้เล่า ?

แก้ว่า ก็เพราะในนิเทศแห่งเลศ ไม่มีสภาคกัน.

จริงอยู่ นิเทศแห่งเลศทั้งหลาย ตรัสไว้ด้วยอำนาจแห่งการเห็น

ภิกษุรูปอื่น แล้วโจทภิกษุอีกรูปหนึ่ง. แต่นิเทศแห่งเลศ คืออาบัตินี้

ตรัสด้วยอำนาจการเห็นภิกษุรูปเดียวนั่นแล ต้องอาบัติอื่น แล้วโจทด้วย

อาบัติอื่น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 560

ถามว่า ถ้าอย่างนั้น อธิกรณ์มีส่วนอื่น จะมีได้อย่างไร ?

แก้ว่า มีได้เพราะอาบัติ. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึง

ตรัสคำนี้ว่า อธิกรณ์เป็นส่วนอื่นแห่งอาบัติ และเลศอันโจทก์อ้างแล้ว

แม้ด้วยอาการอย่างนี้. แท้จริง ภิกษุนั้น ต้องสังฆาทิเสสใด, อธิกรณ์

คือสังฆาทิเสสนั้น เป็นอธิกรณ์มีส่วนอื่นแห่งปาราชิก. ก็ที่ชื่อว่าเลศแห่ง

อธิกรณ์มีส่วนอื่นนั้น คือความเป็นอาบัติทั่วไปแก่อาบัติทั้งปวง เหมือน

ความเป็นกษัตริย์ทั่วไปแก่กษัตริย์ทั้งปวงฉะนั้น. นัยทั้งหลายมีอาบัติที่เหลือ

เป็นมูล และโจทาปกวาร ผู้ศึกษาพึงทราบโดยอุบายนี้.

คำว่า อนาปตฺติ ตถาสญฺี โจเทติ วา โจทาเปติ วา มีความว่า

ภิกษุใด มีความสำคัญอย่างนี้ว่า ผู้นี้ ต้องปาราชิกทีเดียว โจทเอง หรือ

ใช้ให้ผู้อื่นโจทอย่างนั้น ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้น. บทที่เหลือทั้งหมด

ตื้นทั้งนั้น.

แม้ปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น ก็เหมือนกับปฐมทุฏฐโทสสิกขาบท

นั้นแล.

ทุติยทุฏฐโทสสิกขาบทวรรณา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๐

เรื่องพระเทวทัต

[๕๙๐] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เวฬุวันวิหาร อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนคร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 561

ราชคฤห์ ครั้งนั้นพระเทวทัตเข้าไปหาพระโกกาลิกะ พระกูฏโมรกติสสกะ

พระขัณฑเทวีบุตร และพระสมุทททัต ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะพระ-

โกกาลิกะ พระกูฎโมรกติสสกะ พระขัณฑเทวีบุตร และพระสมุทททัต

ว่า มาเถิด อาวุโสทั้งหลาย พวกเราจักกระทำสังฆเภท จักรเภท แก่

พระสมณโคดม

เมื่อพระเทวทัตกล่าวอย่างนี้แล้ว พระโกกาลิกะได้กล่าวคำนี้กะ

พระเทวทัตว่า อาวุโส พระสมณโคดมมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก

ไฉนเราจักทำสังฆเภท จักรเภท แก่พระสมณโคดมได้เล่า

วัตถุ ๕ ประการ

พระเทวทัตกล่าวว่า มาเถิด อาวุโสทั้งหลาย พวกเราจักเข้าเฝ้า

พระสมณโคดม ทูลขอวัตถุ ๕ ประการว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญคุณแห่งความมักน้อย ความสันโดษ ความ

ขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภ

ความเพียร โดยอเนกปริยาย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ วัตถุ ๕ ประการนี้

เป็นไปเพื่อความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเสื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระพุทธเจ้าขอประทานพระวโรกาส ๑. ภิกษุ

ทั้งหลายควรอยู่ป่าตลอดชีวิต ภิกษุใดอาศัยบ้านอยู่ โทษพึงถูกต้องภิกษุ

นั้น ๒. ภิกษุทั้งหลายควรเที่ยวบิณฑบาตตลอดชีวิต ภิกษุใดยินดีการ

นิมนต์ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๓. ภิกษุทั้งหลายควรถือผ้าบังสุกุลตลอด

ชีวิต ภิกษุใดยินดีผ้าคหบดี โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๔. ภิกษุทั้งหลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 562

ควรอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต ภิกษุใดเข้าอาศัยที่มุงบัง โทษพึงถูกต้องภิกษุ

นั้น ๕. ภิกษุทั้งหลายไม่ควรฉันปลาและเนื้อตลอดชีวิต ภิกษุใดฉันปลา

และเนื้อ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น พระสมณโคดม จักไม่ทรงอนุญาต

วัตถุ ๕ ประการนี้ พวกเราทั้งนั้นจักโฆษณาให้ชุมชนเชื่อถือด้วยวัตถุ ๕

ประการนี้ อาวุโสทั้งหลาย พวกเราสามารถที่จะกระทำสังฆเภท จักรเภท

แก่พระสมณโคดมได้ เพราะวัตถุ ๕ ประการนี้แล เพราะคนทั้งหลาย

เลื่อมใสในลูขปฏิบัติ.

[๕๙๑] ครั้งนั้น พระเทวทัตพร้อมด้วยบริษัทเข้าไปเฝ้าพระผู้มี-

พระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่ง ณ ที่

ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่

พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ทรงสรรเสริญคุณแห่งความมักน้อย ความ

สันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม

การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ วัตถุ ๕

ประการนี้ เป็นไปเพื่อความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดย

อเนกปริยาย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระพุทธเจ้าขอประทานพระ-

วโรกาส ๑. ภิกษุทั้งหลายควรอยู่ป่าตลอดชีวิต ภิกษุใดอาศัยบ้านอยู่

โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๒. ภิกษุทั้งหลายควรเที่ยวบิณฑบาตตลอดชีวิต

ภิกษุใดยินดีการนิมนต์ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๓. ภิกษุทั้งหลายควร

ถือผ้าบังสุกุลตลอดชีวิต ภิกษุใดยินดีผ้าคหบดี โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น

๔. ภิกษุทั้งหลายควรอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต ภิกษุใดเข้าอาศัยที่มุงบัง โทษ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 563

พึงถูกต้องภิกษุนั้น ๕. ภิกษุทั้งหลายไม่ควรฉันปลาและเนื้อตลอดชีวิต

ภิกษุใดฉันปลาและเนื้อ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้าห้ามว่า อย่าเลย เทวทัต ภิกษุใดปรารถนา

ก็จงอยู่ป่า ภิกษุใดปรารถนา ก็จงอยู่บ้าน ภิกษุใดปรารถนา ก็จงเที่ยว

บิณฑบาต ภิกษุใดปรารถนา ก็จงยินดีการนิมนต์ ภิกษุใดปรารถนา

ก็จงถือผ้าบังสุกุล ภิกษุใดปรารถนา ก็จงยินดีผ้าคหบดี ดูก่อนเทวทัต

เราอนุญาตรุกขมูลเสนาสนะตลอด ๘ เดือนเท่านั้น เราอนุญาตปลาและ

เนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑. ไม่ได้เห็น ๒. ไม่ได้ยิน ๓.

ไม่ได้รังเกียจ.

[๕๙๒] ครั้งนั้น พระเทวทัตร่าเริงยินดีเป็นอย่างยิ่งว่า พระผู้มี

พระภาคเจ้าไม่ทรงอนุญาตวัตถุ ๕ ประการนี้ แล้วพร้อมด้วยบริษัท ลุก-

จากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า กระทำประทักษิณหลีกไป

ต่อมา เธอพร้อมด้วยบริษัทเข้าไปสู่กรุงราชคฤห์ โฆษณาให้ประชาชน

เชื่อถือด้วยวัตถุ ๕ ประการว่า อาวุโสทั้งหลาย เราเข้าเฝ้าพระสมณโคดม

ทูลขอวัตถุ ๕ ประการว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ทรงสรรเสริญ

คุณแห่งความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการ

ที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ วัตถุ ๕ ประการนี้ เป็นไปเพื่อความมักน้อย ความ

สันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม

การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระ-

พุทธเจ้าขอประทานพระวโรกาส ๑. ภิกษุทั้งหลายควรอยู่ป่าตลอดชีวิต

ภิกษุใดอาศัยบ้านอยู่ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๒. ภิกษุทั้งหลายควรเที่ยว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 564

บิณฑบาตลอดชีวิต ภิกษุใดยินดีการนิมนต์ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น

๓. ภิกษุทั้งหลายควรถือผ้าบังสกุลตลอดชีวิต ภิกษุใดยินดีผ้าคหบดี

โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๔. ภิกษุทั้งหลายควรอยู่โคนไม้ตลอดชีวิต ภิกษุ

ใดอาศัยที่มุงบัง โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น ๕. ภิกษุทั้งหลายไม่ควรฉันปลา

และเนื้อตลอดชีวิต ภิกษุใดฉันปลาและเนื้อ โทษพึงถูกต้องภิกษุนั้น

พระสมณโคดมไม่ทรงอนุญาตวัตถุ ๕ ประการนี้ พวกเราเท่านั้นสมาทาน

ประพฤติวัตถุ ๕ ประการนี้อยู่.

[๕๙๓] บรรดาประชาชนชาวพระนครราชคฤห์นั้น จำพวกที่ไม่มี

ศรัทธา ไม่เลื่อมใส มีความรู้ทราม พากันกล่าวอย่างนี้ว่า พระสมณะ

เชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล เป็นผู้กำจัด มีความประพฤติขัดเกลา

ส่วนพระสมณโคดมเป็นผู้มีความมักมาก ดำริเพื่อความมักมาก

ส่วนประชาชนจำพวกที่มีศรัทธาเลื่อมใสเป็นบัณฑิต มีความรู้สูง ต่าง

พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระเทวทัตจึงได้ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์ เพื่อทำลายข้อห้ามในพุทธจักร ของพระผู้มีพระภาคเจ้าเล่า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนา

อยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระ-

เทวทัตจึงได้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ เพื่อทำลายข้อห้ามในพุทธจักร

เล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 565

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

เทวทัตว่า ดูก่อนเทวทัต ข่าวว่า เธอตะเกียกตะกาย เพื่อทำลาย

ข้อห้ามในพุทธจักร จริงหรือ.

พระเทวทัตทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ดูก่อนโฆษบุรุษ ไฉนเธอจึงได้ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์ เพื่อทำลายข้อห้ามในพุทธจักรเล่า

ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใสยิ่ง หรือเพื่อความเลื่อมใสของชุมชน

ที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความ

ไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอัน ของ

ชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระเทวทัต โดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้ว

ทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 566

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๔. ๑๐. อนึ่ง ภิกษุใด ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ผู้

พร้อมเพรียงหรือถือเอาอธิกรณ์อันเป็นเหตุแตกกันยกย่องยันอยู่ ภิกษุ

นั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านอย่าได้ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง หรืออย่าได้ถือเอาอธิกรณ์อันเป็นเหตุ

แตกกันยกย่องยันอยู่ ขอท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์ เพราะว่าสงฆ์

ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกันย่อม

อยู่ผาสุก แลภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายกล่าวอยู่อย่างนี้ ยังยกย่อง

ยันอยู่อย่างนั้นเทียว ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลาย พึงสวดสมนุภาสกว่า

จะครบสามจบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย หากเธอถูกสวดสมนุภาส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 567

กว่าจะครบสามจบอยู่ สละกรรมนั้นเสีย สละได้อย่างนี้ นั่นเป็น

การดี หากเธอไม่สละเสีย เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระเทวทัต จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๙๔] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นโด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออยู่อย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้

ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น

ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ

ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ทรงประสงค์ในอรรถนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 568

สงฆ์ที่ชื่อว่า ผู้พร้อมเพรียง คือมีสังวาสเสมอกัน อยู่ในสีมาเดียวกัน

คำว่า ตะเกียกตะกายเพื่อทำลาย คือ แสวงหาพวก รวมเป็น

ก๊กด้วยหมายมั่นว่า ไฉนภิกษุเหล่านี้ พึงแตกกัน พึงแยกกัน พึงเป็น

พรรคกัน.

คำว่า หรือ...อธิกรณ์อันเป็นเหตุแตกกัน ได้แก่ วัตถุเป็นเหตุ

กระทำการแตกกัน ๑๘ อย่าง.

บทว่า ถือเอา คือ ยึดเอา.

บทว่า ยกย่อง คือ แสดง.

บทว่า ยันอยู่ คือ ไม่กลับคำ.

[๕๙๕] บทว่า ภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น อธิบายว่า ภิกษุ

เหล่าใดได้เห็น ภิกษุเหล่าใดได้ยิน ภิกษุเหล่านั้นพึงว่ากล่าวภิกษุผู้ทำลาย

สงฆ์รูปนั้นว่า ท่านอย่าได้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง

หรืออย่าได้ถือเอาอธิกรณ์อัน เป็นเหตุแตกกัน ยกย่องยันอยู่ ขอท่านจง

พร้อมเพรียงด้วยสงฆ์ เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่

วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกัน ย่อมอยู่ผาสุก พึงว่ากล่าวแม้ครั้งที่สอง พึง

ว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย สละได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี

หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุทั้งหลายทราบแล้วไม่ว่ากล่าว

ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงคุมตัวมาสู่ท่ามกลางสงฆ์

แล้วพึงว่ากล่าวว่า ท่านอย่าได้ตะเกียกตะกาย เพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อม-

เพรียง หรืออย่าได้ถือเอาอธิกรณ์อันเป็นเหตุแตกกันยกย่องยันอยู่ ขอ

ท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์ เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดอง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 569

กัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกัน ย่อมอยู่ผาสุก ดังนี้ พึงว่ากล่าวแม้

ครั้งที่สอง พึงว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย สละได้อย่างนี้

นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ.

วิธีสวดสมนุภาส

[๕๙๖] ภิกษุนั้น อันสงฆ์พึงสวดสมนุภาส ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

ก็แลสงฆ์พึงสวดสมนุภาสอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถพึงประกาศให้

สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสวดสมนุภาส

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง เธอไม่สละเรื่องนั้น ถ้าความพรั่งพร้อม

ของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่อง

นั้นเสีย นี่เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง เธอไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาส

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อ

ให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่

ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวคำนี้แม้ครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง เธอไม่สละ

เรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 570

สมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน

ผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง เธอไม่สละ

เรื่องนั้น สงฆ์สมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวด

สมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน

ผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ สงฆ์สวดสมนุภาสแล้ว เพื่อให้สละเรื่องนั้น ชอบ

แก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[๕๙๗] จบญัตติ ต้องอาบัติทุกกฏ

จบกรรมวาจาสองครั้ง ต้องอาบัติถุลลจัย

จบกรรมวาจาครั้งสุด ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

เมื่อต้องอาบัติสังฆาทิเสส อาบัติทุกกฏเพราะญัตติ อาบัติถุลลัจจัย

เพราะกรรมวาจาสองครั้ง ย่อมระงับ.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเติม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั่นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 571

บทภาชนีย์

[๕๙๘] กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ไม่สละ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสงสัย ไม่สละ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ไม่สละ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๕๙๙] ภิกษุยังไม่ถูกสวดสมนุภาส ๑ ภิกษุผู้สละเสียได้ ภิกษุ

วิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๐ จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๐

ปฐมสังฆเภทสิกขาบทวรรณนา

สังฆเภทสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป. ในสังฆเภทสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 572

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระเทวทัต]

ในคำว่า อถโข เทวทตฺโต เป็นต้นนี้ มีวินิจฉัยดังนี้:-

เรื่องพระเทวทัต เรื่องที่พระเทวทัตบวช และเหตุที่ไปหาพรรค-

พวก มีภิกษุโกกาลิกเป็นต้น แล้วกล่าวชักชวนว่า มาเถิด ผู้มีอายุ !

พวกเราจักกระทำสังฆเภท จักรเภท แก่พระสมณโคดม ดังนี้ เป็นต้น

ทั้งหมดมาแล้วโนสังฆเภทขันธกะนั้นแล.

ส่วนเรื่องขอวัตถุ ๕ จักมาในสังฆเภทขันธกะนั้นเหมือนกัน แม้

ก็จริง, ถึงอย่างนั้น ข้าพเจ้าจักกล่าวในเรื่องขอวัตถุ ๕ นี้ก่อน แล้ว

จึงจักผ่านไป เพราะเรื่องมาในสังฆเภทสิกขาบทนี้ ก็มี.

คำว่า สาธุ ภนฺเต ได้แก่ การทูลขอพระวโรกาส.

คำว่า ภิกฺขู ยาวชีว อารญฺิกา อสฺสุ มีความว่า ภิกษุทั้งหมด

สมาทานอรัญญิกธุดงค์แล้ว จงเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร คือ จงอยู่แต่ในป่า

เท่านั้น ตลอดชีวิต.

ด้วยคำว่า โย คามนฺต โอสเรยฺย วชฺช น ผุเสยฺย พระ-

เทวทัตกล่าวด้วยความประสงค์ว่า ภิกษุใด คือ แม้ภิกษุรูปหนึ่งละป่า

เข้าสู่เขตบ้าน เพื่อต้องการจะอยู่, โทษพึงต้องภิกษุนั้น คือโทษจงต้อง

ภิกษุนั้น ได้แก่พระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงปรับภิกษุนั้นด้วยอาบัติ, แม้

ในวัตถุที่เหลือ ก็มีนัยเหมือนกันนี้.

สองบทว่า ชน สญฺาเปสฺสสาม มีความว่า พวกเราจักยัง

ประชาชนให้เข้าใจว่า พวกเราเป็นผู้มีความมักน้อยเป็นต้น. อีกอย่างหนึ่ง

มีคำอธิบายว่า พวกเราจักให้ประชาชนยินดีพอใจ คือ จักให้เลื่อมใส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 573

ส่วนพระผู้มีพระภาคเจ้า พอทรงสดับคำของพระเทวทัตผู้ทูลขอ

วัตถุ ๕ นี้เท่านั้น ก็ทรงทราบได้ว่า เทวทัตนี้ มีความต้องการจะทำลาย

สงฆ์จึงขอ ก็เพราะวัตถุ ๕ นั้น เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต

ย่อมเป็นไปเพื่ออันตรายแก่มรรค ของเหล่ากุลบุตรเป็นอันมาก; ฉะนั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงปฎิเสธว่า อย่าเลย เทวทัต ! แล้วตรัสว่า

ภิกษุใดปรารถนา, ภิกษุนั้น จงเป็นผู้อยู่ป่าเถิด ดังนี้เป็นต้น.

[พระประสงค์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าในข้อนี้]

อนึ่ง ในคำว่า โย อิจฺฉติ เป็นต้นนี้ กุลบุตรควรทราบความ

ประสงค์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ทราบความสมควรแก่ตน. จริงอยู่

ความประสงค์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ในคำว่า โย อิจฺฉติ เป็นต้นนี้

ดังต่อไปนี้:-

ภิกษุรูปหนึ่ง มีอัธยาศัยใหญ่ มีอุตสาหะมาก ย่อมสามารถเพื่อ

งดเสนาสนะใกล้แดนบ้านเสียแล้ว อยู่ในป่ากระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ

รูปหนึ่งที่มีกำลังอ่อนแอ มีเรี่ยวแรงน้อย ย่อมไม่สามารถจะอยู่ในป่า

(กระทำที่สุดทุกข์ได้), สามารถแต่ในคามเขตเท่านั้น. รูปหนึ่งมีกำลังมาก

มีธาตุเป็นไปสม่ำเสมอ สมบูรณ์ด้วยอธิวาสนขันติมีจิตคงที่ในอิฎฐารมณ์

และอนิฎฐารมณ์ ย่อมสามารถทั้งในป่า ทั้งในเขตบ้านได้ทั้งนั้น. รูปหนึ่ง

ไม่อาจทั้งในเขตบ้าน ทั้งในป่า คือ เป็นปทปรมบุคคล.

บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุนี้ใด มีอัธยาศัยใหญ่ มีอุตสาหะมาก

ย่อมสามารถเพื่องดเสนาสนะใกล้แดนบ้านเสียแล้ว อยู่ในป่ากระทำที่สุด

ทุกข์ได้, ภิกษุรูปนั้น จงอยู่ในป่าเท่านั้นเถิด, การอยู่ในป่านี้ สมควร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 574

แก่เธอ. แม้พวกสัทธิวิหาริกเป็นต้นของเธอ ศึกษาตามอยู่ จักสำคัญ

ข้อที่ตนควรอยู่ในป่าด้วย. อนึ่ง ภิกษุรูปใด มีกำลังอ่อนแอ มีเรื่ยวแรง

น้อย ย่อมอาจจะกระทำที่สุดทุกข์ได้ในแดนบ้านเท่านั้น ในป่าไม่อาจ,

ภิกษุนั้นจงอยู่แต่ในเขตบ้านนั้น ก็ได้ ส่วนภิกษุรูปใด ซึ่งมีกำลังแข็งแรง

มีธาตุเป็นไปสม่ำเสมอ สมบูรณ์ด้วยอธิวาสนขันติ มีจิตคงที่ ในอิฎ-

ฐารมณ์และอนิฎฐารมณ์ ย่อมอาจทั้งในป่าทั้งในแดนบ้านทีเดียว. แม้

รูปนี้ จงละเสนาสนะใกล้แดนบ้านเสียแล้ว อยู่ในป่าเถิด, การอยู่ในป่านี้

สมควรแก่เธอ. แม้พวกสัทธิวิหาริกเป็นต้นของเธอ ศึกษาตามอยู่ จัก

สำคัญข้อที่ตนควรอยู่ป่า.

ส่วนภิกษุนี้ใด ซึ่งไม่อาจทั้งในแดนบ้าน ไม่อาจทั้งในบ่า เป็น

ปทปรมบุคคล, แม้รูปนี้ ก็จงอยู่ในป่านั้นเถิด. เพราะว่า การเสพ

ธุดงคคุณ และการเจริญกรรมฐานนี้ของเธอ จักเป็นอุปนิสัยเพื่อมรรค

และผลต่อไป (ในอนาคต). แม้พวกสัทธิวิหาริกเป็นต้นของเธอเมื่อศึกษา

ตาม จักสำคัญข้อที่ตนควรอยู่ป่า ฉะนี้แล. ภิกษุนี้ใด ซึ่งเป็นผู้มีกำลัง

อ่อนแอ มีเรี่ยวแรงน้อยอย่างนี้ เมื่ออยู่ในแดนบ้านเท่านั้น จึงอาจเพื่อ

จะทำที่สุดทุกข์ได้ ในป่า ไม่อาจ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึงบุคคล

เช่นนี้ จึงตรัสว่า โย อิจฺฉติ คามนฺเต วิหรตุ (ภิกษุใดปรารถนา,)

ภิกษุนั้นจงอยู่ในแดนบ้านเถิด) ดังนี้. และบุคคลนี้ ได้ให้ช่องแม้แก่

คนเหล่าอื่น.

ก็ถ้าว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า พึงทรงรับรองวาทะของพระเทวทัต

ไซร้, บุคคลนี้ใด ซึ่งมีกำลังอ่อนแอ มีเรี่ยวแรงน้อยตามปกติ, ถึง

บุคคลใดสามารถอยู่ในป่าสำเร็จได้แต่ในเวลายังเป็นหนุ่ม ต่อมาในเวลา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 575

แก่ตัวลง หรือในเวลาเกิดธาตุกำเริบ เพราะลมและดีเป็นต้นอยู่ป่าไม่

สำเร็จ, แต่เมื่ออยู่ในแดนบ้านเท่านั้น จึงอาจกระทำที่สุดทุกข์ได้. บุคคล

เหล่านั้น จะพึงสูญเสียอริยมรรคไป ไม่พึงบรรลุอรหัตผลได้, สัตถุศาสน์

พึงกลายเป็นนอกธรรมนอกวินัย ยุ่งเหยิง ไม่เป็นไปเพื่อนำออกจากทุกข์.

และพระศาสดาจะพึงเป็นผู้มิใช่พระสัพพัญญูของบุคคลจำพวกนั้น ทั้งจะ

พึงถูกตำหนิติเตียนว่า ทรงทิ้งวาทะของพระองค์เสีย ไปตั้งอยู่ในวาทะ

ของพระเทวทัต ดังนี้.

เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงสงเคราะห์บุคคล

ทั้งหลายผู้เห็นปานนี้ จึงทรงปฎิเสธวาทะของพระเทวทัต. ในเรื่องแห่ง

ภิกษุผู้ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตรก็ดี ในเรื่องแห่งภิกษุผู้ถือผ้าบังสกุลเป็น

วัตรก็ดี ในเรื่องแห่งภิกษุผู้ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตรตลอด ๘ เดือนก็ดี พึง

ทราบวินิจฉัยโดยอุบายนี้นั่นแล. แต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงห้ามเสนาสนะ

โคนไม้ตลอด ๔ เดือน (ฤดูฝน) เท่านั้น.

[ปลาเนื้อบริสุทธิ์โดยส่วน ๓ เป็นกัปปิยมังสะควรฉันได้]

พึงทราบวินิจฉัยในเรื่องปลาและเนื้อ ดังนี้:-

บทว่า ติโกฏิปริสุทฺธ ได้แก่ บริสุทธิ์โดยส่วน ๓. อธิบายว่า

เว้นจากที่ไม่บริสุทธิ์ มีการเห็นเป็นต้น. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสว่า ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ.

บรรดามังสะ ๓ อย่างนั้น มังสะที่ชื่อว่า ไม่ได้เห็น คือ ไม่เห็น

ชาวบ้านฆ่าเนื้อและปลา เอามาเพื่อประโยชน์แก่พวกภิกษุ. ที่ชื่อว่า

ไม่ได้ยิน คือ ไม่ได้ยินว่า พวกชาวบ้านฆ่าเนื้อ ปลา เอามาเพื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 576

ประโยชน์แก่พวกภิกษุ, ส่วนที่ไม่ได้รังเกียจ ผู้ศึกษาควรรู้จักมังสะที่

รังเกียจด้วยการเห็น รังเกียจด้วยการได้ยิน และที่รังเกียจพ้นจากเหตุ

ทั้งสองนั้น แล้วพึงทราบโดยส่วนตรงกันข้ามจากสามอย่างนั้น.

คือ อย่างไร ? คือว่า พวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นพวกชาว

บ้านถือแหและตาข่ายเป็นต้น กำลังออกไปจากบ้าน หรือกำลังเที่ยว

ไปในป่า. และในวันรุ่งขึ้น พวกชาวบ้านนำบิณฑบาตมีปลาและเนื้อมา

ถวายแก่ภิกษุเหล่านั้น ผู้เข้าไปยังบ้านนั้นเพื่อบิณฑบาต. ภิกษุเหล่านั้น

รังเกียจด้วยการได้เห็นนั้นว่า พวกชาวบ้านทำเนื้อเพื่อประโยชน์แก่พวก

ภิกษุหรือหนอแล ? มังสะนี้ ชื่อว่า รังเกียจโดยได้เห็นมา. จะรับมังสะ

เช่นนั้น ไม่ควร. มังสะที่ไม่ได้รังเกียจเช่นนั้นจะรับ ควรอยู่. ก็ถ้า

พวกชาวบ้านเหล่านั้น ถามว่า ทำไม ขอรับ ! ท่านจึงไม่รับ ? ได้ฟัง

ความนั้นแล้ว พูดว่า มังสะนี้ พวกกระผมไม่ได้กระทำเพื่อประโยชน์

แก่ภิกษุทั้งหลาย, พวกกระผมกระทำเพื่อประโยชน์แก่ตนบ้าง เพื่อประ-

โยชน์แก่ข้าราชการเป็นต้นบ้าง ดังนี้, มังสะนั้น ควร.

ภิกษุทั้งหลายหาเห็นไม่แล, แต่ได้ฟังว่า ได้ยินว่า พวกชาวบ้าน

มีมือถือแหและตาข่ายออกจากบ้าน หรือเที่ยวไปในป่า และในวันรุ่งขึ้น

พวกชาวบ้านนำบิณฑบาตมีปลาและเนื้อมาถวายแก่ภิกษุเหล่านั้น ผู้เข้าไป

ยังบ้านนั้น เพื่อบิณฑบาต. พวกเธอสงสัยด้วยการได้ยินนั้นว่า เขาทำ

เพื่อประโยชน์แก่ภิกษุทั้งหลาย หรืออย่างไรหนอ ? มังสะนี้ ชื่อว่า

รังเกียจด้วยได้ยินมา. จะรับมังสะนั้น ไม่ควร. มังสะที่ไม่ได้สงสัยอย่างนี้

จะรับ ควรอยู่. ก็ถ้าพวกชาวบ้านเหล่านั้น ถามว่า ทำไม ขอรับ !

ท่านจึงไม่รับเล่า ? ได้ฟังความนั้นแล้ว จึงพูดว่า มังสะนี้ พวกกระผม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 577

ไม่ได้ทำเพื่อประโยชน์แก่ภิกษุทั้งหลาย, พวกกระผมทำเพื่อประโยชน์แก่

ตนเองบ้าง เพื่อประโยชน์แก่ข้าราชการเป็นต้นบ้าง ดังนี้, มังสะนั้น

ควรอยู่.

อนึ่ง ภิกษุทั้งหลายไม่ได้เห็น ไม่ได้ฟังมาเลย, แต่เมื่อพวกภิกษุ

เหล่านั้นเข้าไปยังบ้านนั้นเพื่อบิณฑบาต ชาวบ้านรับบาตรไปแล้ว จัด

บิณฑบาตมีปลา เนื้อ นำมาถวาย. พวกเธอรังเกียจว่า มังสะนี้ เขาทำ

เพื่อประโยชน์แก่ภิกษุทั้งหลาย หรืออย่างไรหนอ ? นี้ชื่อว่า มังสะที่

รังเกียจพ้นจากเหตุทั้งสองนั้น. แม้มังสะเช่นนั้น ก็ไม่สมควรรับ. มังสะ

ที่ไม่ได้รังเกียจอย่างนั้น จะรับ ควรอยู่ ก็ถ้าว่าพวกชาวบ้านเหล่านั้น

ถามว่า ทำไม ขอรับ ! พวกท่านจึงไม่รับ ? แล้วได้ฟังความนั้น จึง

พูดว่า มังสะนี้ พวกกระผมไม่ได้กระทำเพื่อประโยชน์แก่ภิกษุทั้งหลาย,

พวกกระผมกระทำเพื่อประโยชน์แก่ตนบ้าง เพื่อประโยชน์แก่พวกข้าราช-

การเป็นต้นบ้าง, หรือว่า พวกกระผมได้ปวัตตมังสะ เฉพาะที่เป็นกัปปิยะ

เท่านั้น จึงปรุงให้สำเร็จเพื่อประโยชน์แก่ภิกษุทั้งหลาย มังสะนั้น ควรอยู่.

แม้ในมังสะที่เขาทำเพื่อประโยชน์แห่งเปตกิจ แก่ผู้ตายไปแล้วก็ดี เพื่อ

ประโยชน์ แก่งานมงคลเป็นต้นก็ดี ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. จริงอยู่

มังสะชนิดใด ๆ ที่เขาไม่ได้กระทำเพื่อภิกษุทั้งหลายเลย และภิกษุก็ไม่มี

ความสงสัยในมังสะใด, มังสะนั้น ๆ ควรทั้งนั้น.

ก็ถ้าว่า มังสะที่เขาทำอุทิศพวกภิกษุในวิหารหนึ่ง และพวกเธอ

ไม่ทราบว่าเขากระทำเพื่อประโยชน์ตน, แต่ภิกษุพวกอื่นรู้ พวกใดรู้

ไม่ควรแก่พวกนั้น. พวกอื่นไม่รู้ แต่พวกเธอเท่านั้นรู้, ย่อมไม่ควร

เฉพาะพวกเธอนั้น, แต่ควรสำหรับพวกอื่น. แม้พวกเธอรู้อยู่ว่า เขา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 578

กระทำเพื่อประโยชน์แก่พวกเรา, ถึงภิกษุพวกอื่นก็รู้ว่า เขาทำเพื่อ

ประโยชน์แก่ภิกษุพวกนี้ ไม่ควรแก่พวกเธอทั้งหมด. พวกภิกษุทั้งหมด

ไม่รู้, ย่อมควรแก่พวกเธอทั้งหมด. บรรดาสหธรรมิกทั้ง ๕ มังสะอัน

เขาทำเจาะจงเพื่อประโยชน์แก่สหธรรมิกรูปใดรูปหนึ่งหนึ่งก็ตาม ย่อมไม่สม

ควรแก่สหธรรมิกทั้งนั้น.

ถามว่า ก็ถ้าว่า มีบุคคลบางคนฆ่าสัตว์ เจาะจงภิกษุรูปหนึ่งบรรจุ

บาตรให้เต็มแล้ว ถวายแก่ภิกษุรูปนั้น และเธอรู้อยู่ด้วยว่า มังสะเขา

กระทำเพื่อประโยชน์ตน รับไปแล้วถวายแก่ภิกษุรูปอื่น ภิกษุรูปอื่นนั้น

ฉันด้วยเชื่อภิกษุนั้น, ใครต้องอาบัติเล่า ?

ตอบว่า ไม่ต้องอาบัติแม้ทั้งสองรูป.

ด้วยว่า มังสะที่เขาทำเฉพาะภิกษุใด ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้น

เพราะเธอไม่ได้ฉัน, และไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุนอกนี้ เพราะไม่รู้. แท้จริง

ในการรับกัปปิยมังสะ ไม่เป็นอาบัติ. แต่ภิกษุไม่รู้ ฉันมังสะที่เขากระทำ

เจาะจง ภายหลังรู้เข้า กิจด้วยการแสดงอาบัติ ไม่มี. ส่วนภิกษุไม่รู้

ฉันอกัปปิยมังสะ แม้ภายหลังรู้เข้า พึงแสดงอาบัติ. จริงอยู่ เป็นอาบัติ

แก่ภิกษุผู้รู้แล้ว ฉันมังสะที่เขาทำเจาะจง. และเป็นอาบัติเหมือนกัน แม้

แก่ภิกษุผู้ไม่รู้ ฉันอกัปปิยมังสะ. เพราะเหตุนั้น ภิกษุผู้เกรงกลัวต่ออาบัติ

แม้เมื่อกำหนดรูปการณ์ พึงถามก่อนแล้วจึงรับประเคนมังสะ, จะรับ

ประเคนด้วยใจตั้งว่า ในเวลาฉันเราจักถามแล้ว จึงจะฉัน ควรถามก่อน

แล้ว จึงฉัน.

ถามว่า เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพราะมังสะรู้ได้ยาก.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 579

ความจริง เนื้อหมี ก็คล้ายกับเนื้อสุกร. เนื้อเสือเหลืองเป็นต้น ก็เหมือน

กับเนื้อมฤคเป็นต้น. เพราะเหตุนั้น เพราะอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า

การถามแล้วจึงรับประเคนนั่นแล เป็นธรรนเนียม.

[แก้อรรถตอนพระเทวทัตทูลขอวัตถุ ๕]

สองบทว่า หฏฺโ อุหคฺโค ได้แก่ เป็นผู้ยินดีแล้ว และมีกาย

ใจฟูขึ้นแล้ว.

ได้ยินว่า พระเทวทัตนั้นคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงอนุญาต

วัตถุ ๕ เหล่านี้, บัดนี้ เราจักอาจเพื่อทำสังฆเภท ดังนี้ จึงได้แสดง

อาการลิงโลดแก่พระโกกาลิก ไม่รู้ว่าทุกข์ที่ตนจะพึงบังเกิดในอเวจีแล้ว

เสวย แม้ซึ่งใกล้เข้ามาเพราะสังฆเภทเป็นปัจจัย ร่าเริงเบิกบานใจว่า

บัดนี้ เราได้อุบาย เพื่อทำลายสงฆ์ เหมือนดังบุรุษผู้ประสงค์จะกินยาพิษ

ตาย หรือประสงค์จะเอาเชือกผูกคอตาย หรือประสงค์จะเอาศัสตรามาฆ่า

ตัวตาย ได้วัตถุอย่างใดอย่างหนึ่ง มียาพิษเป็นต้น ไม่รู้จักทุกข์ คือ

ความตายแม้ใกล้เข้ามา เพราะการกินยาพิษเป็นต้นนั้นเป็นปัจจัย เป็นผู้

ร่าเริงเบิกบานใจอยู่ ฉะนั้น จึงพร้อมด้วยบริษัทลุกจากที่นั่ง ถวายบังคม

พระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยความเป็นผู้ร่าเริงนั่นแล ได้กระทำประทักษิณแล้ว

หลีกไป.

ก็ในคำว่า เต มย อิเมหิ ปญฺจหิ วตฺถูหิ สมาทาย วตฺตาม

นี้ แม้เมื่อพระเทวทัตควรจะกล่าวคำว่า อิมานิ ปญฺจ วตฺถูนิ ดังนี้

ไม่ทันได้สังเกตความผิดพลาดแห่งวิภัตติ ด้วยอำนาจแห่งวิตกเนือง ๆ ว่า

เต มย อเมหิ ปญฺจหิ วตฺถูหิ ชน สญฺาเปสฺสาม (พวกเรานั้น)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 580

จักยังประชาชนให้ยินยอมด้วยวัตถุ ๕ เหล่านี้) ดังนี้ จึงกล่าวตามควร

แก่ความรำพึงเนือง ๆ นั่นแลว่า เต มย อิเมหิ ปญฺจหิ วตฺถูหิ...

(พวกเรานั้นจะสมาทานประพฤติด้วยวัตถุ ๕ เหล่านี้) เหมือนกับคนมีจิต

ฟุ้งซ่านฉะนั้นแล.

สองบทว่า ธุตา สลฺเลขวุตฺติโน มีความว่า ผู้ชื่อว่า ธุตะ เพราะ

เป็นผู้ประกอบด้วยปฏิปทาอันกำจัดเสียซึ่งกิเลส, และผู้ชื่อว่ามีความประ-

พฤติขัดเกลา เพราะภิกษุเหล่านี้ มีความประพฤติขัดเกลากิเลสทั้งหลาย.

บทว่า พาหุลฺลิโก มีความว่า ภาวะที่ปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้น มีมาก

ชื่อว่า พาหุลละ. ความที่ปัจจัย ๔ มีมาก มีแก่พระโคดมนั้น; เหตุนั้น

พระโคดมนั้น ชื่อว่า พาหุลลิกะ อีกอย่างหนึ่ง พระโคดมนั้น เป็นผู้

ประกอบ คือตั้งอยู่ในความมีปัจจัยมากนั้น; เหตุนั้น จึงชื่อว่า พาหุลลิกะ

(เป็นผู้มีความมักมาก).

สองบทว่า พาหุลฺลาย เจเตติ มีความว่า ย่อมคิด คือย่อมดำริ

ย่อมตรึก เพื่อต้องการความมีปัจจัยมาก. อธิบายว่า ผู้ถึงความขวนขวาย

อย่างนี้ว่า ทำอย่างไรหนอ ความเป็นผู้มีปัจจัย มีจีวรเป็นต้นมาก จะพึง

มีแก่เราและสาวกของเรา.

[แก้อรรถตอนตรัสประชุมสงฆ์แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท]

หลายบทว่า ธมฺมึ กถ กตฺวา มีความว่า ทรงกระทาธรรมีกถา

อันสมควรในขณะนั้น คือเหมาะสมในขณะนั้น แก่พระเทวทัตและแก่

ภิกษุทั้งหลายเป็นอเนกประการ โดยนัยที่ตรัสไว้ในขันธกะ มีอาทิอย่างนี้ว่า

อย่าเลย เทวทัต ! การทำลายสงฆ์ อย่าเป็นที่ชอบใจแก่เธอเลย, ดูก่อน

เทวทัต ! การทำลายสงฆ์ หนักแล. ดูก่อนเทวทัต ! บุคคลใดแล ทำลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 581

สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน, ผู้นั้น จะประสบกรรมอันหยาบช้า คงอยู่ชั่วกัป,

ดูก่อนเทวทัต ! ส่วนบุคคลใดแล กระทำสงฆ์ที่แตกกันแล้วให้สมัคร

สมานกัน, ผู้นั้นย่อมประสบบุญอันประเสริฐ บันเทิงในสวรรค์ตลอดกัป

ดังนี้.

บทว่า สมคฺคสฺส ได้แก่ ผู้ร่วมกัน, อธิบายว่า ผู้ไม่แยกกัน

ทั้งทางใจและทางกาย. จริงอยู่ แม้ในบทภาชนะ พระผู้มีพระภาคเจ้า

ก็ได้ทรงแสดงเนื้อความอย่างนั้นเหมือนกัน.

แท้จริง พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อตรัสว่า สมานสวาสโก ย่อมเป็น

อันทรงแสดงความไม่แยกกันทางจิต.

เมื่อตรัสว่า สมานสีมาย ิโต ย่อมเป็นอันทรงแสดงความไม่

แยกกันทางกาย. คืออย่างไร ? คือว่า ภิกษุผู้มีสังวาสเสมอกัน เว้นจาก

ผู้มีสังวาสต่างกันโดยลัทธิ หรือผู้มีสังวาสต่างกันโดยกรรม ชื่อว่าเป็นผู้

ไม่แยกกันทางจิต เพราะมีจิตเสมอกัน, ผู้ตั้งอยู่ในสีมาเสมอกัน ชื่อว่า

เป็นผู้ไม่แยกกันทางกาย เพราะให้กายสามัคคี.

สองบทว่า เภทนสวตฺตนิก วา อธิกรณ ได้แก่ เหตุที่เป็นไป

เพื่อแตกแยกกัน คือเพื่อต้องการทำลายสงฆ์.

จริงอยู่ ในโอกาสนี้ เหตุท่านประสงค์เอาว่า อธิกรณ์ ดุจใน

ประโยคว่า กามเหตุ กามนิทาน กามาธิกรณ (แปลว่า มีกาม

เป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเหตุ มีกามเป็นมูลเหตุ). ก็เพราะอธิกรณ์นั้นมี

๑๘ ประการ; ฉะนั้น ในบทภาชนะพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า วัตถุ

กระทำความแตกแยกกันมี ๑๘ อย่าง. ก็เภทกรวัตถุเหล่านั้นมาแล้วใน

ขันธกะโดยนัยเป็นต้นว่า ดูก่อนอุบาลี ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแสดง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 582

อธรรมว่า ธรรม ดังนี้. เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจักพรรณนาเนื้อความแห่ง

เภทกรวัตถุเหล่านั้นในขันธกะนั้นนั่นแล. อนึ่ง สังฆเภทนี้ แม้ใด อาศัย

วัตถุเหล่านี้ ย่อมมีโดยเหตุอื่นอีก ๕ ประการ คือ โดยกรรม ๑ โดยอุเทศ ๑

โดยโวหาร ๑ โดยอนุสาวนา ๑ โดยการจับสลาก ๑, ข้าพเจ้าจักประกาศ

สังฆเภทแม้นั้น ในอาคตสถานนั่นแล. แต่โดยสังเขปในคำว่า ถือเอา

อธิกรณ์ที่เป็นไปเพื่อความแตกแยกกัน นี้ผู้ศึกษาพึงทราบเนื้อความอย่าง

นี้ว่า ถือเอาเหตุที่เป็นไปเพื่อต้องการทำลายสงฆ์ คืออันสามารถให้สำเร็จ

การทำลายสงฆ์ได้.

บทว่า ปคฺคยฺห ได้แก่ ประคอง คือยกย่อง ทำให้ปรากฎ.

บทว่า ติฏฺเยฺย มีความว่า ยืนยันให้เป็นอย่างที่ตนถือเอาแล้ว

คืออย่างที่ตนยกย่องแล้วนั่นแลอยู่. ก็เพราะอธิกรณ์นั้น. ย่อมเป็นอัน

ภิกษุผู้ประคองและยืนยันอย่างนั้น แสดงแล้วและไม่สละคืน; ฉะนั้น

ในบทภาชนะพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า พึงแสดง และว่า ไม่พึงสละคืน

ดังนี้

คำว่า ภิกฺขูหิ เอวมสฺส วจนีโย มีความว่า ภิกษุนั้น เป็น

ผู้อันพวกลัชชีภิกษุเหล่าอื่นจะพึงว่ากล่าวอย่างนี้.

ก็ในบทภาชนะแห่งบทว่า ภิกฺขูหิ นั้น มีวินิจฉัยดังนี้:- คำว่า

เย ปสฺสนฺติ มีความว่า ภิกษุเหล่าใดเห็นภิกษุนั้นผู้ยกย่องยันอยู่ต่อหน้า.

คำว่า เย สุณนฺติ มีความว่า แม้ภิกษุเหล่าใด ได้ยินว่า พวกภิกษุ

ในวิหารชื่อโน้น ถือเอาอธิกรณ์อันเป็นไปเพื่อความแตกกันยกย่องยันอยู่.

คำว่า สเมตายสฺมา สงฺเฆน มีความว่า ท่านผู้มีอายุ ขอจงร่วม

จงสมาคม จงเป็นผู้มีลัทธิอันเดียวกันกับด้วยสงฆ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 583

ถามว่า เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพราะว่า สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่

วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกัน ย่อมอยู่เป็นผาสุก.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สมฺโมทมาโน มีความว่า บันเทิงอยู่

ด้วยดีด้วยสมบัติ (มีศีลเป็นต้น ) ของกันและกัน

บทว่า อวิวทมาโน มีความว่า ไม่วิวาทกันอย่างนี้ นี้ธรรม

นี้มิใช่ธรรม.

สงฆ์นั้นมีอุเทศอันเดียวกัน; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า เอกุทเทส

(มีอุเทศเดียวกัน ). อธิบายว่า มีปาฏิโมกขุทเทส เป็นไปร่วมกันไม่

แยกกัน.

สองบทว่า ผาสุวิหรติ ได้แก่ ย่อมอยู่เป็นสุข.

คำว่า อิจฺเจต กุสล มีความว่า การสละเสียได้นั้น เป็นกุศล

คือปลอดภัย ได้แก่เป็นสวัสดิภาพแก่ภิกษุนั้น.

ข้อว่า โน เจ ปฏินิสฺสชฺชติ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส ได้แก่ เป็น

ทุกกฏ แก่ภิกษุผู้ถูกสวด ๓ ครั้ง แล้วไม่สละคืน.

ข้อว่า สุตฺวา น วทนฺติ อาปตฺติ ทุกฺกกสฺส มีความว่า เป็นทุกกฏ

แม้แก่พวกภิกษุ ผู้ได้ยินแล้วไม่ว่ากล่าว ในที่ไกลเท่าไร จึงเป็นทุกกฏ

แก่พวกภิกษุผู้ได้ยินแล้วไม่ว่ากล่าว. ในวิหารเดียวกัน ไม่มีคำที่จะพึง

กล่าวเลย. ส่วนในอรรถกถา ท่านกล่าวว่า ในระยะทางกึ่งโยชน์โดยรอบ

จัดเป็นภาระของภิกษุทั้งหลาย. ความพ้นจากอาบัติย่อมไม่มี แม้แก่ภิกษุ

ผู้ส่งทูตหรือจดหมายไปพูด. พึงไปห้ามเองทีเดียวว่า ท่านผู้มีอายุ !

การทำลายสงฆ์ เป็นการหนัก, เธออย่าพยายามเพื่อทำลายสงฆ์. แต่ภิกษุ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 584

ผู้สามารถ แม้ไกล ก็ควรไป. จริงอยู่ แม้ที่ไกล ๆ จัดเป็นภาระของ

พวกภิกษุไม่อาพาธทีเดียว. บัดนี้ เพื่อจะทรงแสดงแต่เพียงใจความเท่านั้น

ในคำว่า ก็ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายกล่าวอยู่อย่างนี้ เป็นต้น พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า ภิกษุนั้นอันภิกษุทั้งหลาย พึงคุมตัวมา

แม้สู่ท่ามกลางสงฆ์แล้ว พึงกล่าว ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านี้นั้น สองบทว่า สงฺฆมชฺณมฺปิ อากฑฺฒิตฺวา

มีความว่า ถ้าภิกษุนั้น อันพวกภิกษุว่ากล่าวอยู่โดยนัยก่อน ยังไม่สละ

คืน แม้พวกภิกษุจับที่มือและที่เท้า คุมตัวมาสู่ท่ามกลางสงฆ์ แล้วพึง

ว่ากล่าวเธออีกถึง ๓ ครั้ง โดยนัยเป็นต้นว่า มา อายสฺมา ดังนี้.

สองบทว่า ยาวตติย สมนุภาสิตพฺโพ มีความว่า สงฆ์พึงสวด

สมนุภาสถึงครั้งที่ ๓ ก่อน. มีคำอธิบายว่า สงฆ์พึงกระทำกรรมด้วย

สมนุภาสนกรรมวาจา ๓ หน. ก็ในบทภาชนะแห่งบทว่า ยาวตติย

สมนุภาสิตพฺโพ นั้น เพื่อถือเอาแต่ใจความแสดงสมนุภาสนวิธี พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นว่า โส ภิกฺขุ สมนุภาสิตพฺโพ เอวญฺจ

ปน ภิกฺขเว สมนุภาสิตพฺโพ ดังนี้.

ในคำว่า สมนุภาสิตพฺโพ เป็นต้นนั้น คำว่า ตฺติยา ทุกฺกฏ

ทฺวีหิ กมฺมวาจาหิ ถุลฺลจฺจยา ปฏิปฺปสฺสมฺภนฺติ มีความว่า อาบัติ

ทั้ง ๓ คือ ทุกกฏที่ภิกษุต้องในที่สุดญัตติ และถุลลัจจัย ที่ต้องเพราะ

กรรมวาจา ๒ หน ย่อมระงับไปด้วยกรรมวาจาครั้งที่ ๓ พอสวดถึง

อักษร อย่างนี้ว่า ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย, ภิกษุนั้น ย่อมตั้งอยู่

ในสังฆาทิเสสทีเดียว.

ถามว่า อาบัติที่ต้องแล้วระงับไป หรือว่า อาบัติที่ไม่ได้ต้องระงับ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 585

ตอบว่า พระมหาสุมเถระกล่าวไว้ก่อนว่า ภิกษุใดสละกรรมนั้น

ในเวลาจบ, ภิกษุนั้นย่อมไม่ต้องอาบัติเหล่านี้; เพราะเหตุนั้น อาบัติที่

ไม่ได้ต้องจึงระงับไป ส่วนพระมหาปทุมเถระกล่าวว่า อาบัติที่ต้องแล้ว

ย่อมระงับไป ดุจอสาธารณาบัติ ระงับไปเพราะเพศกลับฉะนั้น, จะ

ประโยชน์อะไร ด้วยอาบัติที่ยังไม่ได้ต้องระงับไปเล่า ?

[แก้อรรถบทภาชนีย์ว่าด้วยกรรมชอบธรรมเป็นต้น]

สองบทว่า ธมฺมกมฺเม ธมฺมกมฺมสญฺี มีความว่า ถ้าสมนุภาสน-

กรรมนั้นเป็นกรรมชอบธรรม เธอมีความสำคัญในสมนุภาสนกรรมนั้นว่า

เป็นกรรมชอบธรรม. ในบททั้งปวงก็มีนัยเหมือนกันนี้. ความสำคัญใน

บทว่า กมฺมสญฺี นี้คุ้มไม่ได้ เพราะกรรมเป็นของชอบธรรม เมื่อไม่

สละอย่างนั้น ย่อมต้องอาบัติ.

บทว่า อสมนุภาสนฺตสฺส มีความว่า เมื่อไม่ถูกสวดสมนุภาส

แม้ไม่ยอมสละ ก็ไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.

บทว่า ปฏินิสฺสชฺชนฺตสฺส มีความว่า ไม่ต้องด้วยอาบัติสังฆาทิเสส

แก่ภิกษุผู้สละเสียก่อนแต่ญัตติ หรือในขณะญัตติ หรือในเวลาจบญัตติ

หรือเพียงที่สวดยังไม่ถึง ย อักษร แห่งอนุสาวนาที่ ๑ ก็ดี ที่ ๒ ก็ดี

ที่ ๓ ก็ดี.

บทว่า อาทิกมฺมิกสฺส มีความว่า ก็ในสิกขาบทนี้ พระเทวทัต

เป็นต้นบัญญัติ เพราะบาลีที่มาในคัมภีร์ปริวารว่า พระเทวทัตได้พยายาม

ทำลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน, ทรงปรารภพระเทวทัตในเพราะเรื่องนั้น.

ก็พระเทวทัตนั่นแล เป็นต้นบัญญัติแห่งการพยายามเพื่อทำลายสงฆ์เท่านั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 586

หาได้เป็นต้นบัญญัติแห่งการไม่ยอมสละไม่. เพราะว่า กรรมนั้น สงฆ์

ไม่ได้ทำแก่เธอ.

ถ้าจะมีคำถามว่า ก็คำที่กล่าวนี้ พึงทราบได้อย่างไร ?

ตอบว่า พึงทราบได้ โดยพระสูตร.

เหมือนอย่างว่า การย่อมปรากฏว่า สงฆ์ทำแล้วแก่อริฎฐภิกษุ

เพราะบาลีที่มาในคัมภีร์ปริวารว่า อริฎฐภิกษุมีบรรพบุรุษเป็นคนฆ่าแร้ง

ไม่ยอมสละด้วยสมนุภาสน์ จนถึงครั้งที่ ๓ ทรงปรารภอริฎฐภิกษุใน

เพราะเรื่องนั้น ดังนี้ ฉันใด กรรมจะได้ปรากฎว่า สงฆ์ทำแก่พระ-

เทวทัต ฉันนั้น หามิได้. แม้ถ้าใคร ๆ จะพึงกล่าวด้วยเหตุสักว่าความ

ชอบใจของตนเท่านั้นว่า กรรมอันสงฆ์ทำแล้วแก่พระเทวทัตนั้น จะพึงมี

ไซร้ แม้อย่างนั้น ขึ้นชื่อว่าอาบัติ ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ

ในเพราะไม่สละเสีย. จริงอยู่ ขึ้นชื่อว่า อนาบัติ ย่อมไม่ปรากฎแก่ภิกษุ

ผู้ล่วงสิกขาบทที่ทรงบัญญัติแล้ว นอกจากสิกขาบทที่ทรงอนุญาตไว้โดย

เฉพาะ.

แม้คำว่า อาทิกมฺมิกสฺส ในอนาปัตติวารแห่งอริฏฐสิกขาบทที่

ท่านลิขิตไว้ในคัมภีร์ทั้งหลาย ก็ลิขิตไว้ด้วยความพลั้งเผลอ. ก็แลข้อที่

คำนั้น เป็นคำที่ท่านลิขิตไว้ด้วยความพลั้งเผลอ พึงทราบโดยพระบาลี

สำหรับยกอาบัติในกรรมขันธกะอย่างนี้ว่า อริฎฐภิกษุอันสงฆ์พึงโจทก่อน,

ครั้นโจทแล้วพึงให้เธอให้การ, ครั้นให้เธอให้การแล้ว พึงยกอาบัติขึ้น

ปรับ กรรมนั้นสงฆ์ไม่ได้ทำแก่พระเทวทัตผู้เป็นอาทิกัมมิกะในเพราะ

พยายามเพื่อทำลายสงฆ์ ด้วยประการฉะนี้; เพราะเหตุนั้น อาบัตินั้นแล

ชื่อว่า ยังไม่เกิด, แต่พระเทวทัตนั้น ถูกเรียกว่า ผู้เป็นต้นบัญญัติ เพราะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 587

ทำความเข้าใจว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภท่านบัญญัติสิกขาบท

อนาบัติท่านกล่าวแล้วสำหรับพระเทวทัตนั้น เพราะไม่มีอาบัตินั่นเอง

ด้วยประการฉะนี้.

ก็แลอนาบัตินี้นั้น สำเร็จด้วยบทนี้เทียวว่า อสมนุภาสนฺตสฺส

แม้โดยแท้, ถึงกระนั้น สงฆ์ไม่ได้ทำสมนุภาสนกรรมอย่างเดียวแก่ภิกษุใด

ภิกษุนั้น ท่านเรียก ชื่อว่า ผู้ไม่ถูกสวดสมนุภาส ไม่เรียกว่า ผู้เป็น

ต้นบัญญัติ ส่วนพระเทวทัตนี้ คงเป็นต้นบัญญัติแท้ , เพราะเหตุนั้น

ท่านจึงกล่าวบทว่า อาทิกมฺมิกสฺส ไว้.

วินิจฉัยในสมนุภาสน์แห่งสิกขาบททั้งปวง เว้นแต่อริฏฐสิกขาบท

เสีย พึงทราบโดยอุบายนี้. คำที่เหลือในบททั้งปวง ตื้นทั้งนั้น.

บรรดาปกิณกะมีสมุฎฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีองค์ ๓ มีสมุฎ

ฐานเดียว, ชื่อว่า สมนุภาสนสมุฎฐาน ย่อมตั้งขึ้นทางกาย ทางวาจา

และทางจิต, แต่เป็นอกิริยา เพราะเมื่อภิกษุไม่ทำกายวิการหรือเปล่งวาจา

เลยว่า เราจะสละคืน จึงต้อง, เป็นสัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ

กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต เป็นทุกขเวทนา ด้วยประการฉะนี้.

ปฐมสังฆเภทสิกขาบทวรรณนา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๑

เรื่องภิกษุผู้ประพฤติตามพระเทวทัต

[๖๐๐] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เวฬุวันวิหาร อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนคร-

ราชคฤห์ ครั้งนั้นพระเทวทัตตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ เพื่อทำลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 588

ข้อห้ามในพุทธจักร ภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้ว่า พระเทวทัตพูดไม่ถูก

ธรรม พูดไม่ถูกวินัย ไฉนพระเทวทัตจึงได้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์

เพื่อทำลายข้อห้ามในพุทธจักรเล่า

เมื่อภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้แล้ว พระโกกาลิกะ พระกฏโมรก-

ติสสกะ พระขัณฑเทวีบุตร และพระสมุทททัต ได้กล่าวกะภิกษุเหล่านั้น

ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดอย่างนั้น พระเทวทัตพูดถูกธรรม พูดถูก

วินัย ก็พระเทวทัตกล่าวคล้อยคามความพอใจและความเห็นชอบของ

พวกเรา พระเทวทัตทราบความพอใจ และความเห็นชอบของพวกเรา

จึงกล่าว คำนี้ย่อมควรแม้แก่พวกเรา

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุ

ทั้งหลายจึงได้ประพฤติตามพูดสนับสนุนพระเทวทัต ผู้ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์เล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า มีพวกภิกษุประพฤติตามผู้พูด

สนับสนุนเทวทัตผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ จริงหรือ.

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 589

กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จึงไปประพฤติตามพูดสนับสนุนเทวทัต ผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลาย

สงฆ์เล่า การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษ

เหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนพวกภิกษุผู้ประพฤติตามผู้พูด

สนับสนุนพระเทวทัต โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ

เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความ

เป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความ

เป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ

ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การ

ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยายแล้ว ทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควร

แก่เรื่องนั้น เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุ

ทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 590

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้

ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๕. ๑๑. อนึ่ง มีภิกษุผู้ประพฤติตาม ผู้พูดเข้ากันของภิกษุนั้น

แล ๑ รูปบ้าง ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง เธอทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า

ขอท่านทั้งหลายอย่าได้กล่าวคำอะไร ๆ ต่อภิกษุนั่น ภิกษุนั่นกล่าวถูก

ธรรมด้วย ภิกษุนั่นกล่าวถูกวินัยด้วย ภิกษุนั่นถือเอาความพอใจและ

ความชอบใจของพวกข้าพเจ้ากล่าวด้วย เธอทราบความพอใจและ

ความชอบใจของพวกข้าพเจ้าจึงกล่าว คำที่เธอกล่าวนั่น ย่อมควร

แม้แก่พวกข้าพเจ้า ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าว อย่าง

นี้ว่า ท่านทั้งหลาย อย่าได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุนั่นหาใช่ผู้กล่าวถูก

ธรรมไม่ด้วย ภิกษุนั่นหาใช่ผู้กล่าวถูกวินัยไม่ด้วย ความทำลายสงฆ์

อย่าได้ชอบแม้แก่พวกท่าน ขอพวกท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์

เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทศ

เดียวกัน ย่อมอยู่ผาสุก แลภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าว

อยู่อย่างนี้ ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุ

ทั้งหลายพึงสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย

หากเธอทั้งหลาย ถูกสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบอยู่สละกรรมนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 591

เสีย สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี หากเธอทั้งหลายไม่สละเสีย เป็น

สังฆาทิเสส.

เรื่องภิกษุผู้ประพฤติตามพระเทวทัต จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๖๐๑] บทว่า อนึ่ง...ของภิกษุนั้นแล คือ ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์นั้น.

บทว่า มีภิกษุทั้งหลาย คือ มีภิกษุเหล่าอื่น.

บทว่า ผู้ประพฤติตาม ความว่า ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์เห็นอย่างไร

ชอบอย่างไร พอใจอย่างไร แม้ภิกษุเหล่านั้นก็เห็นอย่างนั้น ชอบ

อย่างนั้น พอใจอย่างนั้น.

บทว่า ผู้พูดเข้ากัน คือ ผู้ดำรงอยู่ในพวกในฝ่ายของภิกษุนั้น.

คำว่า ๑ รูปบ้าง ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง ความว่า มีภิกษุ ๑ รูปบ้าง

๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง ภิกษุเหล่านั้น พึงกล่าวอย่างนี้ว่า พวกท่านอย่าได้

กล่าวคำอะไรๆ ต่อภิกษุนั่น ภิกษุนั่นกล่าวถูกธรรมด้วย ภิกษุนั่นกล่าว

ถูกวินัยด้วย แลภิกษุนั้นกล่าวคล้อยตามความพอใจและความเห็นชอบ

ของพวกข้าพเจ้า เธอทราบความพอใจและความเห็นชอบของพวกข้าพเจ้า

จึงกล่าว คำที่เธอกล่าวนั้น ย่อมควรแม้แก่พวกข้าพเจ้า.

[๖๐๒] บทว่า ภิกษุเหล่านั้น ได้แก่ ภิกษุผู้ประพฤติตามเหล่านั้น.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น อธิบายว่า ภิกษุ

เหล่าใดเห็นอยู่ ภิกษุเหล่าใดได้ยินอยู่ ภิกษุเหล่านั้นควรว่ากล่าวภิกษุ

ผู้ประพฤติตามเหล่านั้นว่า พวกท่านอย่าได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุนั่นกล่าว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 592

ถูกธรรมก็หาไม่ ภิกษุนั่นกล่าวถูกวินัยก็หาไม่ ความทำลายสงฆ์อย่า

ได้ชอบใจแม้แก่พวกท่าน ขอใจของพวกท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์

เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกัน

ย่อมอยู่ผาสุก พึงกล่าวแม้ครั้งที่สอง พึงกล่าวแม้ครั้งที่สาม หากภิกษุ

เหล่านั้นสละเสียได้ สละได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากภิกษุเหล่านั้นไม่สละ

เสีย ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุทั้งหลายทราบแล้ว ไม่ว่ากล่าว ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงคุมตัวมาแม้สู่ท่ามกลางสงฆ์

แล้วพึงว่ากล่าวว่า พวกท่านอย่าได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุนั่นกล่าวถูกธรรม

ก็หาไม่ ภิกษุนั่นกล่าวถูกวินัยก็หาไม่ ความทำลายสงฆ์อย่าได้พอใจแม้

แก่พวกท่าน ขอใจของพวกท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์ เพราะว่าสงฆ์

ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทศเดียวกัน ย่อมอยู่

ผาสุก พึงกล่าวแม้ครั้งที่สอง พึงกล่าวแม้ครั้งที่สาม หากภิกษุเหล่านั้น

สละเสียได้ สละได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากภิกษุเหล่านั้นไม่สละเสีย

ต้องอาบัติทุกกฏ.

วิธีสวดสมนุภาส

[๖๐๓] ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลาย พึงสวดสมนุภาส ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสวดสมนุภาสอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ

พึงประกาศให้สงฆ์ทราบ ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสวดสมนุภาส

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มี

ชื่อนี้ด้วย เป็นผู้ประพฤติตาม เป็นผู้พูดเข้ากัน ของภิกษุผู้มีชื่อนี้ ซึ่งเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 593

ผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ ภิกษุเหล่านั้นยังไม่สละเรื่องนั้น ถ้าความ

พร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้

ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย นี่เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อ

นี้ด้วย เป็นผู้ประพฤติตาม เป็นผู้พูดเข้ากันของภิกษุผู้มีชื่อนี้ ซึ่งเป็น

ผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ ภิกษุเหล่านั้นยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์

สวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้น

เสีย การสวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้

สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่าน

ผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เป็นผู้ประพฤติตาม เป็นผู้พูดเข้า

กัน ของภิกษุผู้มีชื่อนี้ ซึ่งเป็นผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ ภิกษุเหล่า

นั้นยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อ

นี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย การสวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อ

นี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้น

พึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เป็นผู้ประพฤติตาม เป็นผู้พูด

เข้ากัน ของภิกษุผู้มีชื่อนี้ ซึ่งเป็นผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์ ภิกษุ

เหล่านั้นยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย

ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย การสวดสมนุภาสภิกษุทั้งหลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 594

ผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด

ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุทั้งหลายผู้มีชื่อนี้ด้วย ผู้มีชื่อนี้ด้วย สงฆ์สวดสมนุภาสแล้ว

เพื่อให้สละเรื่องนั้น ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้

ด้วยอย่างนี้.

[๖๐๔] จบญัตติ ต้องอาบัติทุกกฏ

จบกรรมวาจาสองครั้ง ต้องอาบัติถุลลัจจัย

จบกรรมวาจาครั้งสุด ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

เมื่อต้องอาบัติสังฆาทิเสส อาบัติทุกกฏเพราะญัตติ อาบัติถุลลัจจัย

เพราะกรรมวาจาสองครั้ง ย่อมระงับ สงฆ์พึงสวดสนนุภาสคราวหนึ่ง

ต่อภิกษุ ๒ รูป ๓ รูปได้ ไม่ควรสวดสมนุภาสในคราวหนึ่ง ยิ่งกว่านั้น.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

มากมาย ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส

คำว่า สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล

แม้เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

[๖๐๕] กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ไม่สละ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสงสัย ไม่สละ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 595

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ไม่สละ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๖๐๖] ภิกษุผู้ยังไม่ถูกสวดสมนุภาส ๑ ภิกษุผู้สละเสียได้ ๑ ภิกษุ

วิกลจริต ๑ ภิกษุผู้มีจิตฟุ้งซ่าน ๑ ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา ๑

ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๑ จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๑

ทุติยสังฆเภทสิกขาบทวรรณนา

ทุติยสังฆเภทสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:- ในทุติยสังฆเภทสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถเรื่องภิกษุประพฤติตามภิกษุผู้ทำลายสงฆ์]

บทว่า อนุวตฺตกา มีความว่า ผู้ปฏิบัติตาม โดยยึดถือเอาความเห็น

ความพอใจ และความชอบใจ แห่งพระเทวทัตนั้น (ผู้ตะเกียกตะกาย

เพื่อทำลายสงฆ์) ภิกษุเหล่าใดพูดคำเป็นพรรค คือ คำมีในฝักฝ่ายแห่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 596

ความไม่สามัคคีกัน; เหตุนั้น ภิกษุเหล่านั้นจึงชื่อว่าผู้กล่าวคำเป็นพรรค.

ก็ในบทภาชนะ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ย่อมเป็นผู้ตั้งอยู่ในวาจา

เป็นฝ่ายสรรเสริญพระเทวทัตนั้น. อธิบายว่า ตั้งอยู่แล้ว เพื่อต้องการ

สรรเสริญ และเพื่อต้องการความเจริญ แห่งพรรคพวก แก่พระเทวทัตนั้น

ผู้ตะเกียกตะกายเพื่อทำลายสงฆ์. พวกภิกษุที่กล่าวคำเป็นพรรค ย่อมเป็น

ผู้เช่นนี้โดยนิยม; เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวคำนี้. แต่เพราะภิกษุมาก

กว่า ๓ รูป เป็นผู้ไม่ควรแก่กรรม เพราะสงฆ์จะทำกรรมแก่สงฆ์ไม่ได้;

ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เอโก วา เทฺว วา ตโย วา

ดังนี้.

บทว่า ชานาติ โน มีความว่า ท่านผู้มีอายุนั้น ย่อมรู้แม้ความ

พอใจเป็นต้นของพวกเรา.

บทว่า ภาสติ มีความว่า ย่อมกล่าวกับพวกเราว่า พวกกระผม

จะกระทำอย่างนี้.

ข้อว่า อมฺหากเปต ขมติ มีความว่า ท่านผู้มีอายุนั้น ย่อม

กระทำสิ่งใด, สิ่งนั้น ย่อมเป็นที่ชอบใจแม้แก่พวกเรา.

ข้อว่า สเมตายสฺมนฺตาน สงฺเฆน มีความว่า จิตของท่านผู้มีอายุ

ทั้งหลาย จงถึงพร้อม คือ จงมาพร้อม, อธิบายว่า จงดำเนินไปสู่ความ

เป็นอัน เดียวกันกับสงฆ์. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ปรากฏชัดแล้วทั้งนั้น

เพราะมีนัยดังกล่าวแล้วในสิกขาบทก่อน และเพราะมีอรรถอันตื้น. แม้

สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเช่นกับสิกขาบทก่อนนั้นแล.

ทุติยสังฆเภทสิกขาบทวรรณนา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 597

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๒

เรื่องพระฉันนะ

[๖๐๗] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

วิหารโฆสิตาราม เขตพระนครโกสัมพี ครั้งนั้น ท่านพระฉันนะประพฤติ

มารยาทอันไม่สมควร ภิกษุทั้งหลายกล่าวตักเตือนอย่างนี้ว่า ดูก่อนฉันนะ

ท่านอย่าได้กระทำอย่างนี้ ประพฤติดังนี้ไม่ควร

พระฉันนะกล่าวตอบว่า ดูก่อนท่านทั้งหลาย พวกท่านสำคัญว่า

เราเป็นผู้ที่ท่านควรว่ากล่าวกระนั้นหรือ เราต่างหากควรว่ากล่าวพวกท่าน

เพราะพระพุทธเจ้าก็ของเรา พระธรรมก็ของเรา พระลูกเจ้าของเราตรัสรู้

ธรรมแล้ว พวกท่านต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ต่างสกุลกัน

บวชรวมกันอยู่ ดุจลมกล้าพัดหญ้าไม้ และใบไม้แห้งให้อยู่รวมกัน หรือ

ดุจแม่น้ำที่ไหลมาจากภูเขา พัดจอกสาหร่ายและแหนให้อยู่รวมกันฉะนั้น

ดูก่อนท่านทั้งหลาย พวกท่านสำคัญว่าเราเป็นผู้ที่ท่านควรว่ากล่าวกระนั้น

หรือ เราต่างหากควรว่ากล่าวพวกท่าน เพราะพระพุทธเจ้าก็ของเรา

พระธรรมก็ของเรา พระลูกเจ้าของเราตรัสรู้ธรรมแล้ว

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่าน

พระฉันนะ อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม จึงได้ทำตนให้เป็น

ผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้ แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 598

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-

ฉันนะว่า ดูก่อนฉันนะ ข่าวว่า เธออันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทาง

ธรรม ได้ทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้จริงหรือ.

พระฉันนะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ดูก่อนโมฆบุรุษ ไฉนเธออันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูก

ทางธรรม จึงทำตนให้เป็นผู้อันใครๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ดูก่อนโมฆบุรุษ

การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดย

ที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชน

ที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอี่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส

แล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระฉันนะโดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 599

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน เพื่อกำจัดอาสวะอันจะบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๖. ๑๒. อนึ่ง ภิกษุเป็นผู้มีสัญชาติแห่งคนว่ายาก อันภิกษุ

ทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม ในสิกขาบททั้งหลายอันเนื่องในอุเทศ

ทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ด้วยกล่าวโต้ว่า พวกท่าน

อย่าได้กล่าวอะไรต่อเรา เป็นคำดีก็ตาม เป็นคำชั่วก็ตาม แม้เรา

ก็จักไม่กล่าวอะไร ๆ ต่อพวกท่านเหมือนกัน เป็นคำดีก็ตาม เป็นคำชั่ว)

ก็ตาม ขอพวกท่านจงเว้นจากการว่ากล่าวเราเสีย ภิกษุนั้นอันภิกษุ

ทั้งหลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า ท่านอย่าได้ทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่า

กล่าวไม่ได้ ขอท่านจงทำตนให้เขาว่ากล่าวได้แล แม้ท่านก็จงว่ากล่าว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 600

ภิกษุทั้งหลายโดยชอบธรรม แม้ภิกษุทั้งหลายก็จักว่ากล่าวท่านโดย

ชอบธรรม เพราะว่าบริษัทของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เจริญแล้ว

ด้วยการอย่างนี้ คือด้วยว่ากล่าวซึ่งกันและกัน ด้วยเตือนกันและกัน

ให้ออกจากอาบัติ แลภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่อย่างนี้

ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงสวดสมนุภาส

กว่าจะครบสามจบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเส ย หากเธอถูกสวดสมนุภาส

กว่าจะครั้นสามจบอยู่ สละกรรมนั้นเสีย สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี

หากเธอไม่สละเสีย เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องพระฉันนะ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๖๐๘] คำว่า อนึ่ง ภิกษุเป็นผู้มีสัญชาติแห่งคนว่ายาก ความว่า

เป็นผู้ว่าได้โดยยาก ประกอบด้วยธรรมทั้งหลายอันเป็นเครื่องกระทำความ

เป็นผู้ว่ายาก ไม่อดทน ไม่รับอนุสาสนีโดยเบื้องขวา

คำว่า ในสิกขาบททั้งหลายอันเนื่องในอุเทศ ได้แก่ สิกขาบทอัน

นับเนื่องในพระปาติโมกข์.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น

ที่ชื่อว่า ถูกทางธรรม คือ สิกขาบทใดอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

บัญญัติแล้ว สิกขาบทนั้นชื่อว่าถูกทางธรรม ภิกษุนั้นผู้อันภิกษุทั้งหลาย

ว่ากล่าวอยู่ โดยถูกทางธรรมนั้น ย่อมทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าว

ไม่ได้ ด้วยกล่าวโต้ว่าพวกท่านอย่าได้กล่าวอะไร ๆ ต่อเรา เป็นคำดีก็ตาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 601

เป็นคำชั่วก็ตาม แม้เราก็จักไม่กล่าวคำอะไร ๆ ต่อพวกท่าน เป็นคำดี

ก็ตาม เป็นคำชั่วก็ตาม ขอพวกท่านจงเว้นจากการว่ากล่าวเสีย.

[๖๐๙] บทว่า ภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้มีสัญชาติแห่งคนว่ายากนั้น.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น อธิบายว่า ภิกษุ

เหล่าใดเห็นอยู่ ได้ยินอยู่ ภิกษุเหล่านั้นควรว่ากล่าวภิกษุผู้มีสัญชาติแห่ง

คนว่ายากนั้นว่า ท่านอย่าได้ทำตนให้เป็นผู้อันใครๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ขอท่าน

จงทำตนให้เขาว่าได้แล แม้ท่านก็จงว่ากล่าวภิกษุทั้งหลายโดยชอบธรรม

แม้ภิกษุทั้งหลายก็จักว่ากล่าวท่านโดยชอบธรรม เพราะว่าบริษัทของ

พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเจริญแล้วด้วยอาการอย่างนี้ คือด้วยว่ากล่าวซึ่งกัน

และกัน ด้วยเตือนกันและกันให้ออกจากอาบัติ ควรว่ากล่าวแม้ครั้งที่สอง

ควรว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี

หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุทั้งหลายได้ยินแล้วไม่ว่ากล่าว

ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุนั้นอันภิกษุทั้งหลายพึงคุมตัวมาแม้สู่ท่ามกลางสงฆ์

แล้วพึงว่ากล่าวว่า ท่านอย่าได้ทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้

ขอท่านจงทำตนให้ว่ากล่าวได้แล แม้ท่านก็จงว่ากล่าวภิกษุทั้งหลายโดย

ชอบธรรม แม้ภิกษุทั้งหลายก็จักว่ากล่าวท่านโดยชอบธรรม เพราะว่า

บริษัทของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเจริญแล้วด้วยอาการอย่างนี้ คือด้วยว่า

กล่าวซึ่งกันและกัน ด้วยเตือนกันและกันให้ออกจากอาบัติ ควรว่ากล่าว

แม้ครั้งที่สอง ควรว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย สละได้อย่างนี้

นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 602

วิธีสวดสมนุภาส

[๖๑๐] ภิกษุนั้น อันสงฆ์พึงสวดสมนุภาส ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล

สงฆ์พึงสวดสมนุภาสอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์

ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสวดสมนุภาส

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ อันภิกษุทั้งหลาย

ว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม ย่อมทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้

ภิกษุนั้นไม่สละเรื่องนั้น ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึง

สวดสมนุภาสภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น นี่เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงพึงข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ อันภิกษุทั้งหลาย

ว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม ย่อมทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้

ภิกษุนั้นไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่อง

นั้น การสวดสมนุภาสภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบเเก่ท่าน

ผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้โด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม ย่อมทำตนให้

เป็นผู้อันใครๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ภิกษุนั้นไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาส

ภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวดสมนุภาสภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้

สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่

ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 603

ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรม ย่อมทำตนให้

เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ภิกษุนั้นไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาส

ภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวดสมนุภาสภิกษุมีชื่อนี้ เพื่อให้สละ

เรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด

ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุมีชื่อนี้อันสงฆ์สวดสมนุภาสแล้ว เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบ

แก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[๖๑๑] จบญัตติ ต้องอาบัติทุกกฏ

จบกรรมวาจาสองครั้ง ต้องอาบัติถุลลัจจัย

กรรมวาจาครั้งสุด ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

เมื่อต้องอาบัติสังฆาทิเสส อาบัติทุกกฏเพราญัตติ อาบัติถุลลัจจัย

เพราะกรรมวาจาสองครั้ง ย่อมระงับ.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกันมาก

มาย ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

[๖๑๒] กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ไม่สละ

เสีย ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสงสัย ไม่สละเสีย ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 604

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ไม่สละเสีย

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๖๑๓] ภิกษุผู้ยังไม่ถูกสวดสมนุภาส ๑ ภิกษุผู้สละเสียได้ ๑ ภิกษุ

วิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๒ จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๒

ทุพพจสิกขาบทวรรณนา

ทุพพจสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น ข้าพเจ้า

จะกล่าวต่อไป:- ในทุพพจสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระฉันนะ]

สองบทว่า อนาจาร อาจรติ มีความว่า ย่อมกระทำการล่วงละเมิด

ทางกายทวารและวจีทวาร มีอเนกประการ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 605

คำว่า กึ นุ โข นาม นี้ เป็นการกล่าวข่ม (ผู้อื่น).

คำว่า อห โข นาม เป็นคำยก (ตน).

ด้วยคำว่า ตุมฺเห วเทยฺย ท่านแสดงว่า เราควรจะว่ากล่าวพวก

ท่านว่า พวกท่าน จงกระทำอย่างนี้ อย่ากระทำอย่างนี้.

หากผู้ถามจะถามว่า เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพราะพระฉันนะกล่าวหมายเอาความประสงค์เป็นต้น

อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า ทรงม้ากัณฐกะเสด็จออกพร้อมกับ

เรา ทรงผนวชแล้ว. ครั้นกล่าวว่า พระธรรมของเราแล้ว เมื่อจะแสดง

ยุติในความเป็นของ ๆ คนอีก จึงกล่าวว่า พระธรรมนี้ พระลูกเจ้าของ

เรา ได้ตรัสรู้แล้ว ดังนี้. มีคำอธิบายว่า เพราะว่า สัจจธรรม ๔ อัน

พระลูกเจ้าของเราแทงตลอดแล้ว; ฉะนั้น แม้พระธรรมก็เป็นของเรา.

แต่สำคัญพระสงฆ์ว่า ตั้งอยู่ในฝักฝ่ายแห่งคนคู่เวรของตน จึงไม่กล่าวว่า

พระสงฆ์ของเรา. แค่ใคร่จะกล่าวเปรียบเปรยรุกรานสงฆ์ จึงกล่าวคำ

เป็นต้นว่า เสยฺยถาปิ นาม ดังนี้.

บทว่า ติณกฏฺปณฺณสฏ ได้แก่ หญ้า ไม้ และใบไม้แห้งที่ร่วง

หล่นตกไปในสถานที่นั้น ๆ. อีกอย่างหนึ่ง หญ้าด้วย ไม้เบาไม่มีแก่น

ด้วย; เหตุนั้น จึงชื่อว่า หญ้าและไม้. ใบไม้แห้ง ชื่อว่า ปัณณสฏะ.

บทว่า อุสฺสาเทยฺย ได้แก่ พัดไปกองรวมไว้.

บทว่า ปพฺพเตยฺย ได้แก่ เกิดจากภูเขา. จริงอยู่ แม่น้ำนั้นมี

กระแสอันเชี่ยว; เพราะฉะนั้น ท่านจึงระบุเอาแต่แม่น้ำนั้นเท่านั้น.

ในคำว่า สงฺขเสวาลปณก น มีวินิจฉัยดังนี้:-

สาหร่ายที่มีใบ มีรากยาว เรียกว่า จอก. สาหร่ายสีเขียว เรียกว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 606

สาหร่าย. สาหร่ายที่เหลือ มีตะไคร้น้ำและแหนเป็นต้น แม้ทั้งหมด

ถึงการนับว่า แหน.

ด้วยคำว่า เอกโต อุสฺสาทิตา ท่านแสดงว่า แม้อันใครๆ ประมวล

มาแล้ว คือทำเป็นกองไว้ในที่เดียวกัน.

บทว่า ทุพฺพจชาติโก ได้แก่ มีภาวะแห่งบุคคลผู้ว่ายาก. อธิบายว่า

ผู้อันใคร ๆ ไม่อาจว่ากล่าวได้. แม้ในบทภาชนะแห่งบทว่า ทุพฺพจชาติโก

นั้น บทว่า ทุพฺพโจ ได้แก่ ผู้อันเขากล่าวสอนได้โดยยาก คือโดยลำบาก.

มีคำอธิบายว่า อันใคร ๆ ไม่อาจว่ากล่าวได้โดยง่าย.

บทว่า โทวจสฺสกรเณหิ คือ (ด้วยธรรม) อันกระทำความเป็น

ผู้ว่ายาก. อธิบายว่า ก็ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ย่อมทำบุคคลให้เป็นผู้ว่า

ยาก, เป็นผู้ประกอบด้วยธรรมเหล่านั้น.

ก็บัณฑิตพึงทราบธรรมเหล่านั้น มี ๑๙ อย่าง คือความเป็นผู้มี

ความปรารถนาลามก ๑ ความยกตนข่มผู้อื่น ๑ ความเป็นคนมักโกรธ ๑

ความผูกโกรธ เพราะความโกรธเป็นเหตุ ๑ ความเป็นผู้มักระแวงเพราะ

ความโกรธเป็นเหตุ ๑ ความเป็นผู้เปล่งวาจาใกล้ต่อความโกรธเพราะ

ความโกรธเป็นเหตุ ๑ ความกลับเป็นผู้โต้เถียงโจทก์ ๑ ความเป็นผู้กลับ

รุกรานโจทก์ ๑ ความเป็นผู้กลับปรักปรำโจทก์ ๑ ความกลบเรื่องอื่น

ด้วยเรื่องอื่น ๑ ความเป็นผู้ไม่พอใจตอบด้วยความประพฤติ ๑ ความเป็น

ผู้ลบหลู่ตีเสมอ ๑ ความเป็นคนริษยาเป็นคนตระหนี่ ๑ ความเป็นคนโอ้

อวดเจ้ามายา ๑ ความเป็นคนกระด้างดูหมิ่นผู้อื่น ๑ ความเป็นคนถือแต่

ความเห็นของตน ๑ ความเป็นคนถือรั้น ๑ ความเป็นผู้ถอนได้ยาก ๑

* มีเพียง ๘ แม้ในอนุมานสูตร ก็มีเพียง ๑๖. ม. มู. ๑๒/๑๘๙.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 607

อันมาแล้วในอนุมานสูตรตามลำดับ โดยนัยมีว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย !

ก็ธรรมอันทำความเป็นคนว่ายากเหล่าไหน ? ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลาย ! ภิกษุ

ในศาสนานี่เป็นผู้มีความปรารถนาลามก ดังนี้ เป็นต้น.

ผู้ใด ไม่อด ไม่ทนโอวาท, เพราะเหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่า อักขมะ.

ผู้ใด เมื่อไม่ปฏิบัติ ตามที่ท่านพร่ำสอน ไม่รับอนุสาสนีโดยเบื้องขวา;

เพราะเหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่า มีปกติไม่รับโดยเบื้องขวาซึ่งอนุสาสนี.

บทว่า อุทฺเทสปริยาปนฺเนสุ ได้แก่ นับเนื่องในอุเทศ คือรวมลง

ในภายใน. ความว่า เป็นไปภายในปาฏิโมกขุทเทส เพราะท่านสงเคราะห์

อย่างนี้ว่า อาบัติ มีแก่ท่านผู้ใด, ท่านผู้นั้นพึงเปิดเผย.

สองบทว่า สหธมฺมิก วุจฺจมาโน ได้แก่ อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าว

อยู่โดยชอบสหธรรม. นี้เป็นทุติยาวิภัตติลงในอรรถแห่งตติยาวิภัตติ. อธิบาย

ว่า อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ ด้วยสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ

ไว้ อันได้นามว่า สหธรรมิก เพราะเป็นสิกขาอันสหธรรมิก ๕ พึง

ศึกษา หรือเพราะเป็นของสหธรรมิก ๕ เหล่านั้น .

คำว่า วิรมถายสฺสนฺโต มม วจนาย มีความว่า พวกท่านว่ากล่าว

ข้าพเจ้าด้วยคำใด, จงเลิกจากคำนั้น ตามคำของข้าพเจ้า. มีคำอธิบายว่า

พวกท่าน จงอย่ากล่าวคำนั้นกะข้าพเจ้า.

คำว่า วเทตุ สหธมฺเมน มีความว่า ท่านผู้มีอายุ จงว่ากล่าวด้วย

สิกขาบทอัน เป็นสหธรรม หรือด้วยคำแม้อื่นอันเป็นสหธรรม คือเป็นไป

เพื่อความเลื่อมใส.

ศัพท์ว่า ยทิท เป็นนิบาต ลงในอรรถ คือแสดงเห็นแห่งความ

เจริญ. ด้วยคำว่า ยทิท นั้น ย่อมเป็นอันท่านแสดงเหตุแห่งความเจริญ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 608

ของบริษัทอย่างนี้ว่า การพูดแนะประโยชน์แก่กันและกัน และการยังกัน

และกันให้ออกจากอาบัตินี้ใด, บริษัทเจริญแล้ว ด้วยการว่ากล่าวกันและ

ด้วยการยังกันและกันให้ออกจากอาบัตินั้น. คำที่เหลือในที่ทั้งปวง ตื้น

ทั้งนั้น. แม้สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเช่นกับปฐมสังฆเภทสิกขาบท

นั้นแล.

ทุพพจสิกขาบทวรรณนา จบ

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๓

เรื่องภิกษุพวกพระอัสสชิ และพระปุนัพพสุกะ

[๖๑๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ภิกษุพวกพระอัสสชิ และพระปุนัพพสุกะ เป็นเจ้าถิ่นในชนบทกิฏาคีรี

เป็นภิกษุอลัชชี ชั่วช้า ภิกษุพวกนั้นประพฤติอนาจารเห็นปานดังนี้ คือ

ปลูกต้นไม้ดอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นปลูกบ้าง รดน้ำเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่น

รดบ้าง เก็บดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นเก็บบ้าง ร้อยกรองดอกไม้เองบ้าง

ใช้ให้ผู้อื่นร้อยกรองบ้าง ทำมาลัยต่อก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำ

มาลัยเรียงก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้ช่อเองบ้าง ใช้ให้

ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้พุ่มเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้เทริด

เองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้พวงเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง

ทำดอกไม้แผงสำหรับประดับอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ภิกษุพวกนั้น

นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งมาลัยต่อก้าน นำไปเองบ้าง ใช้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 609

ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งมาลัยเรียงก้าน นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง

ซึ่งดอกไม้ช่อ นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้พุ่ม นำ

ไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้เทริด นำไปเองบ้าง ใช้ให้

ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้พวง นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อันนำไปบ้าง ซึ่ง

ดอกไม้แผงสำหรับประดับอก เพื่อกุลสตรี เพื่อกุลธิดา เพื่อกุลกุมารี

เพื่อสะใภ้เเห่งสกุล เพื่อกุลทาสี ภิกษุพวกนั้น ฉันอาหารในภาชนะอัน

เดียวกันบ้าง ดื่มน้ำในขันใบเดียวกันบ้าง นั่งบนอาสนะอันเดียวกันบ้าง

นอนบนเตียงอันเดียวกันบ้าง นอนร่วมเครื่องลาดอัน เดียวกันบ้าง นอน

คลุมผ้าห่มผืนเดียวกันบ้าง นอนร่วมเครื่องลาดและคลุมผ้าห่มร่วมกันบ้าง

กับกุลสตรี กุลธิดา กุลกุมารี สะใภ้แห่งสกุล กุลทาสี ฉันอาหารในเวลา

วิกาลบ้าง ดื่มน้ำเมาบ้าง ทัดทรงดอกไม้ของหอมและเครื่องลูบไล้บ้าง

ฟ้อนรำบ้าง ขับร้องบ้าง ประโคมบ้าง เต้นรำบ้าง ฟ้อนรำกับหญิงฟ้อนรำ

บ้าง ขับร้องกับหญิงฟ้อนรำบ้าง ประโคมกับหญิงฟ้อนรำบ้าง เต้นรำกับ

หญิงฟ้อนรำบ้าง ฟ้อนรำกับหญิงขับร้องบ้าง ขับร้องกับหญิงขับร้องบ้าง

ประโคมกับหญิงขับร้องบ้าง เต้นรำกับหญิงขับร้องบ้าง ฟ้อนรำกับหญิง

ประโคมบ้าง ขับร้องกับหญิงประโคมบ้าง ประโคมกับหญิงประโคมบ้าง

เต้นรำกับหญิงประโคมบ้าง ฟ้อนรำกับหญิงเต้นรำบ้าง ขับร้องกับหญิง

เต้นรำบ้าง ประโคมกับหญิงเต้นรำบ้าง เต้นรำกับหญิงเต้นรำบ้าง เล่น

หมากรุกแถวละแปดตาบ้าง เล่นหมากรุกแถวละสิบตาบ้าง เล่นหมากเก็บ

บ้าง เล่นชิงนางบ้าง เล่นหมากไหวบ้าง เล่นโยนห่วงบ้าง เล่นไม้หึ่งบ้าง

เล่นฟาดให้เป็นรูปต่าง ๆ บ้าง เล่นสกาบ้าง เล่นเป่าใบไม้บ้าง เล่นไถ

น้อย ๆ บ้าง เล่นหกคะเมนบ้าง เล่นไม้กังหันบ้าง เล่นตวงทรายด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 610

ใบไม้บ้าง เล่นรถน้อย ๆ บ้าง เล่นธนูน้อย ๆ บ้าง เล่นเขียนทายบ้าง

เล่นทายใจบ้าง เล่นเลียนคนพิการบ้าง หัดขี่ช้างบ้าง หัดขี่ม้าบ้าง หัด

ขี่รถบ้าง หัดยิงธนูบ้าง หัดเพลงอาวุธบ้าง วิ่งผลัดช้างบ้าง วิ่งผลัดม้า

บ้าง วิ่งผลัดรถบ้าง วิ่งขับกันบ้าง วิ่งเปี้ยวกันบ้าง ผิวปากบ้าง ปรบมือ

บ้าง ปล้ำกันบ้าง ชกมวยกันบ้าง ปูลาดผ้าสังฆาฏิ ณ กลางสถานเต้นรำ

แล้ว พูดกับหญิงฟ้อนรำอย่างนี้ว่า น้องหญิง เธอจงฟ้อนรำ ณ ที่นี้ ดังนี้

บ้าง ให้การคำนับบ้าง ประพฤติอนาจารมีอย่างต่าง ๆ บ้าง.

[๖๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งจำพรรษาในแคว้นกาสี

เดินทางไปพระนครสาวัตถีเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถึงชนบทกิฎาคีรีแล้ว

ครั้นเวลาเช้าภิกษุนั้นครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต

ยังชนบทกิฎาคีรี มีอาการเดินไป ถอยกลับ แลเหลียว เหยียดแขน

คู้แขน น่าเลื่อมใส มีจักษุทอดลง สมบูรณ์ด้วยอิริยาบถ

คนทั้งหลายเห็นภิกษุรูปนั้นแล้ว พูดอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้เป็นใคร

ดูคล้ายคนไม่ค่อยมีกำลัง เหมือนคนอ่อนแอ เหมือนคนมีหน้าสยิ้ว ใคร

เล่าจักถวายบิณฑะแก่ท่านผู้เข้าไปเที่ยวบิณฑบาตรูปนี้ ส่วนพระผู้เป็นเจ้า

เหล่าพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะของพวกเรา เป็นผู้อ่อนโยน พูด

ไพเราะ อ่อนหวาน ยิ้มแย้มก่อน มักพูดว่า มาเถิดมาดีแล้ว มีหน้าไม่

สยิ้ว มีหน้าชื่นบาน มักพูดก่อน ใคร ๆ ก็ต้องถวายบิณฑะแก่ท่าน

เหล่านั้น.

อุบาสกคนหนึ่ง ได้แลเห็นภิกษุรูปนั้นกำลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่ใน

ชนบทกิฎาคีรี ครั้นแล้วจึงเข้าไปหาภิกษุนั้น กราบเรียนถามภิกษุรูปนั้น

ว่า พระคุณเจ้าได้บิณฑะบ้างไหม ขอรับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 611

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า ยังไม่ได้บิณฑะเลยจ้ะ

อุบายสกกล่าวอาราธนาว่า นิมนต์ไปเรือนผมเถิด ขอรับ แล้วนำ

ภิกษุนั้นไปเรือน นิมนต์ให้ฉันแล้วถามว่า พระคุณเจ้าจักไปที่ไหน ขอรับ

ภิ. อาตมาจักไปพระนครสาวัตถี เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า

อุ. ถ้าเช่นนั้น ขอพระคุณเจ้า จงกราบถวายบังคมพระบาทของ

พระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเศียรเกล้า และขอจงกราบทูลตามถ้อยคำของ

กระผมอย่างนี้ด้วยขอรับว่า พระพุทธเจ้าข้า วัดในชนบทกิฏาคีรีโทรม

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะเป็นเจ้าถิ่นในชนบทกิฏาคีรี เป็น

ภิกษุอลัชชี เลวทราม พวกเธอประพฤติอนาจารเห็นปานดังนี้ คือปลูก

ต้นไม้ดอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นปลูกบ้าง รดน้ำเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นรดบ้าง

เก็บดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นเก็บบ้าง ร้อยกรองดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้

ผู้อื่นร้อยกรองบ้าง ทำมาลัยต่อก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำมาลัย

เรียงก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง... ประพฤติอนาจารมีอย่างต่าง ๆ

บ้าง เมื่อก่อนชาวบ้านยิ่งมีศรัทธาเลื่อมใส แต่เดี๋ยวนี้เขาไม่ศรัทธาไม่

เลื่อมใสแล้ว แม้ทานประจำของสงฆ์ก่อน ๆ บัดนี้ทายกทายิกาได้ตัดขาด

แล้ว ภิกษุมีศีลเป็นที่รักย่อมหลีกเลี่ยงไป ภิกษุเลวทรามอยู่ครอง พระ-

พุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าขอประทานพระวโรกาส พระผู้มีพระภาคเจ้า

พึงส่งภิกษุทั้งหลายไปสู่ชนบทกิฎาคีรี เพื่อวัดในชนบทกิฏาคีรีนี้จะพึงตั้ง

มั่นอยู่

ภิกษุนั้นรับคำของอุบาสกนั้นแล้ว หลีกไปโดยหนทางอันจะไปสู่

พระนครสาวัตถี ถึงพระนครสาวัตถี พระวิหารเชตวัน อารามของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 612

อนาถบิณฑิกคหบดีโดยลำดับ เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคม

พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.

พุทธประเพณี

[๖๑๖] อันการที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงปราศรัย

กับพระอาคันตุกะทั้งหลาย นั่นเป็นพุทธประเพณี

พระพุทธเจ้าทรงปราศรัย

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ

เธอยังพอทนอยู่ดอกหรือ ยังพอครองอยู่ดอกหรือ เธอเดินทางมาเหนื่อย

น้อยหรือ ก็นี่เธอมาจากไหนเล่า

ภิกษุนั้นกราบทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้ายังพอทนอยู่ได้ ยังพอครอง

อยู่ได้ พระพุทธเจ้าข้า และข้าพระพุทธเจ้าเดินทางมาลำบากเล็กน้อย

ข้าพระพุทธเจ้าจำพรรษาในแคว้นกาสีแล้ว เมื่อจะมายังพระนครสาวัตถี

เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ผ่านชนบทกิฎาคีรี พระพุทธเจ้าข้า ครั้น

เวลาเช้า ข้าพระพุทธเจ้าครองอันตรวาสก ถือบาตรและจีวรเข้าไป

บิณฑบาตยังชนบทกิฎาคีรี พระพุทธเจ้าข้า อุบาสกคนหนึ่ง ได้เห็น

ข้าพระพุทธเจ้ากำลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่ในชนบทกิฎาคีรี ครั้นแล้ว ได้

เข้าไปหาข้าพระพุทธเจ้า กราบไหว้ข้าพระพุทธเจ้าถามว่า ท่านได้บิณฑะ

บ้างไหม ขอรับ ข้าพระพุทธเจ้าตอบว่า ยังไม่ได้บิณฑะเลยจ้ะ เขาพูดว่า

มนต์ไปเรือนผมเถิด ขอรับ แล้วนำข้าพระพุทธเจ้าไปเรือน ให้ฉันแล้ว

ถามว่า พระคุณเจ้าจักไปที่ไหน ขอรับ ข้าพระพุทธเจ้าตอบว่า จักไป

พระนครสาวัตถี เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าจ้ะ เขาพูดว่า ท่านขอรับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 613

ถ้าเช่นนั้นขอท่านจงกราบถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วย

เศียรเกล้า และขอจงกราบทูลตามถ้อยคำของกระผมอย่างนี้ว่า พระพุทธ-

เจ้าข้า วัดในชนบทกิฏาคีรีโทรม ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ

เป็นเจ้าถิ่นในชนบทกิฏาคีรี เป็นภิกษุอลัชชี เลวทราม ประพฤติอนาจาร

เห็นปานดังนี้ คือปลูกต้นไม้ดอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นปลูกบ้าง รดน้ำเอง

บ้าง ใช้ให้ผู้อื่นรดบ้าง... ประพฤติอนาจารมีอย่างต่าง ๆ บ้าง เมื่อก่อน

ชาวบ้านยังมีศรัทธาเลื่อมใส แต่เดี๋ยวนี้เขาไม่ศรัทธาไม่เลื่อมใสแล้ว แม้

ทานประจำของสงฆ์ก่อน ๆ บัดนี้ทายกทายิกาได้ตัดขาดแล้ว ภิกษุมีศีล

เป็นที่รักย่อมหลีกเลี่ยงไป ภิกษุเลวทรามอยู่ครอง พระพุทธเจ้าข้า ข้า-

พระพุทธเจ้าขอประทานพระวโรกาส พระองค์ควรส่งภิกษุทั้งหลายไปสู่

ชนบทกิฎาคีรี เพื่อวัดในชนบทกิฏาคีรีนี้จะพึงตั้งมั่นอยู่ดังนี้ ข้าพระ-

พุทธเจ้ามาจากชนบทกิฏาคีรีนั้น พระพุทธเจ้าข้า.

ทรงสอบถามภิกษุสงฆ์

[๖๑๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์

ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุพวกอสัสชิและ

ปุนัพพสุกะเป็นเจ้าถิ่นในชนบทกิฏาคีรี เป็นภิกษุอลัชชี เลวทราม

ประพฤติอนาจารเห็นปานดังนี้ คือปลูกต้นไม้ดอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่น

ปลูกบ้าง รดนำเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นรดบ้าง เก็บดอกไม้เองบ้าง ใช้

ให้ผู้อื่นเก็บบ้าง ร้อยกรองดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นร้อยกรองบ้าง

ทำมาลัยต่อก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำมาลัยเรียงก้านเองบ้าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 614

ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้ช่อเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้

พุ่มเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้เทริดเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำ

บ้าง ทำดอกไม้พวงเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้แผงสำหรับ

ประดับอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง... ประพฤติอนาจารต่าง ๆ บ้าง

เมื่อก่อนชาวบ้านยังมีศรัทธาเลื่อมใส แต่เดี๋ยวนี้เขาไม่ศรัทธา ไม่

เลื่อมใสแล้ว แม้ทานประจำของสงฆ์ก่อน ๆ บัดนี้ทายกทายิกาได้ตัด

ขาดแล้ว ภิกษุมีศีลเป็นที่รักย่อมหลีกเลี่ยงไป ภิกษุเลวทรามอยู่ครอง

ดังนี้ จริงหรือ.

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระพุทธเจ้าทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั่นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่

ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้ประพฤติ

อนาจารเห็นปานดังนี้ คือปลูกต้นไม้ดอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นปลูกเอง

บ้าง รดน้ำเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นรดบ้าง เก็บดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้

ผู้อื่นเก็บบ้าง ร้อยกรองดอกไม้เองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นร้อยกรองบ้าง ทำ

มาลัยต่อก้านเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำมาลัยเรียงก้านเองบ้าง

ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้ช่อเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้

พุ่มเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้เทริดเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำ

บ้าง ทำดอกไม้พวงเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง ทำดอกไม้เเผงสำหรับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 615

ประดับอกเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นทำบ้าง พวกเธอนำไปเองบ้าง ใช้ให้

ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งมาลัยต่อก้านนำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง

ซึ่งมาลัยเรียงก้าน นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้ช่อ

นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้พุ่ม นำไปเองบ้าง ใช้

ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้เทริด นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง

ซึ่งดอกไม้พวง นำไปเองบ้าง ใช้ให้ผู้อื่นนำไปบ้าง ซึ่งดอกไม้แผง

สำหรับประดับอก เพื่อกุลสตรี เพื่อกุลธิดา เพื่อกุลกุมาร เพื่อสะใภ้

แห่งสกุล เพื่อกุลทาสี พวกเธอฉันอาหารรนภาชนะอันเดียวกันบ้าง

ดื่มน้ำในขันใบเดียวกันบ้าง นั่งบนอาสนะอันเดียวกันบ้าง นอนบน

เตียงอันเดียวกันบ้าง นอนร่วมเครื่องลาดอันเดียวกันบ้าง นอนคลุม

ผ้าห่มผืนเดียวกันบ้าง นอนร่วมเครื่องลาดและคลุมผ้าห่มร่วมกันบ้าง

กับกุลสตรี กุลธิดา กุลกุมารี สะใภ้แห่งสกุล กุลทาสี ฉันอาหารใน

เวลาวิกาลบ้าง ดื่มน้ำเมาบ้าง ทัดทรงดอกไม้ของหอมและเครื่องลูบไล้

บ้าง ฟ้อนรำบ้าง ขับร้องบ้าง ประโคมบ้าง เต้นรำบ้าง ฟ้อนรำกับหญิง

ฟ้อนรำบ้าง ขับร้องกับหญิงฟ้อนรำบ้าง ประโคมกับหญิงฟ้อนรำบ้าง

เต้นรำกับหญิงฟ้อนรำบ้าง ฟ้อนรำกันหญิงขับร้องบ้าง ขับร้องกับหญิง

ขับร้องบ้าง ประโคมกับหญิงขับร้องบ้าง เต้นรำกับหญิงขับร้องบ้าง

ฟ้อนรำกับหญิงประโคมบ้าง ขับร้องกับหญิงประโคมบ้าง ประโคมกับ

หญิงประโคมบ้าง เต้นรำกับหญิงประโคมบ้าง ฟ้อนรำกับหญิงเต้นรำ

บ้าง ขับร้องกับหญิงเต้นรำบ้าง ประโคมกับหญิงเต้นรำบ้าง เต้นรำ

กับหญิงเต้นรำบ้าง เล่นหมากรุกแถวละแปดตาบ้าง เล่นหมากรุกแถว

สิบตาบ้าง เล่นหมากเก็บบ้าง เล่นชิงนางบ้าง เล่นหมากไหวบ้าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 616

เล่นโยนห่วงบ้าง เล่นไม้หึ่งบ้าง เล่นฟาดให้เป็นรูปต่าง ๆ บ้าง เล่น

สกาบ้าง เล่นเป่าใบไม้บ้าง เล่นไถน้อย ๆ บ้าง เล่นหกคะเมนบ้าง

เล่นไม้กังหันบ้าง เล่นตวงทรายด้วยใบไม้บ้าง เล่นรถน้อย ๆ บ้าง

เล่นธนูน้อย ๆ บ้าง เล่นเขียนทายบ้าง เล่นทายใจบ้าง เล่นเลียน

คนพิการบ้าง หัดขี่ช้างบ้าง หัดขี่ม้าบ้าง หัดขับรถบ้าง หัดยิงธนูบ้าง

หัดเพลงอาวุธบ้าง วิ่งผลัดช้างบ้าง วิ่งผลัดม้าบ้าง วิ่งผลัดรถบ้าง

วิ่งขับกันบ้าง วิ่งเปี้ยวกันบ้าง ผิวปากบ้าง ปรบมือบ้าง ปล้ำกันบ้าง

ชกมวยกันบ้าง ปูลาดผ้าสังฆาฏิ ณ กลางสถานเต้นรำ แล้วพูดกับ

หญิงฟ้อนรำอย่างนี้ว่า น้องหญิง เธอจงฟ้อนรำ ณ ที่นี้ดังนี้บ้าง ให้

การคำนับบ้าง ประพฤติอนาจารมีอย่างต่าง ๆ บ้างเล่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น

ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของโมฆ-

บุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อม-

ใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.

รับสั่งให้ปัพพาชนียกรรม

[๖๑๘] ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุพวกพระอัสสชิ

และพระปุนพัพสุกะโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ทรงกระทำธรรมีกถารับสั่ง

กะพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะว่า ไปเถิด สารีบุตรและโมค-

คัลลานะ พวกเธอไปถึงชนบทกิฏาคีรีแล้วจงทำปัพพาชนียกรรมแก่-

ภิกษุพวกอัสสชิและปุนัพพสุกะจากชนบทกิฏาคีรี เพราะภิกษุพวกนั้น

เป็นสัทธิวิหาริกของเธอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 617

พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะกราบทูลถามว่า พระพุทธเจ้าข้า

พวกข้าพระพุทธเจ้าจะทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระ-

ปุนัพพสุกะ จากชนบทกิฏาคีรีได้ด้วยวิธีไร เพราะภิกษุพวกนั้น ดุร้าย

หยาบคาย

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสารีบุตรและโมคคัลลานะ ถ้า

เช่นนั้น พวกเธอจงไปพร้อมด้วยภิกษุหลาย ๆ รูป

พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ทูลรับสนองพระผู้มีพระภาคเจ้า

ว่า อย่างนั้น พระพุทธเจ้าข้า.

วิธีทำปัพพาชนียกรรม

[๖๑๙] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล

วิธีปัพพาชนียกรรมพึงทำอย่างนี้ พึงโจทภิกษุพวกอัสสชิและปุนัพพ-

สุกะก่อน ครั้นแล้วพึงให้พวกเธอให้การ ครั้นแล้วพึงยกอาบัติขึ้น

ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติ-

จตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาทำปัพพาชนียกรรม

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระ -

ปุนัพพสุกะเหล่านี้ เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม

ความพระพฤติเลวทรามของภิกษุเหล่านี้ เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่

ด้วย และสกุลทั้งหลายอันภิกษุเหล่านี้ประทุษร้าย เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขา

ได้ยินอยู่ด้วย ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงทำปัพพาช-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 618

นียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะจากชนบทกิฏาคีรีว่า

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี นี่เป็น

ญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระ-

ปุนัพพสุกะเหล่านี้เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม ความ

ประพฤติเลวทรามของภิกษุเหล่านี้ เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย

และสกุลทั้งหลายอันภิกษุเหล่านี้ประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขา

ได้ยินอยู่ด้วย สงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระ-

ปุนัพพสุกะจากชนบทกิฏาคีรีว่า ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ

ไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี การทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิ

และพระปุนัพพสุกะจากชนบทกิฏาคีรีว่า ภิกษุพวกพระอสัสชิและพระ-

ปุนัพพสุกะ ไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึง

เป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะเหล่านี้ เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล

มีความประพฤติเลวทราม ความประพฤติเลวทรามของภิกษุเหล่านี้ เขา

ได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย และสกุลทั้งหลายอันภิกษุเหล่านี้ประทุษ

ร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย สงฆ์ทำปัพพาชนียกรรม

แก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ จากชนบทกิฎาคีรีว่า ภิกษุ

พวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี การทำปัพ-

พาชนียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะจากชนบทกิฎาคีรี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 619

ว่า ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี ชอบ

แก่ท่านผู้โด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะเหล่านี้ เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มี

ความประพฤติเลวทราม ความประพฤติเลวทรามของภิกษุเหล่านี้ เขา

ได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย และสกุลทั้งหลายอันภิกษุเหล่านี้ประทุษ-

ร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย สงฆ์ทำปัพพาชนียกรรม

แก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ จากชนบทกิฎาคีรีว่า ภิกษุพวก

พระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะไม่พึงอยู่ในชนบทถิฏาคีรี การทำปัพพา-

ชนียกรรมแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิ และพระปุนัพพสุกะจากชนบทกิฎาคีรีว่า

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏคีรี ชอบ

แก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ปัพพาชนียกรรม สงฆ์ทำแล้วแก่ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระ-

ปุนัพพสุกะจากชนบทกิฏาคีรีว่า ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ

ไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความ

นี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[๖๒๐] ลำดับนั้น ภิกษุสงฆ์มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ

เป็นประมุขได้ไปสู่ชนบทกิฎาคีรีแล้ว ทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุพวก

พระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะจากชนบทกิฎาคีรีว่า ภิกษุพวกพระอัสสชิ

และพระปุนัพพสุกะ ไม่พึงอยู่ในชนบทกิฏาคีรี

ภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะเหล่านั้น ถูกสงฆ์ทำปัพพา-

ชนียกรรมแล้ว ไม่ประพฤติโดยชอบ ไม่หายเย่อหยิ่ง ไม่ประพฤติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 620

แก้ตัว ไม่ขอขมาภิกษุทั้งหลาย ยังด่า ยังบริภาษการกสงฆ์ ยังใส่ความว่า

ลำเอียงด้วยความพอใจ ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง

ลำเอียงด้วยความกลัว หลีกไปเสียก็มี สึกเสียก็มี

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุ

พวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะถูกสงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแล้ว จึงไม่

ประพฤติโดยชอบ ไม่หายเย่อหยิ่ง ไม่ประพฤติแก้ตัว ไม่ขอขมาภิกษุ

ทั้งหลาย ยังด่า ยังบริภาษการกสงฆ์ ยังใส่ความว่า ลำเอียงด้วยความ

พอใจ ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง ลำเอียงด้วยความ

กลัว หลีกไปเสียก็มี สึกเสียก็มีเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น แด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า.

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

[๖๒๑] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า รับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์

ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุพวกอัสสชิและ

ปุนัพพสุกะถูกสงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแล้ว ไม่ประพฤติโดยชอบ ไม่

หายเย่อหยิ่ง ไม่ประพฤติแก้ตัว ไม่ขอขมาภิกษุทั้งหลาย ยังด่า

ยังบริภาษการกสงฆ์ ยังใส่ความว่า ลำเอียงด้วยความพอใจ ลำเอียง

ด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง ลำเอียงด้วยความกลัว

หลีกไปเสียก็มี สึกเสียก็มีจริงหรือ.

ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 621

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร

ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกภิกษุโมฆบุรุษ

เหล่านั้นถูกสงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแล้ว จึงไม่ประพฤติโดยชอบ

ไม่หายเย่อหยิ่ง ไม่ประพฤติแก้ตัว ไม่ขอขมาภิกษุทั้งหลาย ยังด่า

ยังบริภาษการกสงฆ์ ยังใส่ความว่า ลำเอียงด้วยความพอใจ ลำเอียง

ด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง ลำเอียงด้วยความกลัว

หลีกไปเสียก็มี สึกเสียก็มีเล่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั้น

ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของโมฆ-

บุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อม-

ใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุพวกพระอัสสชิ และพระ-

ปุนัพพสุกะโดยอเนกปริยายดังนี้เเล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก

ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ

ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย

ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา

ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร

โดยอเนกปริยายแล้ว ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะ

สมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 622

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑

เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะ

บังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๗. ๑๓. อนึ่ง ภิกษุเข้าไปอาศัยบ้านก็ดี นิคมก็ดี แห่งใด

แห่งหนึ่งอยู่ เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม ความ

ประพฤติเลวทรามของเธอ เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย และ

สกุลทั้งหลายอันเธอประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่

ด้วย ภิกษุนั้นอันภิกษุทั้งหลาย พึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเป็นผู้

ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม ความประพฤติเลวทราม

ของท่าน เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย และสกุลทั้งหลายอัน

ท่านประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย ท่านจง

หลีกไปเสียจากอาวาสนี้ ท่านอย่าอยู่ในที่นี้ และภิกษุนั้นอันภิกษุ

ทั้งหลายว่ากล่าวอยู่อย่างนี้ พึงว่ากล่าวภิกษุเหล่านั้นอย่างนี้ว่า พวกภิกษุ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 623

ถึงความพอใจด้วย ถึงความขัดเคืองด้วย ถึงความหลงด้วย ถึงความ

กลัวด้วย ย่อมขับภิกษุบางรูป ย่อมไม่ขับภิกษุบางรูป เพราะอาบัติ

เช่นเดียวกัน ภิกษุนั้นอันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า ท่านอย่า

ได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุทั้งหลาย หาได้ถึงความพอใจไม่ หาได้ถึง

ความขัดเคืองไม่ หาได้ถึงความหลงไม่ หาได้ถึงความกลัวไม่ ท่าน

เองแล เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม ความ

ประพฤติเลวทรามของท่าน เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย

และสกุลทั้งหลายอันท่านประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เข้าได้

ยินอยู่ด้วย ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้ ท่านอย่าอยู่ในที่นี้ และ

ภิกษุนั้นอันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่อย่างนี้ ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว

ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลาย พึงสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบ เพื่อ

ให้สละกรรมนั้นเสีย หากเธอถูกสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบอยู่

สละกรรมนั้นเสีย สละได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละเสีย

เป็นสังฆาทิเสส.

เรื่องภิกษุพวกพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๖๒๒] คำว่า อนึ่ง ภิกษุ...บ้านก็ดี นิคมก็ดี แห่งใดแห่งหนึ่ง

ความว่า บ้านก็ดี นิคมก็ดี นครก็ดี ชื่อว่า บ้านและนิคม.

บทว่า เข้าไปอาศัย...อยู่ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ

เภสัชบริขารเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ เป็นปัจจัยเกี่ยวเนื่องอยู่ในที่นั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 624

ที่ชื่อว่า สกุล หมายสกุล ๔ คือ สกุลกษัตริย์ สกุลพราหมณ์

สกุลแพศย์ สกุลศูทร.

บทว่า เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล คือ ประจบสกุลด้วยดอกไม้ก็ดี

ผลไม้ก็ดี แป้งก็ดี ดินก็ดี ไม้สีฟันก็ดี ไม้ไผ่ก็ดี การแพทย์ก็ดี

การสื่อสารก็ดี.

บทว่า มีความประพฤติเลวทราม คือ ปลูกไม้ดอกเองบ้าง

ใช้ให้ผู้อื่นปลูกบ้าง รดน้ำเองบ้าง ใช้ผู้อื่นรดบ้าง เก็บดอกไม้เองบ้าง

ใช้ผู้อื่นเก็บบ้าง ร้อยกรองดอกไม้เองบ้าง ใช้ผู้อื่นร้อยกรองบ้าง.

[๖๒๓] บทว่า เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย คือ ชน

เหล่าใดอยู่เฉพาะหน้า ชนเหล่านั้น ชื่อว่าได้เห็นอยู่ ชนเหล่าใดอยู่ลับหลัง

ชนเหล่านั้นชื่อว่าได้ยินอยู่.

บทว่า และสกุลทั้งหลาย อันเธอประทุษร้ายแล้ว คือ ชน

ทั้งหลายเมื่อก่อนมีศรัทธา อาศัยภิกษุนั้นกลับเป็นคนไม่มีศรัทธา เมื่อก่อน

เป็นคนเลื่อมใสอาศัยภิกษุนั้นกลับเป็นคนไม่เลื่อมใส.

บทว่า เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย คือ ชนเหล่าใด

อยู่เฉพาะหน้า ชนเหล่านั้น ชื่อว่าได้เห็นอยู่ ชนเหล่าใดอยู่ลับหลัง ชน

เหล่านั้นชื่อว่าได้ยินอยู่.

[๖๒๔] บทว่า ภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุลรูปนั้น.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น อธิบายว่า ภิกษุ

พวกที่ได้เห็นได้ยินเหล่านั้น พึงกล่าวภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุลรูปนั้นว่า

ท่านแล เป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม ความประพฤติ

เลวทรามของท่านแล เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย และสกุล

ทั้งหลาย อันท่านประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 625

ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้ ท่านอย่าอยู่ในที่นี้ และภิกษุนั้น อันภิกษุ

ทั้งหลายว่ากล่าวอยู่อย่างนั้น พึงว่าภิกษุเหล่านั้นอย่างนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย

ถึงความพอใจด้วย ถึงความขัดเคืองด้วย ถึงความหลงด้วย ถึงความ

กลัวด้วย ย่อมขับภิกษุบางรูป ย่อมไม่ขับภิกษุบางรูป เพราะอาบัติเช่น

เดียวกัน.

[๖๒๕] บทว่า ภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้ทำกรรมรูปนั้น.

บทว่า อันภิกษุทั้งหลาย ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่น อธิบายว่า ภิกษุ

เหล่าใดได้เห็น ภิกษุเหล่าใดได้ยิน ภิกษุเหล่านั้น พึงว่ากล่าวภิกษุผู้ทำ

กรรมรูปนั้นว่า ท่านอย่าได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุทั้งหลายหาได้ถึงความ

พอใจไม่ หาได้ถึงความขัดเคืองไม่ หาได้ถึงความหลงไม่ และหาได้ถึง

ความกลัวไม่ ท่านแลเป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความพระพฤติเลวทราม

ความประพฤติเลวทรามของท่านแล เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย

และสกุลทั้งหลาย อันท่านประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็นอยู่ด้วย เขาได้ยิน

อยู่ด้วย ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้ ท่านอย่าอยู่ในที่นี้ พึงว่ากล่าว

แม้ครั้งที่สอง พึงว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย สละได้อย่างนี้

นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุทั้งหลายได้ยิน

แล้วไม่ว่ากล่าว ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงคุมตัวมา

แม้สู่ท่ามกลางสงฆ์แล้ว พึงว่ากล่าวว่า ท่านอย่าได้กล่าวอย่างนั้น ภิกษุ

ทั้งหลาย หาได้ถึงความพอใจไม่ หาได้ถึงความขัดเคืองไม่ หาได้ถึง

ความหลงไม่ หาได้ถึงความกลัวไม่ ท่านแลเป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความ

ประพฤติเลวทราม ความประพฤติเลวทรามของท่านแล เขาได้เห็นอยู่ด้วย

เขาได้ยินอยู่ด้วย และสกุลทั้งหลาย อันท่านประทุษร้ายแล้ว เขาได้เห็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 626

อยู่ด้วย เขาได้ยินอยู่ด้วย ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้ ท่านอย่าอยู่ในที่นี้

พึงว่ากล่าวแม้ครั้งที่สอง พึงว่ากล่าวแม้ครั้งที่สาม หากเธอสละเสีย

สละได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละเสีย ต้องอาบัติทุกกฏ.

วิธีสวดสมนุภาส

[๖๒๖] ภิกษุนั้นอันสงฆ์พึงสวดสมนุภาส ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

ก็แลสงฆ์พึงสวดสมนุภาสอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศ

ให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสวดสมนุภาส

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ ถูกสงฆ์ทำ

ปัพพาชนียกรรมแล้ว ใส่ความภิกษุทั้งหลายว่า ลำเอียงด้วยความพอใจ

ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง ลำเอียงด้วยความกลัว

เธอยังไม่สละเรื่องนั้น ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสวด

สมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย นี่เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ ถูกสงฆ์ทำ

ปัพพาชนียกรรมแล้ว ใส่ความภิกษุทั้งหลายว่า ลำเอียงด้วยความพอใจ

ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง ลำเอียงด้วยความกลัว

เธอยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่อง

นั้นเสีย การสวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย ชอบ

แก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ ถูกสงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแล้ว ใส่ความภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 627

ลำเอียงด้วยความพอใจ ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง

ลำเอียงด้วยความกลัว เธอยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุผู้มี

ชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้น การสวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้สละ

เรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด

ท่านผู้นั้นพึงพูด

ข้าพเจ้ากล่าวความนี้แม้ครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้ ถูกสงฆ์ทำปัพพาชนียกรรมแล้ว ใส่ความภิกษุทั้งหลายว่า

ลำเอียงด้วยความพอใจ ลำเอียงด้วยความขัดเคือง ลำเอียงด้วยความหลง

ลำเอียงด้วยความกลัว เธอยังไม่สละเรื่องนั้น สงฆ์สวดสมนุภาสภิกษุผู้มี

ชื่อนี้ เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย การสวดสมนุภาสภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อให้

สละเรื่องนั้นเสีย ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่าน

ผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุผู้มีชื่อนี้ อันสงฆ์สวดสมนุภาสแล้ว เพื่อให้สละเรื่องนั้นเสีย

ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

[ ๖๒๗] จบญัตติ ต้องอาบัติทุกกฏ

จบกรรมวาจาสองครั้ง ต้องอาบัติถุลลัจจัย

จบกรรมวาจาครั้งสุด ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

เมื่อต้องอาบัติสังฆาทิเสส อาบัติทุกกฏเพราะญัตติ อาบัติถุลลัจจัยเพราะ

กรรมวาจาสองครั้ง ย่อมระงับ.

บทว่า สังฆาทิเสส ความว่า สงฆ์เท่านั้นให้ปริวาสเพื่ออาบัตินั้น

ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัต เรียกเข้าหมู่ ไม่ใช่คณะมากรูปด้วยกัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 628

ไม่ใช่บุคคลรูปเดียว เพราะฉะนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส คำว่า

สังฆาทิเสส เป็นการขนานนาม คือเป็นชื่อของอาบัตินิกายนั้นแล แม้

เพราะเหตุนั้น จึงตรัสเรียกว่า สังฆาทิเสส.

บทภาชนีย์

[๖๒๘] กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ไม่สละ

ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสงสัย ไม่สละ ต้องอาบัติสังฆาทิเสส

กรรมเป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ไม่สละ ต้อง

อาบัติสังฆาทิเสส

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมเป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

กรรมไม่เป็นธรรม ภิกษุสำคัญว่า กรรมไม่เป็นธรรม ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๖๒๙] ภิกษุผู้ยังไม่ถูกสวดสมนุภาส ๑ ภิกษุผู้สละเสียได้ ๑ ภิกษุ

วิกลจริต ๑ ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน ๑ ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา ๑

ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๓ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 629

บทสรุป

[๖๓๐] ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม คือสังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท

ข้าพเจ้ายกขึ้นแสดงแล้ว เก้าสิกขาบทให้ต้องอาบัติเมื่อแรกทำ สี่สิกขาบท

ให้ต้องอาบัติเมื่อสวดสมนุภาสครบสามจบ ภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสส

สิกขาบทใดสิกขาบทหนึ่งแล้ว รู้อยู่ แต่ปกปิดไว้สิ้นวันเท่าใด ภิกษุนั้น

ต้องอยู่ปริวาสด้วยความไม่ปรารถนา สิ้นวันเท่านั้น ภิกษุอยู่ปริวาสแล้ว

ต้องประพฤติวัตรเพื่อมานัตสำหรับภิกษุเพิ่มขึ้นอีก ๖ ราตรี ภิกษุประพฤติ

มานัตแล้ว ภิกษุสงฆ์ ๒๐ รูปอยู่ในสีมาใด พึงเรียกภิกษุนั้นเข้าหมู่ใน

สีมานั้น ถ้าภิกษุสงฆ์ ๒๐ รูป หย่อนแม้รูปหนึ่ง พึงเรียกภิกษุนั้นเข้าหมู่

ภิกษุนั้นก็ไม่เป็นอันสงฆ์เรียกเข้าหมู่แล้ว และภิกษุเหล่านั้นควรถูกตำหนิ

นี้เป็นสามีจิในกรรมนั้น

ข้าพเจ้าขอถามท่านทั้งหลายในอาบัติสังฆาทิเสสเหล่านั้นว่า ท่าน

ทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ข้าพเจ้าขอถาม แม้ครั้งที่สองว่า

ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ข้าพเจ้าขอถาม แม้ครั้งที่สามว่า

ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์ แล้วใน

อาบัติสังฆาทิเสสเหล่านี้ เหตุนั้น จึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วย

อย่างนี้.

เตรสกัณฑ์ จบ

หัวข้อประจำเรื่อง

สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท คือ ปล่อยสุกกะ ๑ เคล้าคลึงกาย ๑ วาจา

ชั่วหยาบ ๑ บำเรอกามของตน ๑ ชักสื่อ ๑ ทำกุฎี ๑ ทำวิหาร ๑ โจท

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 630

ด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมูล ๑ โจทอ้างเลศบางอย่าง ๑ ทำลายสงฆ์ ๑

ประพฤติตามภิกษุผู้ทำลายสงฆ์นั่นแหละ ๑ ว่ายาก ๑ ประทุษร้ายสกุล ๑

ดังนี้แล.

สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๓

กุลทูสกสิกขาบทวรรณนา

กุลทูสกสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น ข้าพเจ้า

จะกล่าวต่อไป:- ในกุลทูสกสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถเรื่องพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะ]

คำว่า อสฺสชิปุนพฺพสุกา นาม ได้แก่ ภิกษุชื่ออัสสชิและ

ปุนัพพสุกะ.

บทว่า กิฏาคิริสฺมึ ได้แก่ ในชนบทที่มีชื่ออย่างนั้น.

ในคำว่า อาวาสิกา โหนฺติ นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:-

อาวาสของภิกษุเหล่านี้ มีอยู่; เหตุนั้น ภิกษุเหล่านี้ จึงชื่อว่า

อาวาสิกะ (เจ้าอาวาส). วิหารท่านเรียกว่า อาวาส. วิหารนั้นเกี่ยวเนื่อง

แก่ภิกษุเหล่าใด โดยความเป็นผู้ดำเนินหน้าที่มีการก่อสร้างสิ่งใหม่ ๆ

และการซ่อมแซมของเก่าเป็นต้น, ภิกษุเหล่านั้นชื่อว่า อาวาสิกะ

(เจ้าอาวาส). แต่ภิกษุเหล่าใด เพียงแต่อยู่ในวิหารอย่างเดียว, ภิกษุ

เหล่านั้น ท่านเรียกว่า เนวาสิกะ (เจ้าถิ่น). ภิกษุอสัสชิและปุนัพพสุกะนี้

ได้เป็นเจ้าอาวาส.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 631

สองบทว่า อลชฺชิโน ปาปภิกฺขู ได้แก่ เป็นพวกภิกษุลามก ไม่มี

ความละอาย เพราะว่า ภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะเหล่านั้น เป็นภิกษุ

ฉัพพัคคีย์ชั้นหัวหน้า แห่งภิกษุฉัพพัคคีย์ทั้งหลาย.

[ประวัติพวกภิกษุฉัพพัคคีย์]

ได้ยินว่า ชน ๖ คน ในกรุงสาวัตถีเป็นสหายกัน ปรึกษากันว่า

การกสิกรรมเป็นต้นเป็นการงานที่ลำบาก, เอาเถิด สหายทั้งหลาย !

พวกเราจะพากันบวช, และพวกเราเมื่อจะบวช ควรบวชในฐานผู้ช่วย

สลัดออกเสียในเมื่อมีกิจการเกิดขึ้น ดังนี้แล้ว ได้บวชในสำนักแห่ง

พระอัครสาวกทั้งสอง. พวกเธอมีพรรษาครบ ๕ พรรษา ท่องมาติกาได้

คล่องแล้ว ปรึกษากันว่า ธรรมดาว่าชนบท บางคราว ก็มีภิกษาสมบูรณ์

บางคราว มีภิกษาฝืดเคือง, พวกเราอย่าอยู่รวมในที่แห่งเดียวกันเลย

จงแยกกันอยู่ในที่ ๓ แห่ง.

ลำดับนั้น พวกเธอจึงกล่าวกะภิกษุชื่อบัณฑุกะและโลหิตกะว่า ท่าน

ผู้มีอายุทั้งหลาย ! ขึ้นชื่อว่ากรุงสาวัตถี มีตระกูลห้าล้านเจ็ดแสนตระกูล

อยู่ครอบครอง เป็นปากทางแห่งความเจริญของแคว้นกาสีและโกศล

ทั้งสอง กว้างประมาณ ๓๐๐ โยชน์ ประดับด้วยหมู่บ้าน ๘ หมื่นตำบล,

พวกท่านจงให้สร้างสำนัก ในสถานที่ใกล้ ๆ กรุงสาวัตถีนั้นนั่นแล แล้ว

ปลูกมะม่วง ขนุน และมะพร้าวเป็นต้น สงเคราะห์ตระกูลด้วยดอก

และผลไม้เหล่านั้น ให้พวกเด็กหนุ่มของตระกูลบวชแล้วขยายบริษัทให้

เจริญเถิด.

๑. ๖ คน คือ ปัณฑกะ ๑ โลหิตกะ ๑ เมตติยะ ๑ ภุมมชกะ ๑ อัสสชิ ๑ ปุนัพพสุกะ ๑

บวชแล้ว เรียกว่า ภิกษุฉัพพัคคีย์ แปลว่า มีพวก ๖.

๒. นิตฺถเรณกฏฺาเนติ อุปฺปนฺนกิจฺจสฺส นิปฺผาทนฏฺาเนติ โยชนาปาโ ฯ ๑/๔๕๓.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 632

กล่าวกะพวกภิกษุชื่อว่าเมตติยะและภุมมชกะว่า ท่านผู้มีอายุ ! ชื่อว่า

กรุงราชคฤห์มีพวกมนุษย์ ๑๘ โกฎิ อยู่ครอบครอง เป็นปากทางแห่ง

ความเจริญของแคว้นอังคะและมคธทั้งสอง กว้าง ๓ โยชน์ ประดับด้วย

หมู่บ้าน ๘ หมื่นตำบล, พวกท่านจงให้สร้างสำนักในที่ใกล้ ๆ กรุงราชคฤห์

นั้นแล้ว ปลูกมะม่วง ขนุน และมะพร้าวเป็นต้น สงเคราะห์ตระกูล

ด้วยดอกและผลไม้เหล่านั้น ให้พวกเด็กหนุ่มของตระกูลบวชแล้ว ขยาย

บริษัทให้เจริญเถิด.

กล่าวกะพวกภิกษุชื่อว่าอัสสชิและปุนัพพสุกะว่า ท่านผู้มีอายุ !

ขึ้นชื่อว่ากิฏาคีรีชนบท อันเมฆ (ฝน) ๒ ฤดูอำนวยแล้ว ย่อมได้ข้าวกล้า

๓ คราว, พวกท่านจงให้สร้างสำนัก ในที่ใกล้ ๆ กิฎาคีรีชนบทนั้น

นั่นแล ปลูกมะม่วง ขนุน และมะพร้าวเป็นต้นไว้ สงเคราะห์ตระกูล

ด้วยดอกและผลไม้เหล่านั้น ให้พวกเด็กหนุ่มของตระกูลบวชแล้วขยาย

บริษัทให้เจริญเถิด.

พวกภิกษุฉัพพัคคีย์เหล่านั้น ได้กระทำอย่างนั้น บรรดาพวกภิกษุ

ฉัพพัคคีย์เหล่านั้น แต่ละฝ่าย มีภิกษุเป็นบริวาร ฝ่ายละ ๕๐๐ รูป รวม

เป็นจำนวนภิกษุ ๑,๕๐๐ รูปกว่า ด้วยประการอย่างนี้.

บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุชื่อปัณฑุกะและโลหิตกะ พร้อม

ทั้งบริวารเป็นผู้มีศีลแล เที่ยวไปยังชนบทเป็นที่จาริกร่วมเสด็จกับพระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า. พวกเธอไม่ก่อให้เกิดเรื่องใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใครทำ,

แต่ชอบย่ำยีสิกขาบทที่ทรงบัญญัติแล้ว. ส่วนพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นอกนี้

ทั้งหมดเป็นอลัชชี ย่อมก่อให้เกิดเรื่องใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใครทำด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 633

ย่อมพากันย่ำยีสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้วด้วย. เพราะเหตุนั้น พระธรรม-

สังคาหกะทั้งหลายจึงกล่าวว่า อลชฺชิโน ปาปภิกิขู ดังนี้.

บทว่า เอวรูป ได้แก่ มีกำเนิดอย่างนี้.

สองบทว่า อนาจาร อาจรนฺติ ความว่า ย่อมประพฤติล่วงมารยาท

ที่ไม่ควรประพฤติ คือกระทำสิ่งที่ไม่ควรกระทำ.

บทว่า มาลาวจฺฉ ได้แก่ ต้นไม้มีดอกตูม (กอไม้ดอก).

จริงอยู่ ต้นไม้ดอกก็ดี กอไม้ดอกก็ดี ที่ดอกยังตูม ท่านเรียกว่า

กอไม้ดอกทั้งนั้น. ก็ภิกษุเหล่านั้น ปลูกเองบ้าง ให้คนอื่นปลูกบ้าง

ซึ่งกอไม้ดอกมีชนิดต่าง ๆ กันมากมาย. ด้วยเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกะ

ทั้งหลายจงกล่าวว่า มาลาวจฺฉ โรเปนฺติปิ โรปาเปนฺติปิ ดังนี้.

บทว่า สิญฺจนฺติ ได้แก่ ย่อมรดน้ำเองบ้าง.

บทว่า สิญฺจาเปนฺติ ได้แก่ ย่อมใช้ให้คนอื่นรดบ้าง.

[อธิบายลักษณะ ๕ มีอกัปปิยโวหารเป็นต้น]

ก็ในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึงทราบลักษณะ ๕ อย่าง เหล่านี้ คือ

อกัปปิยโวหาร ๑ กัปปิยโวหาร ๑ ปริยาย ๑ โอภาส ๑ นิมิตกรรม ๑

บรรดาลักษณะ ๕ เหล่านั้น ที่มีชื่อว่า อกัปปิยโวหาร ได้แก่ การตัดเอง

การใช้ให้ตัดจำพวกของสดเขียว, การขุดเอง การใช้ให้ขุดหลุม, การ

ปลูกเอง การใช้ให้ปลูกกอไม้ดอก, การก่อเอง การใช้ให้ก่อคันกั้น,

การรดน้ำเอง การใช้ให้รดน้ำ, การทารางน้ำให้ตรงไป การรดน้ำที่เป็น

กัปปิยะ การรดด้วยน้ำล้างมือล้างหน้าล้างเท้าและน้ำอาบ.

ที่ชื่อว่า กัปปิยโวหาร ได้แก่ คำว่า จงรู้ต้นไม้นี้, จงรู้หลุมนี้,

จงรู้กอไม้ดอกนี้, จงรู้น้ำในที่นี้ และการทำรางน้ำที่แห้งให้ตรง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 634

ที่ชื่อว่า ปริยาย ได้แก่ คำมีอาทิว่า บัณฑิตควรให้ปลูกต้นไม้

ทั้งหลาย มีต้นไม้ดอกเป็นต้น จะเป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อกาลไม่นานนัก.

ที่ชื่อว่า โอภาส ได้แก่ การยืนถือจอบและเสียมเป็นต้น และ

กอไม้ดอกทั้งหลายอยู่. จริงอยู่ พวกสามเณรเป็นต้น เห็นพระเถระยืนอยู่

อย่างนั้น รู้ว่า พระเถระประสงค์จะใช้ให้ทำ แล้วจะมาทำให้.

ที่ชื่อว่า นิมิตกรรม ได้แก่ การนำจอบ เสียม มีด ขวาน

และภาชนะน้ำมาวางไว้ในที่ไกล้ ๆ.

ลักษณะทั้ง ๕ ประการนี้ ย่อมไม่ควรในการปลุก เพื่อประโยชน์

แก่การสงเคราะห์ตระกูล. เพื่อประโยชน์แก่การบริโภคผล กิจ ๒ อย่าง คือ

อกัปปิยโวหารและกัปปิยโวหาร เท่านั้น ไม่ควร. กิจ ๓ อย่างนอกนี้

ควรอยู่. แต่ในมหาปัจจรีท่านกล่าวว่า แม้กัปปิยโวหาร ก็ควร. และการ

ปลูกใด ย่อมควรเพื่อประโยชน์แก่การบริโภคของตน, การปลูกนั้น

ก็ควรเพื่อประโยชน์แก่บุคคลอื่น แก่สงฆ์ หรือแก่เจดีย์ด้วย. แต่การใช้

ให้ปลูก เพื่อต้องการอาราม เพื่อต้องการป่า และเพื่อต้องการร่มเงา

เพียงเป็นอกัปปิยโวหารอย่างเดียว ไม่สมควร. ที่เหลือ ควรอยู่. และ

มิใช่จะควรแต่กิจที่เหลืออย่างเดียว ก็หามิได้, แม้การทำเหมืองให้ตรงก็ดี

การรดน้ำที่เป็นกัปปิยะก็ดี การทำห้องอาบน้ำแล้วอาบเองก็ดี และการ

เทน้ำล้างมือ ล้างเท้าและล้างหน้าลงในที่ปลูกต้นไม้นั้นก็ดี อย่างใด

อย่างหนึ่ง สมควรอยู่. แต่ในมหาปัจจรี และในกุรุนที ท่านกล่าวว่า

แม้จะปลูกเอง ในกัปปิยปฐพี ก็ควร. ถึงแม้จะบริโภคผลไม้ที่ปลูกเอง

หรือใช้ปลูกเพื่อประโยชน์แก่อารามเป็นต้น ก็ควร. ในการเก็บเอง และ

ในเพราะการใช้ให้เก็บผลไม้ แม้ตามปกติก็เป็นปาจิตตีย์. แต่ (ในการเก็บ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 635

และในการใช้ให้เก็บ) เพื่อต้องการประทุษร้ายตระกูล เป็นปาจิตตีย์ด้วย

เป็นทุกกฏด้วย. ในเพราะการร้อยดอกไม้ มีการร้อยตรึงเป็นต้น มี

พวงดอกไม้สำหรับประดับอกเป็นที่สุด เป็นทุกกฏอย่างเดียว แก่ภิกษุ

ผู้ทำเพื่อต้องการประทุษร้ายตระกูล หรือเพื่อประการอื่น.

ถามว่า เพราะเหตุไร.

ตอบว่า เพราะเป็นอนาจาร และเพราะเป็นปาปสมาจารดังตรัสไว้

ในคำว่า ปาปสมาจาโร นี้.

หากโจทก์ท้วงว่า เหตุไร ในการปลูกต้นไม้เพื่อประโยชน์แก่การ

บูชาพระรัตนตรัย จึงไม่เป็นอนาบัติ เหมือนในการปลูกต้นไม้เพื่อ

ประโยชน์แก่อารามเป็นต้นเล่า ?

เฉลย เป็นอนาบัติเหมือนกัน. เหมือนอย่างว่า ในการปลูกต้นไม้

เพื่อประโยชน์แก่อารามเป็นต้นนั้น เป็นอนาบัติ เพราะกัปปิยโวหาร และ

อาการมีปริยายเป็นต้น ฉันใด, แม้ในการปลูกต้นไม้เพื่อประโยชน์แก่

การบูชาพระรัตนตรัย ก็คงเป็นอนาบัติ ฉันนั้น.

โจทก์ท้วงว่า ก็ในการปลูกต้นไม้นั้น แม้ปลูกเองในกัปปิยปฐพี

ย่อมควรมิใช่หรือ ?

เฉลยว่า คำนั้นท่านกล่าวแล้วในมหาปัจจรีและกุรุนที, แต่ในมหา

อรรถกถามิได้กล่าวไว้. ถ้าแม้นท่านจะพึงฉงนไปว่า ถึงคำที่กล่าวแล้ว

ในอรรถกถานอกนี้จะเป็นประมาณได้ก็จริง, แต่การรดน้ำที่เป็นกัปปิยะ

ท่านได้กล่าวไว้ในมหาอรรถกถา, การรดน้ำที่เป็นกัปปิยะนั้นเป็นอย่างไร ?

แม้การรดน้ำที่เป็นกัปปิยะนั้น ก็ไม่ผิด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 636

อันที่จริงในการปลูกและการรดนั้น เมื่อท่านกล่าวอยู่ว่า ซึ่ง

ดอกไม้ดอก ดังนี้ ในเมื่อท่านควรจะกล่าวโดยไม่แปลกกันว่า ปลูก

เองบ้าง ให้ผู้อื่นปลูกบ้าง รดเองบ้าง ให้ผู้อื่นรดบ้าง ซึ่งต้นไม้ ดังนี้

ชื่อว่า ย่อมให้ทราบ อธิบายว่า คำว่า กอไม้ดอก นี้กล่าวหมายเอาต้นไม้

ที่มีดอกและผล เพื่อประโยชน์แก่การสงเคราะห์ตระกูลเท่านั้น, แต่ยังมี

ปริยายในการปลูก เพื่อประโยชน์แก่อารามเป็นต้นอย่างอื่น; เพราะ-

เหตุนั้น คำใดที่พระอรรถกถาจารย์ทั้งหลายทราบความมีปริยายในการ

ปลูกเพื่อประโยชน์แก่อารามเป็นต้นนั้น และความไม่มีปริยายในการปลูก

เพื่อประโยชน์แก่การสงเคราะห์ตระกูลนี้แล้ว กล่าวไว้ในอรรถกถาทั้ง-

หลาย, คำนั้นเป็นอันท่านกล่าวชอบแท้. จริงอยู่ คำนี้ข้าพเจ้าก็ได้กล่าว

แล้วว่า

พระอรรถกถาจารย์ทั้งหลายในปางก่อนได้รจนาอรรถกถา

ทั้งหลาย ไม่ได้ละมติของพระสาวกทั้งหลายผู้รู้ธรรมและวินัย

เหมือนที่พระพุทธเจ้าตรัสแล้วทีเดียว เพราะเหตุนั้นแล

คำใดที่กล่าวแล้วในอรรถกถาทั้งหลาย, คำนั้นทั้งหมด เว้น

คำที่เขียนด้วยคำพลั้งเผลอเสียแล้ว ย่อมเป็นประมาณของ

บัณฑิตทั้งหลายผู้มีความเคารพในสิกขาในพระศาสนา เพราะ

เหตุใด.

การปลูกเป็นต้นและการร้อยเป็นต้นทุก ๆ อย่าง พึงทราบตามนัย

ที่กล่าวแล้ว. ในวิสัยมีการร้อยเป็นต้นนั้น พึงมีคำถามว่า ถ้าเป็นอาบัติ

ในเพราะการร้อยเป็นต้น เพื่อประโยชน์แก่การบูชาพระรัตนตรัยแล้ว

เหตุไร ในเพราะการนำไปเป็นต้น จึงเป็นอนาบัติเล่า ?

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 637

มีคำแก้ว่า เพราะนำไปเพื่อประโยชน์แก่กุลสตรีเป็นต้น จึงเป็น

อาบัติ. จริงอยู่ ในหรณาธิการ พระธรรมสังคาหกาจารย์ทั้งหลายได้

กล่าวไว้ให้พิเศษแล้วว่า เต กุลิตฺถีน เป็นต้น. เพราะเหตุนั้น จึงไม่เป็น

อาบัติแก่ภิกษุผู้นำไปเพื่อประโยชน์แก่พระพุทธเจ้าเป็นต้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอกโต วณฺฏิก ได้แก่ ระเบียบดอกไม้

ที่จัดทำร่วมขั้วดอกไม้เข้าด้วยกัน (มาลัยต่อก้าน).

บทว่า อุภโต วณฺฏิก ได้แก่ ระเบียบดอกไม้ที่ทำแยกขั้วดอกไม้ไว้

สองข้าง (มาลัยเรียงก้าน).

ส่วนในบทว่า มญฺชริก เป็นต้น มีวินิจฉัยว่า บุปผวิกัติที่ทำคล้าย

กำไล เรียกว่า มัญชริกา (ดอกไม้ช่อ).

ระเบียบดอกไม้ที่ใช้เข็ม หรือซี่ไม้เสียบดอกย่างทรายเป็นต้นทำ

ชื่อว่า วิธูติกา (ดอกไม้พุ่ม).

บทว่า วฏสโก ได้แก่ เทริด (ดอกไม้กรองบนศีรษะ). ระเบียบ

ดอกไม้สำหรับประดับหู ชื่อ อาเวฬา (ดอกไม้พวง).

พวงดอกไม้ที่ตั้งอยู่ตรงอก คล้ายแก้วมุกดาหาร ชื่อ ทับทรวง

(ดอกไม้แผงสำหรับประดับ). พรรณนาเฉพาะบทในพระบาลีนี้เท่านี้ก่อน.

[ว่าด้วยการวินิจฉัยอาบัติในการปลูกเองเป็นต้น]

ก็แล พึงทราบวินิจฉัยอาบัติโดยพิสดารตั้งแต่ต้น ดังต่อไปนี้:-

เป็นอาบัติปาจิตตีย์ กับทุกกฏ แก่ภิกษุผู้ปลูกกอไม้ดอกเอง ในอกัปปิย-

ปฐพี เพื่อประโยชน์แก่การประทุษร้ายสกุล ภิกษุใช้ให้ปลูกด้วยอกัปปิย-

โวหารก็เหมือนกัน, ในการปลูกเองก็ดี ใช้ให้ปลูกก็ดี ในกัปปิยปฐพี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 638

เป็นทุกกฏอย่างเดียว. ในปฐพีแม้ทั้งสอง ในเพราะใช้ให้ปลูกกอไม้ดอก

แม้มาก ด้วยการสั่งครั้งเดียว เป็นปาจิตตีย์กับทุกกฏ หรือเป็นทุกกฏล้วน

แก่ภิกษุนั้น ครั้งเดียวเท่านั้น, ไม่เป็นอาบัติในเพราะใช้ให้ปลูกด้วย

กัปปิยโวหาร ในฟื้นที่ที่เป็นกัปปิยะ หรือฟื้นที่ที่เป็นอกัปปิยะ เพื่อ

ประโยชน์แก่การบริโภค. แม้เพื่อประโยชน์แก่อารามเป็นต้น ในอกัป-

ปิยปฐพี ก็คงเป็นปาจิตตีย์แก่ภิกษุผู้ปลูกเอง หรือใช้ให้ปลูกด้วยถ้อยคำ-

ที่เป็นอกัปปิยะ. แต่นัยนี้ ท่านมิได้จำแนกไว้ให้ละเอียดในมหาอรรถกถา,

จำแนกไว้เเต่ในมหาปัจจรี ฉะนี้แล.

ก็ในการรดเอง และการใช้ให้รด มีวินิจฉัยอาบัติดังนี้:- เป็น

ปาจิตตีย์ ทุก ๆ แห่ง ด้วยน้ำที่เป็นอกัปปิยะ เพื่อประโยชน์แก่การ

ประทุษร้ายตระกูลและบริโภค เป็นทุกกฏก็มี. แต่เพื่อประโยชน์แก่การ

ทั้งสองนั้นเท่านั้น เป็นทุกกฏ ด้วยน้ำที่เป็นกัปปิยะ, ก็ในการประทุษ-

รายตระกูลและการบริโภคนี้ เพื่อต้องการบริโภคไม่เป็นอาบัติในการใช้--

ให้รดน้ำด้วยกัปปิยโวหาร แต่ในฐานะแห่งอาบัติ ผู้ศึกษาพึงทราบความ

เป็นอาบัติมาก เพราะมีประโยคมาก ด้วยอำนาจสายน้ำขาด. ในการเก็บ

เอง เพื่อประโยชน์แก่การประทุษร้ายตระกูล เป็นทุกกฏกับปาจิตตีย์ตาม

จำนวนดอกไม้. ในการบูชาพระรัตนตรัยเป็นต้นอย่างอื่น เป็นปาจิตตีย์

อย่างเดียว. แต่ภิกษุผู้เก็บดอกไม้เป็นจำนวนมากด้วยประโยคอันเดียว

พระวินัยธรพึงปรับด้วยอำนาจแห่งประโยค. ในการใช้ให้เก็บ เพื่อ

ประโยชน์แก่การประทุษร้ายตระกูล คนที่ภิกษุใช้ครั้งเดียว เก็บแม้มาก

ครั้ง ก็เป็นปาจิตตีย์กับทุกกฏแก่ภิกษุนั้นครั้งเดียวเท่านั้น ในการเก็บ

เพื่อบูชาพระรัตนตรัยเป็นต้น อย่างอื่นเป็นปาจิตตีย์อย่างเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 639

[อรรถาธิบายบุปผวิกัติ ๖ ชนิด]

ในการร้อยดอกไม้ทั้งหลายมีการร้อยตรึงเป็นต้น ผู้ศึกษาพึงทราบ

บุปผวิกัติทั้งหมด ๖ ชนิด คือ คณฺิม ร้อยตรึง ๑ โคปฺปิม ร้อยควบ

หรือร้อยคุม ๑ เวธิม ร้อยแทงหรือร้อยเสียบ ๑ เวิม ร้อยพันหรือ

ร้อยผูก ๑ ปูริม ร้อยวง ๑ วายิม ร้อยกรอง ๑. บรรดาบุปผวิกิติ ๖

ชนิดนั้น ที่ชื่อว่า คัณฐิมะ พึงเห็นในดอกอุบลและดอกปทุมเป็นต้นที่มี

ก้าน หรือในดอกไม้ทั้งหลายอื่นที่มีขั้วยาว. จริงอยู่ ดอกไม้ที่ร้อยตรึง

ก้านกับก้าน หรือขั้วกับขั้วนั่นเอง ชื่อ คัณฐิมะ. แม้คัณฐิมะนั้น ภิกษุ

หรือภิกษุณีจะทำเองก็ดี ใช้ให้ทำด้วยถ้อยคำเป็นอกัปปิยะก็ดี ย่อมไม่ควร.

แต่จะใช้ให้ทำด้วยกัปปิยวาจาเป็นต้นว่า จงรู้อย่างนี้, ทำได้อย่างนี้แล้วจะ

พึงงาม, จงทำดอกไม้ทั้งหลายเหล่านี้ ไม่ให้กระจัดกระจาย ดังนี้ ควรอยู่.

การเอาด้าย หรือปอเป็นต้น ร้อยคุมดอกไม้มีดอกมะลิเป็นต้น

ด้วยอำนาจระเบียบดอกไม้มีขั้วข้างเดียวและมีขั้วสองข้าง (ด้วยอำนาจมาลัย

ต่อก้านและมาลัยเรียงก้าน) ชื่อว่า โคปปิมะ. คนทั้งหลายทบปอ หรือ

เชือกเป็นสองเส้น และร้อยดอกไม้ไม่มีขั้วเป็นต้นในปอ หรือเชือกนั้น

แล้วขึงไว้ตามลำดับ, เเม้ดอกไม้นี้ ก็ชื่อว่า โคปปิมะ เหมือนกัน.

โคปปิมะทั้งหมด ไม่ควรโดยนัยก่อนเหมือนกัน.

ที่ชื่อว่า เวธิมะ คือ ดอกไม้ที่คนทั้งหลายเสียบดอกไม้ที่มีขั้ว มี

ดอกมะลิเป็นต้นที่ขั้ว หรือเสียบดอกไม้ที่ไม่มีขั้ว มีดอกพิกุลเป็นต้น

ภายในช่องดอก ด้วยเสี้ยนตาลเป็นต้น แล้วร้อยไว้นี้ ชื่อว่า เวธิมะ.

แม้ดอกไม้นั้น ก็ไม่สมควร โดยนัยก่อนเหมือนกัน.

ก็คนบางคนเอาหนาม หรือเสี้ยนตาลเป็นต้นปักที่ต้นกล้วยแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 640

เสียบดอกไม้ไว้ที่หนามเป็นต้นนั้น. บางพวกเสียบดอกไม้ไว้ที่กิ่งไม้มี

หนาม. บางพวกเสียบดอกไม้ไว้ที่หนาม ซึ่งปักไว้ที่ฉัตรและฝา เพื่อ

กระทำฉัตรดอกไม้และเรือนยอดดอกไม้. บางพวกเสียบดอกไม้ไว้ที่หนาม

ซึ่งผูกไว้ที่เพดานธรรมาสน์ บางพวกเสียบดอกไม้มีดอกกรรณิการ์

เป็นต้น ด้วยซี่ไม้ และกระทำให้เหมือนฉัตรซ้อนฉัตร. ดอกไม้ที่ทำ

อย่างนั้นโอฬารยิ่งนักแล.

ก็การที่จะผูกหนามไว้ที่เพดานธรรมาสน์ เพื่อเสียบดอกไม้ก็ดี จะ

เสียบดอกไม้ดอกเดียวด้วยหนามเป็นต้นก็ดี จะเอาดอกไม้เสียบเข้าใน

ดอกไม้ด้วยกันก็ดี ไม่ควร. ก็การจะแซมดอกไม้ทั้งหลายไว้ในช่องแห่ง

เพดานตาข่าย ชุกชี ฟันนาค (กระจัง) ที่วางดอกไม้เเละช่อใบตาล

เป็นต้น หรือว่า ในระหว่างช่อดอกอโศก ไม่มีโทษ. เพราะดอกไม้

อย่างนั้นไม่จัดเป็นเวธิมะ. แม้ในเชือกธรรมดา(เชือกสำหรับเสียบดอกไม้)

ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

ดอกไม้ที่มีชื่อว่า เวฐิมะ พึงเห็นในพวงดอกไม้เเละกำดอกไม้.

อธิบายว่า คนบางพวก เมื่อจะทำพวงดอกไม้แขวนยอด (ธรรมาสน์

เป็นต้น) จึงร้อยดอกไม้ทั้งหลาย* เพื่อแสดงอาการเป็นพุ่มอยู่ภายใต้

บางพวกมัดดอกอุบลเป็นต้นที่ก้านอย่างละ ๘ ดอกบ้าง อย่างละ ๑๐ ดอก

บ้างด้วยด้าย หรือด้วยปอ กระทำให้เป็นกำดอกอุบล หรือเป็นกำดอกบัว

หลวง. การทำดอกไม้อย่างนั้น ไม่ควรทั้งสิ้น โดยนัยก่อนเหมือนกัน

แม้การที่จะเอาผ้ากาสาวะพันดอกอุบลเป็นต้น ที่พวกสามเณรถอนขึ้นวาง

*สารตฺถทีปนี ๓/๑๑๖ มตฺถกทามนฺติ ธมฺมาสนาทมตฺถเก ลมฺพกทาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 641

ไว้บนบกให้เป็นห่อ ก็ไม่ควร. แต่จะเอาปอหรือก้านของดอกอุบลเป็นต้น

นั้นนั่นแหละ มัดเข้าด้วยกัน หรือกระทำให้เป็นห่อสะพาย ควรอยู่.

ที่ชื่อว่า ห่อสะพายนั้น คือพวกภิกษุรวบเอาชายทั้งสองข้างของ

ผ้ากาสาวะที่พาดไว้บนคอเข้ามาแล้ว ทำให้เป็นถุง (โป่งผ้า) ใส่ดอกไม้

ลงในถุงนั้น ดุจถุงกระสอบ นี้ ท่านเรียกว่า ห่อสะพาย. การกระทำ

ดอกไม้เช่นนั้น ควรอยู่. คนทั้งหลายเอาก้านแทงใบบัว แล้วเอาใบท่อ

ดอกอุบลเป็นต้น ถือไป. แม้ในวิสัยที่เอาใบอุบลเป็นต้น ห่อถือไปนั้น

จะผูกใบปทุมเบื้องบนดอกไม้ทั้งหลายเท่านั้น ควรอยู่. แต่ก้านปทุม ไม่

ควรผูกไว้ภายใต้ดอก (แต่การผูกก้านปทุมไว้ภายใต้ดอก ไม่ควร).

ที่ชื่อว่า ปูริมะ พึงเห็นในพวงมาลัย และดอกไม้แผ่น. อธิบายว่า

ผู้ใดเอาพวงมาลัยวงรอบเจดีย์ก็ดี ต้นโพธิ์ก็ดี ชุกชีก็ดี นำวกกลับมาให้

เลยที่เดิม (ฐานเดิม) ไป, แม้ด้วยการวงรอบเพียงเท่านั้น ดอกไม้ของ

ผู้นั้น ชื่อว่า ปูริมะ, ก็จะกล่าวอะไรสำหรับผู้ที่วงรอบมากครั้ง. เมื่อ

สอดเข้าไปทางระหว่างฟันนาค* (บันไดแก้ว). ปล่อยให้น้อยลงมา แล้ว

ตลบพันรอบฟันนาค (บันไดแก้ว) อีก แม้ดอกไม้นี้ ก็ชื่อว่า ปูริมะ.

แต่จะสอดวลัยดอกไม้เข้าไปในฟันนาค (บันไดแก้ว) สมควรอยู่.

คนทั้งหลาย ย่อมทำแผงดอกไม้ (ดอกไม้แผ่น) ด้วยพวงมาลัย.

แม้ในวิสัยดอกไม้เเผงนั้น จะขึงพวงมาลัยไปเพียงครั้งเดียว ควรอยู่.

เมื่อนำย้อนกลับมาอีก จัดเป็นการร้อยวงทีเดียว. ดอกไม้ชนิดนั้น ไม่

ควรทุกอย่าง โดยนัยก่อนเหมือนกัน. ก็การได้พวงดอกไม้ที่เขาทำด้วย

พวงมาลัยแม้เป็นอันมากแล้ว ผูกไว้เบื้องบนแห่งอาสนะเป็นต้น ควรอยู่.

* นาคทนฺตก แปลว่า ฟันนาค, บันไดแก้ว, และกระจังก็ได้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 642

ก็การเอาพวงมาลัยที่ยาวมากขึงไป หรือวงรอบไปครั้งหนึ่งแล้ว (เมื่อถึง

เงื่อนเดิม) อีก ให้เเก่ภิกษุอื่นเสีย สมควรอยู่. แม้ภิกษุนั้น ก็ควรทำ

อย่างนั้นเหมือนกัน.

ที่ชื่อว่า วายิมะ พึงเห็นในดอกไม้ตาข่าย ดอกไม้แผ่น และ

ดอกไม้รูปภาพ. เมื่อภิกษุกระทำตาข่ายดอกไม้ แม้บนพระเจดีย์เป็นทุกกฏ

ทุก ๆ ช่องตาข่ายแต่ละตา. ในฝาผนัง ฉัตร ต้นโพธิ์ และเสาเป็นต้น

ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ก็การที่ภิกษุจะร้อยกรองแผงดอกไม้เเม้ที่คนอื่น

ทำให้เต็มแล้ว ก็ไม่ได้. คนทั้งหลายย่อมกระทำรูปช้างและรูปม้าเป็นต้น

ด้วยดอกไม้ที่ร้อยคุมทั้งหลายนั่นแล. แม้รูปช้างและรูปม้าเป็นต้นเหล่านั้น

ก็ตั้งอยู่ในฐานแห่ง วายิมะ ดอกไม้นั้น ย่อมไม่ควรทั้งสิ้น โดยนัยก่อน

เหมือนกัน.

แต่เมื่อจะวางดอกไม้ (ตามปกติไม่ได้ร้อย) ในตอนที่คนเหล่าอื่น

ทำไว้แล้ว กระทำแม้ให้เป็นรูปช้างและรูปม้าเป็นต้น ควรอยู่. แต่ใน

มหาปัจจรี ท่านกล่าวบุปผวิกัติไว้ ๘ ชนิด รวมกับพวงพู่ห้อย และพวง

ดังพระจันทร์เสี้ยว. บรรดาพวงพู่ห้อยและพวงดังพระจันทร์เสี้ยวนั้น

พวงห้อยที่เป็นพู่ในระหว่างพวงพระจันทร์เสี้ยว ท่านเรียกชื่อว่า กลัมพกะ

(พวงพู่ห้อย). การวงรอบพวงมาลัยกลับไปกลับมา (อันเขาทำ) โดยอาการ

ดังพระจันทร์เสี้ยว ท่านเรียกชื่อว่าอัฑฒจันทกะ (พวงพระจันทร์เสี้ยว).

แม้ดอกไม้ทั้งสองชนิดนั้น ก็จัดเข้าในปูริมะ (ร้อยวง) เหมือนกัน. ส่วน

ในกุรุนที ท่านกล่าวว่า แม้การจัดพวงมาลัยสองสามพวงเข้าด้วยกัน

แล้วทำให้เป็นพวงดอกไม้ ก็ชื่อว่า วายิมะ เหมือนกัน. แม้การทำพวง

ดอกไม้นั้นในมหาอรรถกถานี้ ก็จัดเข้าในฐานแห่ง ปูริมะ เหมือนกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 643

และมิใช่แต่พวงดอกไม้อย่างเดียวเท่านั้น, พวงดอกไม้ทำด้วยแป้งก็ดี

พวงดอกไม้ทำคล้ายลูกคลีก็ดี พวงดอกไม้ที่ทำคล้ายฟันสุนัข (ที่ทำด้วย

ไม้ไผ่ก็ว่า) ซึ่งท่านกล่าวไว้ในกุรุนทีก็ดี พวกภิกษุก็ดี พวกภิกษุณีก็ดี

จะทำเอง ก็ไม่ควร จะใช้ให้ทำก็ไม่ควร เพราะสิกขาบทเป็นสาธารณ-

บัญญัติ. แต่จะกล่าวถ้อยคำที่เป็นกัปปิยะ มีการบูชาเป็นเครื่องหมาย

สมควรทุก ๆ แห่ง. ปริยาย โอภาส และนิมิตกรรม สมควรทั้งนั้นแล.

[ว่าด้วยความประพฤติอนาจารต่าง ๆ]

บทว่า ตุวฏฺเฏนฺติ แปลว่า ย่อมนอน.

บทว่า ลาเสนฺติ มีความว่า พวกภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะนั้น

ลุกขึ้นดุจลอยตัวอยู่เพราะปีติ แล้วให้นางระบำผู้ชำนาญเต้นรำ ร่ายระบำ

รำฟ้อน คือ ให้จังหวะ (ร่ายรำ).

สองบทว่า นจฺจนฺติยาปิ นจฺจนฺติ มีความว่า ในเวลาที่หญิงฟ้อน

ร่ายรำอยู่ แม้ภิกษุพวกอัสสชิและปุนัพพสุกะนั้น ก็ร่ายรำไปข้างหน้า

หรือข้างหลังแห่งหญิงฟ้อนนั้น.

สองบทว่า นจฺจนฺติยาปิ คายนฺติ มีความว่า ในขณะที่หญิงฟ้อน

นั้นฟ้อนอยู่ พวกภิกษุเหล่านั้น ย่อมขับร้องคลอไปตามการฟ้อนรำ. ใน

ทุก ๆ บท ก็มีนัยอย่างนี้.

๑.อตฺถโยชนา ๑/๕๐๑ ขรปตฺตทามนฺติ สุนขทนุตสทิส กตปุปฺผทาม,เวฬาทหิ กตปุปฺผทา-

มนฺติปิ เกจิ. แปลว่า พวงดอกไม้ที่ทำคล้ายฟันสุนัข ชื่อขรปัตตาทามะ,อาจารย์บางพวก

กล่าวว่า พวงดอกไม้ทำด้วยไม้ไผ่เป็นต้น ก็มี.

๒.สารัตถทีปนี ๓/๑๑๘ แก้ไว้ว่า แสดงนัยยิ่ง ๆ มีอธิบายว่า ประกาศความประสงค์ของตน

แล้วลุกขึ้นแสดงอาการฟ้อนรำก่อน ด้วยกล่าวว่า ควรฟ้อนรำอย่างนี้ แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า

สอดนิ้วมือเข้าปาก ทำเสียง หมุนตัวดุจจักร ชื่อว่า ให้ เรวกะ-ผู้ชำระ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 644

สองบทว่า อฏฺปเทปิ กีฬนติ มีความว่า ย่อมเล่นหมากรุกบน

กระดานหมากรุกแถวละ ๘ ตา. ในกระดานหมากรุกแถวละ ๑๐ ตา ก็

เหมือนกัน.

บทว่า อากาเสปิ มีความว่า เล่นหมากเก็บในอากาศ เหมือน

เล่นหมากรุกแถวละ ๘ ตา และแถวละ ๑๐ ตาฉะนั้น.

บทว่า ปริหารปเถ มีความว่า ทำวงเวียนมีเส้นต่าง ๆ ลงบนพื้น

ดินแล้ว เล่นวกวนไปตามเส้นวกวนในวงเวียนนั้น (เล่นชิงนาง).

สองบทว่า สนฺติกายปิ กีฬนิติ ได้แก่ เล่นกีฬาหมากไหวบ้าง.

อธิบายว่า ตัวหมากรุกและหินกรวดเป็นต้นที่ทอดไว้รวมกัน เอาเล็บ

เท่านั้นเขี่ยออก และเขี่ยเข้าไม่ให้ไหว. ถ้าว่า ในลูกสกาตัวหมากรุก

หรือหินกรวดเหล่านั้นบางอย่างไหว เป็นแพ้.

บทว่า ขลิกาย ได้แก่ เล่นโยนห่วงบนกระดานสกา.

บทว่า ฆฏิกาย มีความว่า การเล่นกีฬาไม้หึ่ง ท่านเรียกว่า ฆฏิถา

เล่นด้วยกีฬาไม้หึ่งนั้น. ความว่า เที่ยวเอาไม้ยาวตีไม้สั้นเล่น.

บทว่า สลากหตฺเถน มีความว่า เล่นเอาพู่กันจุ่มด้วยน้ำครั่ง น้ำ

ฝาง หรือน้ำผสมแป้งแล้วถามว่า จะเป็นรูปอะไร ? จึงแต้มพู่กันนั้นลง

ที่พื้น หรือที่ฝาผนังแสดงรูปช้างและรูปม้าเป็นต้น.

บทว่า อกฺเขน แปลว่า ลูกสกา.

บทว่า ปงฺกจิเรน มีความว่า หลอดใบไม้ ท่านเรียกว่า ปังกจิระ,

เล่นเป่าหลอดใบไม้นั้น.

บทว่า วงฺกเกน ได้แก่ ไถเล็ก ๆ เป็นเครื่องเล่นของพวกเด็กชาว

บ้าน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 645

บทว่า โมกฺขจิกาย มีความว่า การเล่นหกคะเมน ตีลังกา ท่าน

เรียกว่า โมกขจิกา. อธิบายว่า เล่นค้ำยันไม้บนอากาศ หรือปักศรีษะ

ลงที่พื้นแล้วหมุนไปรอบ ๆ ทั้งข้างล่างและข้างบน (เล่นจับบาร์หรือปัก

ศีรษะลงจดฟื้นแล้วหกคะเมนตีลังกา).

บทว่า จิงฺคุเลน มีความว่า กังหันที่หมุนไปโดยถูกลมพัด ซึ่ง

กระทำด้วยใบตาลเป็นต้น เรียกว่า จิงคุลกะ, เล่นด้วยกังหันนั้น.

บทว่า ปตฺตาฬหเกน มีความว่า กรวยใบไม้ เรียกว่า ปัตตาฬหกะ,

เล่นตวงทรายเป็นต้น ด้วยกรวยใบไม้นั้น.

บทว่า รถเกน ได้แก่ รถน้อย ๆ.

บทว่า ธนุเกน ได้แก่ ธนูน้อย ๆ.

บทว่า อกฺขริกาย มีความว่า การเล่นทายอักษรที่อากาศ หรือ

ที่หลัง เรียกว่า อักขริกา, เล่นด้วยกีฬาทายอักษรนั้น.

บทว่า มเนสิกาย มีความว่า เล่นด้วยกีฬาทายความคิดทางใจ

ที่ท่านเรียกว่า มเนสิกา.

บทว่า ยถาวชฺเชน มีความว่า การเล่นแสดงประกอบท่าทางของ

คนพิการ มีคนตาบอด คนกระจอก และคนค่อมเป็นต้น ที่ท่านเรียกว่า

เล่นเลียนคนพิการ. ภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะเล่นด้วยกายเล่นเลียนคน

พิการ เหมือนพวกชนชาวเวลัมพกเล่น (ชนพวกเล่นกายกรรม) ฉะนั้น.

สองบทว่า หตฺถิสฺมิมฺปิ สิกฺขนฺติ มีความว่า ย่อมศึกษาศิลปะที่

ควรศึกษา มีช้างเป็นนิมิต. แม้ในศิลปะมีมาเป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้

บทว่า ธาวนฺติปิ ได้แก่ วิ่งขับไปตามหลัง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 646

บทว่า อาธาวนฺติปิ มีความว่า วิ่งหันหน้าวกกลับมาตลอดระยะ

ทางที่ตนวิ่งไป (วิ่งเปี้ยวกัน).

บทว่า นพฺพชฺณนฺติ ได้แก่ ย่อมทำการปล้ำกัน.

สองบทว่า นลาฏิกมฺปิ เทนฺติ มีความว่า ย่อมแตะนิ้วที่หน้าผาก

ตนแล้ว แตะที่หน้าผากของหญิงฟ้อนนั้น พร้อมกับพูดว่า ดีละ ดีแล้ว

น้องหญิง !

สองบทว่า วิวิธมฺปิ อนาจาร มีความว่า ประพฤติอนาจารต่าง ๆ

มีกลองปากเป็นต้น (ปี่พาทย์ปาก, ผิวปากเป็นต้น ) แม้อื่น ๆ ซึ่งไม่ได้

มาในพระบาลี.

[แก้อรรถตอนชาวกิฏาคีรีพบภิกษุอาคันตุกะ]

บทว่า ปาสาทิเกน ได้แก่ อันนำมาซึ่งความเลื่อมใส คือสมควร

เหมาะสมแก่สมณะ.

บทว่า อภิกฺกนฺเตน คือ มีการเดิน.

บทว่า ปฏิกฺกนฺเตน คือ มีการถอยกลับ.

บทว่า อวโลกิเตน คือ การมองดูไปข้างหน้า.

บทว่า วิโลกิเตน คือ ดูข้างโน้นบ้างข้างนี้บ้าง.

บทว่า สมฺมิฺชิเตน คือ การคู้ข้ออวัยวะเข้า.

บทว่า ปสาริเตน คือ การเหยียดข้อเหล่านั้นนั่นแหละออก. ใน

บททั้งปวงเป็นตติยาวิภัตติลงในอรรถบอกอิตถัมภูต. มีคำอธิบายว่า เป็นผู้

มีการเดินไปข้างหน้า ถอยกลับ เหลียวซ้าย แลขวา คู้เข้า เหยียดออก

อันน่าเลื่อมใส เพราะถูกควบคุมด้วยสติสัมปชัญญะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 647

บทว่า โอกฺขิตฺตจกฺขุ คือ มีจักษุทอดลงเบื้องต่ำ.

บทว่า อิริยาปถสมฺปนฺโน มีความว่า มีอิริยาบถเรียบร้อย เพราะ

มีกิริยาก้าวไปข้างหน้าเป็นต้น อันน่าเลื่อมใสนั้น.

บทว่า กฺวาย ตัดบทเป็น โก อย แปลว่า ภิกษุนี้เป็นใคร่ ?

บทว่า อพฬพโฬ วิย มีความว่า ได้ยินว่า ชนทั้งหลายเรียกคน

อ่อนแอว่า อพฬ. ก็คำกล่าวย้ำนี้ เป็นไปในอรรถว่า อย่างยิ่ง, เพราะ-

ฉะนั้น จึงมีคำอธิบายว่า เหมือนคนอ่อนแอเหลือเกิน.

ด้วยบทว่า มนฺทมนฺโท ชาวบ้านย่อมแสดงคุณแท้ๆ โดยเป็นโทษ

อย่างนี้ว่า เป็นผู้อ่อนแอนัก คืออ่อนเปียกนัก เพราะเป็นผู้มีอิริยาบถ

มีการก้าวเดินเป็นต้นไม่ปราดเปรียว.

บทว่า ภากุฏิกภากุฏิโก วิย มีความว่า เพราะท่านเป็นผู้มีจักษุ

ทอดลง ชาวบ้านจึงสำคัญพูดกันว่า ภิกษุนี้ทำหน้าสยิ้ว มีหน้านิ่วคิ้วขมวด

เที่ยวไปเหมือนคนโกรธ.

บทว่า สณฺหา คือ เป็นผู้ละเอียด. อธิบายว่า เป็นผู้ฉลาดชักนำ

อุบายสกชนไปในฐานะอันควรอย่างนี้ว่า แน่ะโยมหญิง โยมชาย พี่สาว

น้องสาว ! ท่านหาเป็นคนไม่มีพละกำลังเหมือนภิกษุรูปนี้ไม่.

บทว่า สขิลา ได้แก่ เป็นผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้มีวาจานุ่มนวล.

บทว่า สุขสภาสา นี้ เป็นคำแสดงเหตุแห่งคำก่อน. จริงอยู่ ชน

ผู้มีการพูดจาอ่อนหวาน เป็นสัมโมทนียกถา ไม่หยาบคาย เสนาะหู

ท่านเรียกว่า ผู้มีวาจาไพเราะ ด้วยเหตุนั้น ชาวบ้านจึงกล่าวว่า (พระ-

ผู้เป็นเจ้าของพวกเรา) เป็นผู้พูดไพเราะ พูดอ่อนหวาน. ก็ในคำนี้มี

อธิบายดังนี้ว่า พระผู้เป็นเจ้าของพวกเรา เห็นพวกอุบาสกอุบาสิกาแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 648

กล่าวสัมโมทนียกถาไพเราะ เพราะฉะนั้น ท่านจึงเป็นผู้พูดไพเราะ อ่อน

หวาน ไม่เป็นคนอ่อนแอและอ่อนเปียกเหมือนภิกษุนี้เลย.

บทว่า มิหิตปุพฺพงฺคมา มีวิเคราะห์ว่า ภิกษุเหล่านี้ มีการยิ้มแย้ม

เป็นไปก่อนพูด; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า ผู้มีการยิ้มแย้มเป็นเบื้องหน้า

ความว่า ภิกษุเหล่านั้นยิ้มแย้มก่อนจึงพูดภายหลัง.

บทว่า เอหิสฺวาคตวาทิโน มีความว่า เห็นอุบาสกแล้วมักพูด

อย่างนั้นว่า มาเถิด ท่านมาดีแล้ว หาเป็นคนมีหน้าสยิ้ว เพราะเป็นคนมี

หน้านิ่วคิ้วขมวดเหมือนภิกษุนี้ไม่. พวกชาวกิฏาคีรีชนบท ครั้นแสดง

ความเป็นผู้มีหน้าไม่สยิ้ว เพราะเป็นผู้มีปกติยิ้มแย้มก่อนเป็นต้น โดย

อรรถอย่างนี้แล้ว เมื่อจะแสดงแม้โดยสรุปอีก จึงได้กล่าวว่า มีหน้าไม่

สยิ้ว มีหน้าชื่นบาน มักพูดก่อน.

อีกอย่างหนึ่ง ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ทั้ง ๓ บท มีบทว่า อภากุฏิกา

เป็นต้นนี้ แสดงความไม่มีแห่งอาการแม้ทั้ง ๓ โดยมาสับลำดับกัน

คือ อย่างไร ? คือ บรรดาบททั้ง ๓ มีบทว่า อภากุฏิกา เป็นต้น

นั่น ด้วยบทว่า อภากุฏิกา นี้ ท่านแสดงความไม่มีอาการสยิ้วหน้าสยิ้วตา

ด้วยบทว่า อุตฺตานมุขา นี้ ท่านแสดงความไม่มีแห่งอาการอ่อนแอ

และอ่อนเปียก. ก็ภิกษุเหล่าใด เป็นผู้หน้าเบิกบานด้วยการลืมตาทั้งสอง

มองดู. ภิกษุเหล่านั้น ชื่อว่าไม่เป็นคนอ่อนแอและอ่อนเปียก.

ด้วยบทว่า ปุพฺพภาสิโน นี้ ท่านแสดงความไม่มีแห่งอาการอ่อน

แอและอ่อนเปียก. ก็ภิกษุเหล่าใด ย่อมทักทายก่อนว่า แน่ะโยมหญิง !

โยมชาย ! ดังนี้ เพราะเป็นผู้ฉลาดในการโอภาปราศรัย, ภิกษุเหล่านั้น

หาเป็นผู้ไม่มีพละกำลังไม่ ฉะนี้แล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 649

[อุบาสกนิมนต์ภิกษุอาคันตุกะไปยังเรือน]

บทว่า เอหิ ภนฺเต ฆร คมิสฺสาม มีความว่า ได้ยินว่า อุบาสก

นั้น เมื่อภิกษุกล่าวตอบว่า ท่านผู้มีอายุ ! อาตมายังไม่ได้บิณฑบาตเลย

ดังนี้ จึงกล่าวว่า พวกภิกษุนั่นแหละ ทำให้ท่านไม่ได้บิณฑบาตนั่น ถึง

แม้ท่านจะเที่ยวไปจนทั่วหมู่บ้าน ก็จักไม่ได้เลย ประสงค์จะถวายบิณฑ-

บาต จึงกล่าวว่า มาเถิด ขอรับ ! พวกเราจักไปเรือนด้วยกัน.

ถามว่า ก็วาจานี้ เป็นวิญญัตติวาจา หรือไม่เป็น ?

ตอบว่า ไม่เป็น. ธรรมดาปัญหาที่เขาถามแล้วนี้ ควรจะตอบ.

เพราะฉะนั้น ถ้าแม้นว่าในทุกวันนี้ ใคร ๆ ถามภิกษุผู้เข้าไปสู่ละแวก

บ้านในเวลาเช้าก็ดี ในเวลาเย็นก็ดี ว่า ท่านเที่ยวไปทำไม ขอรับ !

การที่ภิกษุบอกความประสงค์ที่ตนเที่ยวไปแล้ว เมื่อเขาถามว่า ได้แล้ว

หรือยังไม่ได้ ถ้ายังไม่ได้ก็บอกว่า ยังไม่ได้ แล้วรับเอาสิ่งของที่เขาถวาย

ควรอยู่.

บทว่า หุฏฺโ มีความว่า ไม่ได้ทรุดโทรมลง ด้วยการยังความ

เลื่อมใสเป็นต้นให้พินาศไป, แต่ทรุดโทรมลง ด้วยอำนาจแห่งบุคคล

ผู้โทรม.

ทานทั้งหลายนั่นแล ท่านเรียกว่า ทานบถ. อีกอย่างหนึ่ง ทาน

ประจำ ท่านเรียกว่า ทานบถ มีคำอธิบายว่า ทานวัตร.

บทว่า อุปจฺฉินฺนานิ ได้แก่ ถูกพวกทายกตัดขาดแล้ว. อธิบายว่า

บัดนี้พวกทายกเหล่านั้น ไม่ถวายทานนั้น.

บทว่า ริญฺจนฺติ มีความว่า พวกภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เป็นผู้แยก

กันอยู่ คือกระจายกันอยู่ , มีคำอธิบายว่า ย่อมพากันหลีกหนีไป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 650

บทว่า สณฺฐเหยฺย มีความว่า พึงดำรงอยู่โดยชอบ คือพึงเป็นที่

พำนักของเหล่าภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก.

ภิกษุนั้นรับสาสน์ของอุบาสกผู้มีศรัทธามีความเลื่อมใส ด้วยคำว่า

เอวมาวุโส ดังนี้แล. ได้ยินว่า การนำข่าวสาสน์ที่เป็นกัปปิยะเห็นปานนี้

ไป ย่อมควร. เพราะฉะนั้น ภิกษุไม่พึงทำความรังเกียจในข่าวสาสน์

ทั้งหลายเช่นนี้ว่า ขอท่านจงถวายบังคมพระบาทยุคลของพระผู้มีพระภาค-

เจ้าตามคำของเรา ดังนี้ ก็ดี ว่า ขอท่านจงไหว้พระเจดีย์ พระปฏิมา

ต้นโพธิ์ พระสังฆเถระ ดังนี้ ก็ดี ว่า ท่านจงทำการบูชาด้วยของหอม

การบูชาด้วยดอกไม้ที่พระเจดีย์ ดังนี้ ก็ดี ว่า ขอท่านจงนิมนต์ให้ภิกษุ

ทั้งหลายประชุมกัน, พวกเราจักถวายทาน จักฟังธรรม ดังนี้ ก็ดี ข่าว

สาสน์เหล่านี้ เป็นกัปปิยสาสน์ ไม่เกี่ยวด้วยคิหิกรรมของพวกคฤหัสถ์ ด้วย

ประการฉะนี้แล.

คำว่า กุโต จ ตฺว ภกฺขุ อาคจนฺฉติ มีความว่า ภิกษุนั้นนั่งอยู่แล้ว

ไม่ใช่กำลังมา. แต่โดยอรรถภิกษุนั้นเป็นผู้มาแล้ว. แม้เมื่อเป็นอย่างนี้

คำปัจจุบันกาลในอรรถอดีตที่ใกล้ต่อปัจจุบันกาล ย่อมมีได้ ; เพราะฉะนั้น

จึงไม่มีความผิด. แม้ในคำว่า ตโต อห ภควา อาคจฺฉามิ นี้ ในสุดท้าย

ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.

[ทรงรับสั่งให้ลงปัพพาชนียกรรมพวกภิกษุฉัพพัคคีย์]

ในคำว่า ปม อสฺสชิปุนพฺพสุกา ภิกฺขู โจเทตพฺพา นี้ มีวินิจฉัย

ดังต่อไปนี้ว่า พระอัสสชิและปุนัพพสุกะ อันสงฆ์พึงให้ทำโอกาสว่า

พวกผมต้องการจะพูดกะพวกท่าน แล้วพึงโจทด้วยวัตถุและอาบัติ, ครั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 651

โจทแล้วพึงให้ระลึกถึงอาบัติที่พวกเธอยังระลึกไม่ได้. ถ้าพวกเธอปฏิญญา

วัตถุและอาบัติ หรือปฏิญญาเฉพาะอาบัติ ไม่ปฏิญญาวัตถุ พึงยกอาบัติ

ขึ้นปรับ. ถ้าปฏิญญาเฉพาะวัตถุ ไม่ปฏิญญาอาบัติ แม้ในการปฏิญญา

อย่างนั้น ก็พึงยกอาบัติขึ้นทีเดียวว่า เป็นอาบัติชื่อนี้ ในเพราะวัตถุนี้.

ถ้าพวกเธอไม่ปฏิญญาทั้งวัตถุ ไม่ปฏิญญาทั้งอาบัติ ไม่พึงยกอาบัติขึ้น

ปรับ.

ก็พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงปรับอาบัติตามปฏิญญาแล้ว เมื่อจะทรง

แสดงว่า สงฆ์พึงลงปัพพาชนียกรรมอย่างนี้ จึงตรัสคำมีอาทิว่า พฺยตฺเตน

ภิกฺขุนา ดังนี้. คำนั้น ตื้นทั้งนั้น. ก็ภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรม

อย่างนี้แล้ว ไม่ควรอยู่ในวัดที่ตนเคยอยู่ หรือในบ้านที่ตนทำกุลทูสก-

กรรม. เมื่อจะอยู่ในวัดนั้น ไม่พึงเที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านใกล้เคียง.

แม้จะอยู่ในวัดใกล้เคียง ก็ไม่ควรเที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านนั้น. แต่

พระอุปติสสเถระ ถูกพวกอันเตวาสิกค้านว่า ท่านขอรับ ! ธรรมดาว่า

นครใหญ่มีประมาณถึง ๑๒ โยชน์ ดังนี้แล้ว จึงกล่าวว่า ภิกษุทำกุล-

ทูสกกรรมในถนนใด, ท่านห้ามแต่ถนนนั้น. ลำดับนั้น ท่านถูกพวก

อันเตวาสิกค้านเอาว่า แม้ถนนก็ใหญ่ มีประมาณเท่านครเที่ยว แล้ว

จึงกล่าวว่า ภิกษุกระทำกุลทูสกกรรมในลำดับเรือนแถวใด ท่านห้าม

ลำดับ เรือนแถวนั้น ดังนี้. ท่านถูกพวกอันเตวาสิกค้านอีกว่า แม้ลำดับ

เรือน ก็มีขนาดเท่าถนนทีเดียว จึงกล่าวว่า ท่านห้าม ๗ หลังคาเรือน

ข้างโน้นและข้างนี้. ก็คำทั้งหมดนั้น เป็นเพียงมโนรถของพระเถระ

เท่านั้น. ถ้าแม้นวัดใหญ่มีขนาด ๓ โยชน์เป็นอย่างสูง และนครโตขนาด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 652

๑๒ โยชน์เป็นอย่างยิ่ง ภิกษุผู้ทำกุลทูสกกรรม จะอยู่ในวัดจะเที่ยวไป

ในนคร (นั้น ) ไม่ได้เลย ฉะนั้นแล.

ข้อว่า เต สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกตา มีความว่า ถามว่า สงฆ์

ได้กระทำกรรมแก่พวกภิกษุอัสสชิและปุนพัพสุกะนั้น อย่างไร ?

ตอบว่า สงฆ์ไม่ได้ไปข่มขี่กระทำกรรมเลย, โดยที่แท้ เมื่อพวก

ตระกูลอาราธนา นิมนต์มาแล้ว กระทำภัตเพื่อสงฆ์ พระเถระทั้งหลาย

ในที่นั้น ๆ แสดงข้อปฏิบัติของสมณะ ให้พวกมนุษย์เข้าใจว่า นี้เป็น

สมณะ นี้ไม่ใช่สมณะ แล้วให้ภิกษุ ๑ รูป ๒ รูป เข้าสู่สีมาแล้ว ได้

กระทำปัพพาชนียกรรมแมแก่พวกภิกษุทั้งหมด โดยอุบายนี้นั่นแล.

ก็เมื่อภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรมอย่างนี้แล้ว บำเพ็ญวัตร ๑๘

ประการให้บริบูรณ์ขออยู่ กรรมอันสงฆ์พึงระงับ. และแม้ภิกษุผู้มีกรรม

ระงับแล้วนั่น ตนทำกุลทูสกกรรมไว้ในตระกูลเหล่าใดในครั้งก่อน ไม่

ควรรับปัจจัยจากตระกูลเหล่านั้น. แม้บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะแล้วก็

ไม่ควรรับ, ปัจจัยเหล่านั้น จัดเป็นของไม่สมควรแท้.

เมื่อภิกษุถูกทายกถามว่า ทำไม ท่านจึงไม่รับ ? ตอบว่า เพราะ

ได้กระทำไว้อย่างนี้เมื่อก่อน ดังนี้, ถ้าพวกชาวบ้านกล่าวว่า พวกกระผม

ไม่ถวายด้วยเหตุอย่างนั้น, ถวายเพราะท่านมีศีลในบัดนี้ (ต่างหาก) ดังนี้

ควรรับได้. กุลทูสกกรรม เป็นกรรมอันภิกษุผู้กระทำเฉพาะในสถานที่

ให้ทานตามปกติ, จะรับทานตามปกติจากสถานที่นั้นนั่นแล ควรอยู่.

ทานที่ทายกถวายเพิ่มเติม ไม่ควรรับ.

บทว่า น สมฺมา วตฺตนฺติ มีความว่า ก็พวกภิกษุอัสสชิปุนัพพสุกะ

เหล่านั้นย่อมไม่ประพฤติโดยชอบ ในวัตร ๑๘ ประการ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 653

ข้อว่า น โลม ปาเตนฺติ มีความว่า ชื่อว่า เป็นผู้ไม่หายเย่อหยิ่ง

เพราะไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติอันสมควร.

ข้อว่า น เนตฺถาร วตฺตนฺติ มีความว่า ย่อมไม่ปฏิบัติตามทางเป็น

เครื่องช่วยถอนตนเอง.

ข้อว่า ภิกขู น ขมาเปนฺติ มีความว่า ย่อมไม่กระทำให้ภิกษุ

ทั้งหลายอดโทษอย่างนี้ว่า พวกกระผมกระทำผิด ขอรับ ! แต่พวกกระผม

จะไม่กระทำเช่นนี้อีก, ขอท่านทั้งหลายจงอดโทษแก่พวกกระทำเถิด.

บทว่า อกฺโกสนฺติ คือ ย่อมด่าการกสงฆ์ ด้วยอักโกสวัตถุ ๑๐.

บทว่า ปริภาสนฺติ คือ ย่อมแสดงภัยแก่ภิกษุเหล่านั้น.

ข้อว่า ฉนฺทคามิตา ฯ เป ฯ ภยคามิตา ปาเปนฺติ มีความว่า ย่อม

ให้ถึง คือ ประกอบด้วย ความลำเอียงเพราะรักใคร่กันบ้าง ฯลฯ ด้วย

ความลำเอียงเพราะกลัวบ้าง อย่างนี้ว่า ภิกษุเหล่านี้ เป็นผู้มีความลำเอียง

เพราะรัก ฯ ล ฯ และมีความลำเอียงเพราะกลัว.

บทว่า ปกฺกมนฺติ มีความว่า บรรดาสมณะ ๕๐๐ ซึ่งเป็นบริวาร

ของพระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะนั้น บางพวกก็หลีกไปสู่ทิศ.

บทว่า วิพฺภมนฺติ คือ บางพวกก็สึกเป็นคฤหัสถ์.

ในคำว่า กถ หิ นาม อสฺสสชิปุนพฺพสุกา นี้ ท่านเรียกภิกษุแม้

ทั้งหมดว่า อสัสชิปุนัพพสุกะ ด้วยอำนาจแห่งภิกษุทั้งสองรูปผู้เป็น

หัวหน้า.

[อรรถาธิบายกุลทูสกรรมมีการให้ดอกไม้เป็นต้น]

ในคำว่า คาม นี้ แม้นครท่านยึดเอาด้วยคามศัพท์เหมือนกัน.

ด้วยเหตุนั้น ในบทภาชนะแห่งบทนั้น ท่านจึงกล่าวว่า บ้านก็ดี นิคม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 654

ก็ดี นครก็ดี ชื่อว่า คามและนิคม. บรรดาบ้านเป็นต้นนั้น หมู่บ้านที่

ไม่มีกำแพงเป็นเครื่องล้อม มีร้านตลาด พึงทราบว่า นิคม.

ภิกษุใดประทุษร้ายซึ่งตระกูลทั้งหลาย; เหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า

กุลทูสกะ. และเมื่อจะประทุษร้าย ไม่ใช่ประทุษร้ายด้วยของเสีย มีของ

ไม่สะอาด และเปียกตมเป็นต้น โดยที่แท้ย่อมทำความเลื่อมใสของตระกูล

ทั้งหลายนั้นให้พินาศไป ด้วยข้อปฏิบัติชั่วของตน, ด้วยเหตุนั้นแล ใน

บทภาชนะแห่งบทนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปุปฺเผน วา เป็นต้น.

พึงทราบวินิจฉัยในบทว่า ปุปฺผทาเนน เป็นต้นนั้นดังนี้:-

ภิกษุใดนำไปให้เองก็ดี ให้นำไปให้ก็ดี เรียกมาให้เองก็ดี ให้เรียก

มาให้ก็ดี หรือว่าให้ดอกไม้ที่เป็นของตน อย่างใดอย่างหนึ่งแก่บุคคล

ทั้งหลายที่เข้าไปหาเอง เพื่อประโยชน์แก่การสงเคราะห์ตระกูล, ภิกษุนั้น

ต้องทุกกฏ. ให้ดอกไม้ของคนอื่น ก็เป็นทุกกฏเหมือนกัน. ให้ด้วยไถยจิต

พระวินัยธรพึงปรับตามราคาสิ่งของ. แม้ในของสงฆ์ก็มีนัยอย่างนี้เหมือน

กัน. ส่วนความแปลกกัน ดังต่อไปนี้ เป็นถุลลัจจัยแก่ภิกษุผู้ให้ดอกไม้

ที่เขากำหนดไว้ เพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ โดยถือว่าตนเป็นใหญ่.

ถามว่า ชื่อว่า ดอกไม้ ควรให้แก่ใคร ไม่ให้แก่ใคร ?

ตอบว่า เมื่อจะให้แก่มารดาบิดาก่อน นำไปให้เองก็ดี ให้นำไป

ให้ก็ดี เรียกมาให้เองก็ดี ให้เรียกมาให้ก็ดี ควรทั้งนั้น. สำหรับญาติที่

เหลือ ให้เรียกมาให้เท่านั้นจึงควร. ก็แลการให้ดอกไม้นั้น. เพื่อประโยชน์

แก่การบูชาพระรัตนตรัยจึงควร. แต่จะให้ดอกไม้แม้แก่ใคร ๆ เพื่อ

ประโยชน์แก่การประดับ หรือเพื่อประโยชน์แก่การบูชาศิวลึงค์เป็นต้น

ไม่ควร. และเมื่อจะให้นำไปให้แก่มารดาบิดา ควรใช้สามเณรผู้เป็นญาติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 655

เท่านั้นให้นำไปให้. สามเณรผู้มิใช่ญาตินอกนั้น ถ้าปรารถนาจะนำไป

เองเท่านั้น จึงควรให้นำไป. ภิกษุผู้แจกดอกไม้ที่ได้รับสมมติ จะให้ส่วน

กึ่งหนึ่งแก่พวกสามเณรผู้มาถึงในเวลาแจกก็ควร.

ในกุรุนทีท่านกล่าวว่า ควรให้ครึ่งส่วนแก่คฤหัสถ์ที่มาถึง, ในมหา-

ปัจจรีกล่าวว่า ควรให้แต่น้อย. ภิกษุผู้ไม่ได้รับสมมติควรอปโลกน์ให้

พวกสามเณรผู้มีความเคารพในอาจารย์และอุปัชฌายะ ได้นำดอกไม้เป็น

อันมากมากองไว้. พระเถระทั้งหลายให้เเก่พวกสัทธิวิหาริกเป็นต้น หรือ

แก่พวกอุบาสกผู้มาถึงแต่แช้าตรู่ ด้วยกล่าวว่า เธอจงถือเอาดอกไม้นี้

เธอจงถือเอาดอกไม้นี้, ไม่จัดว่าเป็นการให้ดอกไม้. พวกภิกษุผู้ถือเอาไป

ด้วยคิดว่า พวกเราจักบูชาพระเจดีย์ก็ดี กำลังทำการบูชาก็ดี ให้แก่พวก

คฤหัสถ์ผู้มาถึงในที่นั้น ๆ เพื่อประโยชน์แก่การบูชาพระเจดีย์. แม้การ

ให้นี้ ก็ไม่จัดว่าเป็นการให้ดอกไม้ แม้เห็นพวกอุบาสกกำลังบูชาด้วย

ดอกรักเป็นต้น แล้วกล่าวว่า อุบาสกทั้งหลาย ! ดอกกรรณิการ์เป็นต้น

ที่วัดมี, พวกท่านจงไปเก็บดอกกรรณิการ์เป็นต้นมาบูชาเถิด ดังนี้ ก็

ควร.

พวกชาวบ้านถามภิกษุทั้งหลายผู้ทำการบูชาด้วยดอกไม้ แล้วเข้าไป

ยังบ้านค่อนข้างสายว่า เพราะเหตุไร ขอรับ ! พวกท่านจึงเข้ามาสายนัก ?

พวกภิกษุตอบว่า ที่วัดมีดอกไม้มาก, พวกเราได้ทำการบูชา (ก่อนเข้า

มา). พวกชาวบ้านรู้ว่า ได้ทราบว่าที่วัดมีดอกไม้มาก วันรุ่งขึ้นจึงถือเอา

ของเคี้ยวของฉันเป็นอันมากไปสู่วัด กระทำการบูชาด้วยดอกไม้และถวาย

ทาน, การพูดนั่นก็ควร.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 656

พวกชาวบ้านขอวาระดอกไม้ว่า ท่านขอรับ ! พวกกระผมจักบูชา

ณ วันชื่อโน้น แล้วมาในวันที่อนุญาต. และพวกสามเณรได้เก็บดอกไม้

ไว้แต่เช้าตรู่. พวกชาวบ้านเมื่อไม่เห็นดอกไม้เป็นต้น จึงพูดว่า ดอกไม้

อยู่ที่ไหน ขอรับ ! พระเถระทั้งหลายตอบว่า พวกสามเณรเก็บไว้, ก็

พวกท่านจงไปบูชากันเถิด, สงฆ์จักบูชาในวันอื่น. พวกชาวบ้านเหล่านั้น

พากันบูชา ถวายทานแล้วไป, การพูดอย่างนั้น ก็ควร.

แต่ในมหาปัจจรีและกุรุนที ท่านกล่าวว่า พระเถระทั้งหลายย่อม

ไม่ได้เพื่อจะใช้ให้พวกสามเณรให้, ถ้าพวกสามเณรให้ดอกไม้เหล่านั้นแก่

พวกชาวบ้านเหล่านั้นเสียเองนั่นแล, การให้นั่น สมควร, แต่พระเถระ

ทั้งหลาย ควรกล่าวคำเพียงเท่านี้ว่า พวกสามเณรเก็บดอกไม้เหล่านี้ไว้.

แต่ถ้าว่า พวกชาวบ้านขอวาระดอกไม้แล้ว เมื่อพวกสามเณรไม่ได้

เก็บดอกไม้ไว้ ถือเอายาคูและภัตเป็นต้นมาแล้วกล่าวว่า ท่านทั้งหลาย

จงให้สามเณรทั้งหลายเก็บให้ การใช้ให้พวกสามเณรผู้เป็นญาติเท่านั้น

เก็บให้ จึงควร. พระเถระทั้งหลายยกพวกสานเณรที่มิใช่ญาติขึ้นวางบน

กิ่งไม้. พวกสามเณรไม่ควรลงแล้วหนีไปเสีย, ควรเก็บให้.

ในมหาปัจจรีและกุรุนทีกล่าวว่า ก็ถ้าว่าพระธรรมกถึกบางรูปจะ

กล่าวว่า อุบาสกและอุบาสิกาทั้งหลาย ดอกไม้ที่วัดมีมาก, พวกท่านจง

ถือเอายาคูและภัตเป็นต้น ไปทำการบูชาด้วยดอกไม้เถิด, ยาคูและภัต

เป็นต้นนั้น ย่อมไม่สมควรแก่พระธรรมกถึกนั้นเท่านั้น. แต่ในมหา-

อรรถกถา ท่านกล่าวไว้โดยไม่แปลกกันว่า ยาคูและภัต เป็นต้นนั้น เป็น

อกัปปิยะ ไม่สมควร.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 657

แม้ผลไม้ที่เป็นของของตน จะให้แก่มารดาบิดาและพวกญาติที่เหลือ

ย่อมควร โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. แต่เมื่อภิกษุผู้ให้ เพื่อประโยชน์

แก่การสงเคราะห์ตระกูล พึงทราบว่าเป็นทุกกฏเป็นต้น ในเพราะผลไม้

ของตน ของคนอื่น ของสงฆ์ และของที่เขากำหนดไว้เพื่อประโยชน์

แก่เสนาสนะ โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. เฉพาะผลไม้ที่เป็นของของตน

จะให้แก่พวกคนไข้ หรือแก่พวกอิสรชนผู้มาถึงซึ่งหมดเสบียงลง ก็ควร.

ไม่จัดเป็นการให้ผลไม้. แม้ภิกษุผู้แจกผลไม้ที่สงฆ์สมมติ จะให้กึ่งส่วน

แก่พวกชาวบ้านผู้มาถึงในเวลาแจกผลไม้แก่สงฆ์ ก็ควร. ผู้ไม่ได้รับสมมติ

ควรอปโลกน์ให้.

แม้ในสังฆาราม สงฆ์ก็ควรทำกติกาไว้ ด้วยการกำหนดผลไม้หรือ

ด้วยการกำหนดต้นไม้ เมื่อพวกคนไข้หรือพวกคนอื่นขอผลไม้ จากผล

หรือจากต้นไม้ที่กำหนดไว้นั้น พึงให้ผลไม้ ๔-๕ ผล หรือพึงแสดง

ต้นไม้ ตามที่กำหนดไว้ว่า พวกเธอถือเอาจากต้นนี้ได้ แต่ไม่ควรพูดว่า

ผลไม้ที่ต้นนี้ดี, พวกเธอจงถือเอาจากต้นนี้.

พึงทราบวินิจฉัย ในบทว่า จุณฺเณน นี้ ดังต่อไปนี้:-

ภิกษุให้จุรณสน หรือน้ำฝาดอย่างอื่นของของตนเพื่อประโยชน์แก่

การสงเคราะห์ตระกูล เป็นทุกกฏ. แม้ในของของตนอื่นเป็นต้น ก็พึง

ทราบวินิจฉัยโดยนัยดังกล่าวมาแล้ว. ส่วนความแปลกกันดังต่อไปนี้:-

ในจุรณวิสัยนี้ เปลือกไม้แม้ที่สงฆ์รักษาและสงวนไว้ ก็จัดเป็นครุภัณฑ์

แท้. แม้ในพวกดินเหนียว ไม้ชำระฟัน และไม้ไผ่ บัณฑิตรู้จักของที่ควร

เป็นครุภัณฑ์แล้ว พึงทราบวินิจฉัยดังกล่าวแล้วในจุรณนั่นแล. แต่การ

ให้ใบไม้ ไม่มาในบาลีนี้. แม้การให้ใบไม้นั้น ก็พึงทราบโดยนัยดังกล่าว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 658

แล้วเหมือนกัน. ข้าพเจ้าจักพรรณนาการให้ใบไม้ทั้งหมด โดยพิสดาร

ในการวินิจฉัยครุภัณฑ์ แม้ข้างหน้า.

เวชกรรมวิธี ในบทว่า เวชฺชกาย วา นี้ บัณฑิตพึงทราบโดยนัย

ที่กล่าวไว้เเล้วในตติยปาราชิกวรรณนานั่นแล.

กรรม คือ การงานของทูต และการส่งข่าวสาสน์ของพวกคฤหัสถ์

ท่านเรียกว่า ชังฆเปสนียะ ในคำว่า ชงฺฆเปสนิเกน นี้, ข้อนั้น อัน

ภิกษุไม่ควรกระทำ. ด้วยว่าเมื่อภิกษุรับข่าวสาสน์ของพวกคฤหัสถ์แล้วเดิน

ไป เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ย่างเท้า. แม้เมื่อฉันโภชนะที่อาศัยกรรมนั้นได้มา

ก็เป็นทุกกฏ ทุก ๆ คำกลืน. แม้เมื่อไม่รับข่าวสาสน์แต่แรก ภายหลัง

ตกลงใจว่า บัดนี้ นี้คือบ้านนั้น เอาละ เราจักแจ้งข่าวสาสน์นั้น แล้ว

แวะออกจากทาง ก็เป็นทุกกฎ ทุก ๆ ย่างเท้า. เมื่อฉันโภชนะที่บอกข่าว

สาสน์ได้มา เป็นทุกกฏโดยนัยก่อนเหมือนกัน. แต่ภิกษุไม่รับข่าวสาสน์

มา เมื่อถูกคฤหัสถ์ถามว่า ท่านขอรับ ! อันผู้มีชื่อนี้ ในบ้านนั้น มีข่าว

คราวเป็นอย่างไร ! ดังนี้ จะบอกก็ควร. ในปัญหาที่เขาถาม ไม่มี

โทษ.

แต่จะส่งข่าวสาสน์ของพวกสหธรรมิก ๕ ของมารดาบิดา คน

ปัณฑุปลาส และไวยาจักรของตนควรอยู่. และภิกษุจะส่งข่าวสาสน์ที่

สมควร มีประการดังกล่าวแล้วในก่อน ของพวกคฤหัสถ์ควรอยู่. เพราะ

ข่าวสาสน์ที่สมควรนี้ ย่อมไม่ชื่อว่าเป็นกรรม คือ การเดินข่าว. ก็แล

ปัจจัยที่เกิดขึ้นจากกุลทูสกกรรม ๘ อย่างนี้ ย่อมไม่สมควรแก่สหธรรมิก

ทั้ง ๕ เป็นเช่นกับปัจจัยที่เกิดขึ้นจากการอวดอุตริมนุสธรรมอันไม่เป็น

จริง และการซื้อขายด้วยรูปิยะทีเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 659

ภิกษุนั้น มีความประพฤติลามก; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า ปาป-

สมาจาร. ก็เพราะปาปสมาจาร มีการปลูกต้นไม้ดอกเป็นต้น อันพระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์เอาแล้วในสิกขาบทนี้; ฉะนั้น พระองค์จึงตรัส

ไว้ในบทภาชนะแห่งบทว่า ปาปสมาจาร นี้ โดยนัยเป็นต้นว่า มาลาวจฺฉ

โรเปนฺติปิ ดังนี้.

บทว่า ติโรกฺขา แปลว่า ลับหลัง.

ก็คำว่า กุลานิ นี้ ในคำว่า กุลานิ จ เตน ทุฏานิ นี้ เป็นเพียง

โวหาร, แต่โดยความหมาย พวกชาวบ้านถูกภิกษุนั้นประทุษร้าย; ฉะนั้น

ในบทภาชนะแห่งบทว่า กุลานิ จ เตน ทุฏฺานิ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง

ตรัสคำมีอาทิว่า ปุพเพ สทฺธา หุตฺวา ดังนี้.

บทว่า ฉนฺทคามิโน มีวิเคราะห์ว่า ผู้ชื่อว่า มีฉันทคามินะ เพราะ

อรรถว่า ย่อมลำเอียงเพราะชอบพอกัน. ในบทที่เหลือ ก็มีนัยอย่างนี้.

ในคำว่า สมนุภาสิตพฺโพ ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย นี้ บัณฑิตพึง

เห็นความอย่างนี้ว่า เป็นทุกกฏอย่างเดียว เพราะกุลทูสกกรรม. แต่ภิกษุ

นั้นหลีกเลี่ยงกล่าวคำใดกะสงฆ์ว่า เป็นผู้มีความลำเอียงเพราะชอบพอกัน

เป็นต้น สงฆ์พึงกระทำสมนุภาสนกรรม เพื่อสละคืนซึ่งคำว่า เป็นผู้มี

ลำเอียงเพราะชอบกัน เป็นต้นนั้นเสีย.

คำที่เหลือทุก ๆ แห่ง มีเนื้อความตื้นทั้งนั้น แม้สมุฏฐานเป็นต้น

ก็เช่นเดียวกับปฐมสังฆเภทสิกขาบทนั้นแล.

กุลทูสกสิกขาบทวรรณนา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 660

[แก้อรรถบทสรูปสังฆาทิเสส]

ในคำว่า อุทฺทิฏฺา โข ฯ เป ฯ เอวเมต ธารยามิ นี้ มีวินิจฉัย

ดังต่อไปนี้:-

ธรรมเหล่านี้ มีการต้องแต่แรก; เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ปฐมา-

ปัตติกะ อธิบายว่า พึงต้องในครั้งแรก คือ ในขณะที่ล่วงละเมิดทีเดียว.

ส่วนธรรมทั้งหลายนอกนี้ พึงทราบว่าเป็น ยาวตติยกะ ด้วยอรรถว่ามี

(เป็นอาบัติ) ในเพราะสมนุภาสนกรรมครั้งที่ ๓ เหมือนโรคไข้เชื่อม

(โรคผอม) มี (เป็น) ในวันที่ ๓ และที่ ๔ เขาเรียกว่า โรคที่ ๓ ที่ ๔

ฉะนั้น.

ข้อว่า ยาวตีห ชาน ปฏิจฺฉาเทติ มีความว่า รู้อยู่ ปกปิดไว้ คือ

ไม่บอกแก่เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติชื่อนี้ สิ้นวัน

มีประมาณเท่าใด.

บทว่า ตาวตีห ความว่า (ต้องอยู่ปริวาสด้วยความไม่ปรารถนา)

สิ้นวันมีประมาณเท่านั้น.

ข้อว่า อกามา ปริวตฺตพฺพ มีความว่า ไม่ใช่ด้วยความปรารถนา

คือ ไม่ใช่ด้วยอำนาจ (ของตน), ที่แท้พึงสมาทานปริวาสอยู่ด้วยความไม่

ปรารถนา คือ ด้วยมิใช่อำนาจ (ของตน).

สองบทว่า อุตฺตรึ ฉารตฺต คือ สิ้น ๖ ราตรี เพิ่มขึ้นจากปริวาส.

บทว่า ภิกขุมานตฺตาย ได้แก่ เพื่อความนับถือของภิกษุทั้งหลาย,

มีคำอธิบายว่า เพื่อประโยชน์ให้ภิกษุทั้งหลายยินดี.

ภิกษุสงฆ์นั้น ชื่อว่า วิสติคณะ เพราะมีคณะนับได้ ๒๐ รูป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 661

บทว่า ตตฺถ มีความว่า ในสีมาที่ภิกษุสงฆ์ มีคณะ ๒ รูป โดย

กำหนดอย่างต่ำกว่าเขาทั้งหมด.

บทว่า อพฺเภตพฺโพ มีความว่า อันภิกษุสงฆ์พึงอัพภาน คือ พึง

รับรอง, มีคำอธิบายว่า พึงเรียกเข้าด้วยอำนาจแห่งอัพภานกรรม อีกอย่าง

หนึ่ง มีใจความว่า สงฆ์พึงเรียกเข้าหมู่.

บทว่า อนพฺภิโต ได้แก่ เป็นผู้อันสงฆ์ไม่ได้อัพภาน คือ ไม่ได้

รับรอง. มีคำอธิบายว่า ยังไม่ได้ทำอัพภานกรรม. อีกอย่างหนึ่ง มีใจ

ความว่า สงฆ์ยังไม่ได้เรียกเข้าหมู่.

บทว่า สามีจิ แปลว่า ตามธรรมดา. มีคำอธิบายว่า โอวาทานุ-

สาสนีอันคล้อยตามโลกุตรธรรม เป็นสามีจิ คือ เป็นธรรมดา (สามีจิ-

กรรม). บทที่เหลือในคำว่า อุทฺทิฏฺา โข เป็นต้นนี้ มีนัยดังกล่าวแล้ว

ทั้งนั้นแล.

เตรสกัณฑวรรณนา ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 662

อนิยตกัณฑ์

ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคืออนิยต ๒ สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.

อนิยตสิกขาบทที่ ๑

เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา มิคารมาตา

[๖๓๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ท่านพระอุทายีเป็นพระประจำสกุลในพระนครสาวัตถี เข้าไปหาสกุลเป็น

อันมาก สมัยนั้น สาวน้อยแห่งสกุลอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี เป็น

สตรีที่มารดาบิดายกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลหนึ่ง

ครั้นเวลาเช้า ท่านพระอุทายีครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรและ

จีวรเข้าไปหาสกุลนั้น ครั้นแล้วจึงไต่ถามพวกชาวบ้านว่า สาวน้อยผู้มี

ชื่อนี้ อยู่ไหน

พวกชาวบ้านตอบอย่างนี้ว่า พวกข้าพเจ้าได้ยกให้แก่หนุ่มน้อยของ

สกุลโน้นแล้ว เจ้าข้า

แม้สกุลนั้นแล ก็เป็นอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี จึงท่านพระ-

อุทายีเข้าไปหาสกุลนั้น ครั้นแล้วจึงถามพวกชาวบ้านว่า สตรีผู้มีชื่อนี้

อยู่ไหน

พวกชาวบ้านตอบว่า นางนั่งอยู่ในห้อง เจ้าข้า

จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสาวน้อยนั้น ครั้นแล้วสำเร็จการนั่งใน

ที่ลับ คือในอาสนะกำบังซึ่งพอจะทำการได้กับสาวน้อยนั้น หนึ่งต่อหนึ่ง

เจรจากล่าวธรรมอยู่ ควรแก่เวลา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 663

[๖๓๒] ก็โดยสมัยนั้นแล นางวิสาขา มิคารมาตา เป็นสตรีมีบุตร

มาก มีนัดดามาก มีบุตรไม่มีโรค มีนัดดาไม่มีโรค ซึ่งโลกสมมติว่าเป็น

มิ่งมงคล พวกชาวบ้านเชิญนางไปให้รับประทานอาหารก่อนในงานบำเพ็ญ

กุศล งานมงคล งานมหรสพ ครั้งนั้น นางวิสาชา มิคารมาตา ได้ถูก

เชิญไปสู่สกุลนั้น นางได้เห็นที่ท่านพระอุทายี นั่งในที่ลับ คือในอาสนะ-

กำบัง ซึ่งพอจะทำการได้กับหญิงสาวนั้น หนึ่งต่อหนึ่ง ครั้นแล้วได้กล่าว

คำนี้กะท่านพระอุทายีว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า การที่พระคุณเจ้าสำเร็จการ

นั่งในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม หนึ่งต่อ

หนึ่งเช่นนี้ ไม่เหมาะ ไม่ควร แม้พระคุณเจ้าจะไม่ต้องการด้วยธรรมนั้น

ก็จริง ถึงอย่างนั้น พวกชาวบ้านผู้ที่ไม่เลื่อมใส จะบอกให้เธอได้โดย

ยาก

ท่านพระอุทายี แม้ถูกนางวิสาขา มิคารมาตา ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้

ก็มิได้เชื่อฟัง

เมื่อนางวิสาขา มิคารมาตา กลับไปแล้ว ได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่าน

พระอุทายีจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง ซึ่งพอจะทำการ

ได้กับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่งเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น แด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 664

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอสำเร็จการนั่งในที่ลับ คือใน

อาสนะกำบัง ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่ง จริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับ ว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ดูก่อนโมฆบุรุษ ไฉนเธอจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ คือ

ในอาสนะกำบัง ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่งเล่า การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดย

ที่แท้ การกระทำของเธอนั้น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชน

ที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส

แล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริ-

ยาย ดังนี้แล้วตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุง

ยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี

ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคน

บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนก-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 665

ปริยายแล้วทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่

เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่

ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อ

ป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิด

ในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อ

ความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่ง

พระสัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๘. ๑. อนึ่ง ภิกษุใดรูปเดียว สำเร็จการนั่งในที่ลับ คือใน

อาสนะกำบัง พอจะทำการได้มาตุคามผู้เดียว อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อ

ได้ เห็นภิกษุกับมาตุคามนั้นนั่นแล้ว พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการ

อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วยปาราชิกก็ดี ด้วยสังฆาทิเสสก็ดี ด้วย

ปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุปฏิญาณซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วยธรรม ๓ ประการ

อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วยปาราชิกบ้าง ด้วยสังฆาทิเสสบ้าง ด้วย

ปาจิตตีย์บ้าง อีกอย่างหนึ่ง อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น กล่าวด้วย

ธรรมใด ภิกษุนั้นพิงถูกปรับด้วยธรรมนั้น ธรรมนี้ชื่อ อนิยต.

เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 666

สิกขาบทวิภังค์

[๖๓๓] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียง

กันอุปสมบทให้ ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ

บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติ

จตุตถกรรมอันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์

ในอรรถนี้.

ที่ชื่อว่า มาตุคาม ได้แก่ หญิงมนุษย์ไม่ใช่หญิงยักษ์ ไม่ไช่หญิง

เปรต ไม่ใช่สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย โดยที่สุด แม้เด็กหญิงที่เกิดในวันนั้น

ไม่ต้องพูดถึงสตรีผู้ใหญ่.

บทว่า กับ คือ ร่วมกัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 667

คำว่า รูปเดียว...ผู้เดียว ได้แก่ ภิกษุ ๑ มาตุคาม ๑

ที่ชื่อว่า ในที่ลับ ได้แก่ ที่ลับตา ๑ ที่ลับหู ๑

ที่ลับตา ได้แก่ที่ซึ่งเมื่อภิกษุหรือมาตุคามขยิบตา ยักคิ้ว หรือ

ชูศีรษะไม่มีใครสามารถจะแลเห็นได้

ทีลับหู ได้แก่ที่ซึ่งไม่มีใครสามารถจะได้ยินถ้อยคำที่พูดตามปกติได้

อาสนะทึ่ชื่อว่า กำบัง คือ เป็นอาสนะที่เขากำบังด้วยฝา บานประตู

เสื่อลำแพน ม่านบัง ต้นไม้ เสา หรือฉาง อย่างใดอย่างหนึ่ง.

บทว่า พอจะทำการได้ คือ อาจเพื่อจะเสพเมถุนธรรมได้

คำว่า สำเร็จการนั่ง หมายความว่า เมื่อมาตุคามนั่งแล้ว ภิกษุ

นั่งใกล้หรือนอนใกล้ก็ดี เมื่อภิกษุนั่งแล้ว มาตุคามนั่งใกล้ หรือนอน

ใกล้ก็ดี นั่งทั้งสองคนหรือนอนทั้งสองคนก็ดี.

[๖๓๔] อุบาสิกาที่ชื่อว่า มีวาจาที่เชื่อได้ คือ เป็นสตรีผู้บรรลุผล

ผู้ตรัสรู้ธรรม ผู้เข้าใจศาสนาดี

ที่ชื่อว่า อุบาสิกา ได้แก่ สตรีผู้ถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ผู้ถึง

พระธรรมเป็นสรณะ ผู้ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ.

บทว่า เห็น คือ พบ.

[๖๓๕] อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้เช่นนั้น พึงพูดขึ้นด้วยธรรม

๓ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วยปาราชิกก็ดี ด้วยสังฆาทิเสส

ก็ดี ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุปฏิญาณซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วยธรรม

๓ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วยปาราชิกบ้าง ด้วยสังฆาทิเสส

บ้าง ด้วยปาจิตตีย์บ้าง อีกประการหนึ่ง อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น

กล่าวด้วยธรรมใด ภิกษุนั้นพึงถูกปรับด้วยธรรมนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 668

ปฏิญญาตกรณะ

เห็นนั่งกำลังเสพเมถุนธรรม

[๖๓๖] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่ง

กำลังเสพเมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนั่งนั้น พึงปรับ

ตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังเสพ

เมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้านั่งจริง แต่ไม่

ได้เสพเมถุนธรรมเลย ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังเสพ

เมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง

ข้าพเจ้านอนอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังเสพ

เมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง

ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

เห็นนอนกำลังเสพเมถุนธรรม

[๖๓๗] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

นอนกำลังเสพเมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนอนนั้น

พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

เสพเมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้านอนจริง

แต่ไม่ได้เสพเมถุนธรรมเลย ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 669

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลังเสพ

เมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน

ข้าพเจ้านั่งอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

เสพเมถุนธรรมในมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน

ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

เห็นนั่งกำลังถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย

[๖๓๘] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

นั่งกำลังถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการ

นั่งนั้น พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นั่งจริง แต่ไม่ได้ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นั่ง ข้าพเจ้านอนอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นั่ง ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 670

เห็นนอนกำลังถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย

[๖๓๙] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

นอนกำลังถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการ

นอนนั้น พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นอนจริง แต่ไม่ได้ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย ดังนี้ พึงปรับเพราะการ

นอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นอน ข้าพเจ้านั่งอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นอน ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

เห็นนั่งในที่ลับ

[๖๔๐] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

รูปเดียวนั่งในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคาม

ผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนั่งนั้น พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียวนั่ง

ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคามผู้เดียว

ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง ข้าพเจ้านอนอยู่ต่างหาก ดังนี้

พึงปรับเพราะการนอน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 671

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียวนั่ง

ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคามผู้เดียว

ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้

ไม่พึงปรับ.

เห็นนอนในที่ลับ

[๖๔๑] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

รูปเดียวนอนในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคาม

ผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนอนนั้น พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียวนอน

ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุ

นั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน ข้าพเจ้านั่งต่างหาก ดังนี้ พึง

ปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียวนอน

ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุ

นั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้

ไม่พึงปรับ.

[๖๔๒] บทว่า อนิยต แปลว่า ไม่แน่นอน คือ เป็นปาราชิก

ก็ได้ เป็นสังฆาทิเสสก็ได้ เป็นปาจิตตีย์ก็ได้.

บทภาชนีย์

[๖๔๓] ภิกษุปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ

พึงปรับตามอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 672

ภิกษุปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

ตามอาบัติ

ภิกษุปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

เพราะการนั่ง

ภิกษุปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ ไม่พึง

ปรับ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

ตามอาบัติ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

ตามอาบัติ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

เพราะการนั่ง

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ

ไม่พึงปรับ

อนิยตสิกขาบทที่ ๑ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 673

อนิยตกัณฑวรรณนา

ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! อนึ่ง ธรรม คือ อนิยต ๒ สิกขาบทนี้แล

ย่อมมาสู่อุเทศ.

พรรณนาอนิยตสิกขาบทที่ ๑

อนิยตสิกขาบทที่ ๑ ว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:- ในอนิยตสิกขาบทที่ ๑ นั้น มีวินิจฉัยดังต่อ

ไปนี้:-

[แก้อรรถมูลเหตุแห่งปฐมบัญญัติเป็นต้น]

คำว่า กาลยุตฺต สมุลฺลปนฺโต มีความว่า กำหนดกาลแล้ว

กล่าวถ้อยคำเกี่ยวด้วยเรื่องชาวบ้าน ในเวลาที่ใคร ๆ ไม่เดินผ่านไปหรือ

เดินผ่านมาที่ใกล้ คือ ตามที่เหมาะแก่เวลาเช่นนั้น มีอาทิว่า เธอไม่

กลุ้มใจ ไม่ลำบากใจ ไม่อดอยากละหรือ ?

คำว่า กาลยุตฺต ธมฺม ภณนฺโต มีความว่า กำหนดกาลแล้ว

กล่าวธรรมกถา ในเวลาที่ใครคนอื่นเดินผ่านมา หรือเดินผ่านไป คือ

ตามที่เหมาะแก่เวลาเช่นนั้น มีอาทิว่า เธอควรทำอุโบสถ, เธอควรถวาย

สลากภัต ดังนี้

นางวิสาขานั้น ชื่อว่า มีบุตรมาก เพราะนางมีธิดาและบุตรมาก

ได้ยินว่า นางมีบุตรชาย ๑๐ คน และบุตรหญิง ๑๐ คน. ชื่อว่า

มีนัดดามาก เพราะนางมีหลานมาก. เหมือนอย่างว่า นางวิสาขานั้น

มีบุตรชายหญิง ๒๐ คน ฉันใดแล, แม้บุตรชายหญิงของนางก็มีทารก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 674

คนละ ๒๐ คน ฉันนั้น. นางจึงได้ชื่อว่า มีลูกและหลานเป็นบริวาร

๔๒๐ คน ด้วยประการอย่างนี้.

บทว่า อภิมงฺคลสมฺมตา คือ ผู้อันชาวโลกสมมติว่าเป็นอุดม-

มงคล.

บทว่า ยญฺเสุ คือ ในทานน้อยและทานใหญ่

บทว่า ฉเณสุ คือ ในงานมหรสพอันเป็นไปเป็นครั้งคราว มี

อาวาหมงคลและวิวาหมงคลเป็นต้น.

บทว่า อุสฺสเวสุ ได้แก่ ในงานมหรสพฉลอง (สมโภช) มี

อาสาฬหนักขัตฤกษ์ และปวารณานักขัตฤกษ์เป็นต้น (งานฉลองนัก-

ขัตฤกษ์วันเข้าพรรษาและวันออกพรรษา).

บทว่า ปม โภเชนฺติ มีความว่า ชนทั้งหลาย เชิญให้รับประทาน'

ก่อน พลางขอพรว่า เด็กแม้เหล่านี้ จงเป็นผู้ไม่มีโรคมีอายุยืน เสมอ

ด้วยท่านเถิด ดังนี้. แม้ชนเหล่าใด เป็นผู้มีศรัทธาเลื่อมใส, ชนเหล่านั้น

ให้ภิกษุทั้งหลายฉันแล้ว จึงเชิญนางวิสาขานั้นแล ให้รับประทานก่อน

ทั้งปวง ในลำดับที่ภิกษุฉันแล้วนั้น.

บทว่า น อาทิยิ มีความว่า พระอุทายีเถระ ไม่เชื่อฟังคำของนาง.

อีกอย่างหนึ่ง ความว่า ไม่กระทำความเอื้อเฟื้อ.

บทว่า อลกมฺมนิเย มีวิเคราะห์ว่า ที่นั่งที่ชื่อว่า กัมมนิยะ

เพราะอรรถว่า ควรแก่กรรม คือ เหมาะแก่กรรม. ที่ชื่อว่า อสังกัมมนิยะ

เพราะอรรถว่า อาจ สามารถ เพื่อทำการได้ ในอาสนะกำบังซึ่งพอจะ

ทำการได้นั้น. ความว่า ในสถานที่อย่างที่ชนทั้งหลาย เมื่อจะทำอัชฌาจาร

อาจทำกรรมนั้นได้. ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 675

อลกมฺมนิเย นั้น ท่านจึงกล่าวว่า อาจจะเสพเมถุนธรรมไม่ได้. มีคำอธิบายว่า

ในที่ซึ่งอาจจะเสพเมถุนธรรมได้.

สองบทว่า นิสชฺช กปฺเปยฺย ได้แก่ พึงทำการนั่ง. อธิบายว่า

พึงนั่ง. ก็เพราะบุคคลนั่งก่อน แล้วจึงนอน ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสการนั่งและการนอนทั้งสองไว้ ในบทภาชนะแห่งบทว่า นิสชฺช

กปฺเปยฺย นั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุปนิสินฺโน มีความว่า บุคคลผู้เข้า

ไปนั่งใกล้ ๆ นั่นแล ผู้ศึกษา พึงทราบว่า นอนใกล้.

สองบทว่า ภิกฺขุ นิสินฺเน ความว่า เมื่อภิกษุนั่งแล้ว.

สองบทว่า อุโภ วา นิสินฺนา มีความว่า แม้ ๒ คน นั่งไม่

หลังไม่ก่อนกัน (นั่งพร้อม ๆ).

ก็ในสิกขาบทที่ ๑ นี้ คำว่า ที่ลับหู ไม่ได้มาในพระบาลีแม้ก็จริง.

ถึงอย่างนั้น พึงทราบการกำหนด (อาบัติ) ด้วยที่ลับตาเท่านั้น. หากว่า

มีบุรุษรู้เดียงสานั่งอยู่ใกล้ประตูห้องซึ่งปิดบานประตูไว้ก็คุ้มอาบัติไม่ได้เลย.

แต่ถ้านั่งใกล้ประตูห้องที่ไม่ได้ปิดบานประตูคุ้มอาบัติได้. และใช่แต่ที่ใกล้

ประตูอย่างเดียวหามิได้, แม้นั่งในโอกาสภายใน ๑๒ ศอก ถ้าเป็นคนตาดี

มีจิตฟุ้งซ่านบ้าง เคลิ้มไปบ้าง ก็คุ้มอาบัติได้ คนตาบอด แม้ยืนอยู่

ในที่ใกล้ ก็คุ้มอาบัติไม่ได้. ถึงคนตาดี นอนหลับเสีย ก็คุ้มอาบัติไม่ได้.

ส่วนสตรีแม้ตั้ง ๑๐๐ คน ก็คุ้มอาบัติไม่ได้เลย.

บทว่า สทฺเธยฺยวจสา แปลว่า มีวาจาควรเชื่อถือได้. ก็เพราะ

อุบาสิกานั้นเป็นถึงอริยสาวิกา ด้วยเหตุนั้นนั่นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 676

จึงตรัสว่า อาคตผลา เป็นต้นไว้ ในบทภาชนะแห่งบทว่า สทฺเธยฺยวจสา

นั้น.

ในคำว่า อาคตผลา เป็นต้นนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:- อุบาสิกานั้น

ชื่อว่า อาคตผลา เพราะว่า มีผลอันมาแล้ว. อธิบายว่า ผู้ได้โสดา-

ปัตติผลแล้ว.

บทว่า อภิสเมตาวินี คือ ผู้ได้ตรัสรู้สัจจะ ๔. อุบาสิกานี้ เข้าใจ

ศาสนา คือ ไตรสิกขาดี; เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ผู้เข้าใจศาสนาดี

ข้อว่า นิสชฺช ภิกฺขุ ปฏิชานมาโน มีความว่า อุบาสิกาเช่นนี้

เห็นแล้วจึงพูด แม้ก็จริง, ถึงอย่างนั้น ภิกษุปฏิญญาการนั่งอย่างเดียว

พระวินัยธรพึงปรับด้วยธรรม ๓ อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อเธอไม่ปฏิญญา

ไม่พึงปรับ.

ข้อว่า อีกประการหนึ่ง อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น กล่าวด้วย

ธรรมใด ภิกษุนั้น พึงถูกปรับด้วยธรรมนั้น มีความว่า อุบาสิกานั้น

ยกเรื่องเมถุนธรรมเป็นต้นขึ้น พร้อมด้วยอาการมีการนั่งเป็นต้น อาการ

อย่างใด, ภิกษุนั้น ก็ปฏิญญาด้วย พึงถูกปรับด้วยอาการอย่างนั้น.

อธิบายว่า ไม่พึงปรับด้วยอาการสักว่าถ้อยคำของอุบาสิกาแม้เห็นปานนี้.

ถามว่า เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพราะธรรมดาว่า เรื่องที่เห็นเป็นอย่างนั้นก็มี เป็น

อย่างอื่นก็มี, ก็เพื่อประกาศเนื้อความนั้น พระอาจารย์ทั้งหลาย จึงนำ

เรื่องมาเป็นอุทาหรณ์ดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 677

[เรื่องพระขีณาสพเถระนั่งกับมาตุคาม]

ได้ทราบว่า ในมัลลารามวิหาร พระเถระผู้ขีณาสพรูปหนึ่งไปสู่

ตระกูลอุปัฏฐาก ในวันหนึ่ง นั่งแล้ว ณ ภายในเรือน. ฝ่ายอุบาสิกาก็ยืน

พิงบัลลังก์สำหรับนอน. ลำดับนั้น ภิกษุถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตรรูปหนึ่ง

ยืนที่ใกล้ประตู เห็นเข้า ได้ความสำคัญว่า พระเถระนั่งบนอาสนะเดียว

กันกับอุบาสิกา จึงมองดูบ่อย ๆ. แม้พระเถระก็กำหนดรู้ว่า ภิกษุรูปนี้

เกิดเป็นผู้มีความเข้าใจในเราว่าไม่บริสุทธิ์ ทำภัตกิจแล้วไปยังวิหาร เข้า

ไปสู่ที่อยู่ของตนแล้วนั่งอยู่ ภายในนั่นเอง. ภิกษุรูปนั้นมาแล้วด้วย

ตั้งใจว่า เราจักโจทพระเถระ กระแอมแล้วเปิดประตู. พระเถระทราบ

จิตของเธอ จึงเหาะขึ้นบนอากาศ นั่งโดยบัลลังก์พิงช่อฟ้าเรือนยอด.

แม้ภิกษุนั้นเข้าไปภายใน ตรวจดูเตียงและภายใต้เตียงไม่เห็นพระเถระ

จึงแหงนดูเบื้องบน ลำดับนั้น ท่านเห็นพระเถระนั่งอยู่บนอากาศ จึง

กล่าวว่า ท่านขอรับ ! ท่านชื่อว่า มีฤทธิ์มากอย่างนี้ ขอจงให้บอกความ

ที่ท่านนั่งบนอาสนะเดียวกับมาตุคามมาก่อนเถิด. พระเถระจึงกล่าวว่า

ท่านผู้มีอายุ ! นี้เป็นโทษของละแวกบ้าน แต่เราไม่อาจให้ท่านเชื่อได้

จึงได้กระทำอย่างนี้, ท่านควรจะช่วยรักษาเราไว้ด้วย, พระเถระกล่าวอย่าง

นี้แล้วก็ลง.

ต่อจากนี้ไป คำว่า สา เจ เอว วเทยฺย เป็นต้นทั้งหมด

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส เพื่อแสดงอาการแห่งเหตุของการปฏิญญา.

[พึงปรับอาบัติตามปฏิญญาของภิกษุ]

บรรดาบทเหล่านั้น หลายบทว่า มาตุคามสฺส เมถุน ธมฺม

ปฏิเสวนฺโต มีความว่า ผู้เสพเมถุนธรรมในมรรคของมาตุคาม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 678

คำว่า นิสชฺชาย กาเรตพฺโพ มีความว่า ภิกษุปฏิญญาการนั่งแล้ว

ไม่ปฏิญญาการเสพเมถุนธรรม อย่าปรับด้วยอาบัติเมถุนธรรมปาราชิก

พึงปรับด้วยอาบัติที่ต้องด้วยเหตุสักว่านั่ง. อธิบายว่า พึงปรับด้วยอาบัติ

ปาจิตตีย์. พึงทราบวินิจฉัยในจตุกกะทั้งหมดโดยนัยนี้.

บรรดาบทมีบทว่า คมน ปฏิชานาติ เป็นต้นที่ตรัสไว้ เพื่อทรง

แสดงการกำหนดอาบัติ และอนาบัติ ในสุดท้ายแห่งสิกขาบท. สองบทว่า

คมน ปิฏิซานาติ มีความว่า ย่อมปฏิญญาการเดินอย่างนี้ว่า เราเป็น

ผู้เดินไปเพื่อยินดีการนั่งในที่ลับ

บทว่า นิสฺชฺช มีความว่า ย่อมปฏิญญาซึ่งการนั่งด้วยความยินดี

ในการนั่งเท่านั้น.

บทว่า อาปตฺตึ ได้แก่ บรรดาอาบัติทั้ง ๓ อาบัติอย่างใดอย่าง

หนึ่ง.

สองบทว่า อาปตฺติยา กาเรตพฺโพ มีความว่า บรรดาอาบัติ

ทั้ง ๓ พึงปรับด้วยอาบัติที่ภิกษุปฎิญญา.

คำที่เหลือในจตุกกะในสิกขาบทนี้ มีอธิบายตื้นทั้งนั้น.

ส่วนในทุติยจตุกกะ มีวินิจฉัยดังนี้:-

สองบทว่า คมน น ปฏิชานาติ มีความว่า ย่อมไม่ปฎิญญาด้วย

อำนาจแห่งความยินดีการนั่งในที่ลับ ย่อมกล่าวว่า เราไปด้วยการงาน

ส่วนตัว มีสลากภัตเป็นต้น, ส่วนอุบาสิกานั้น มาสู่สถานที่เรานั่งเอง.

บทที่เหลือ แม้ในทุติจตุกกะนี้ ก็มีอธิบายตื้นเหมือนกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 679

แต่บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในจตุกกะทั้งปวง ดังต่อไปนี้:-

กิเลสที่อาศัยเมถุนธรรม ตรัสเรียกว่า ความยินดีการนั่งในที่ลับ.

ภิกษุใด ใคร่จะไปยังสำนักแห่งมาตุคามด้วยความยินดีนั้นหยอดนัยน์ตา

ต้องทุกกฏ. นุ่งผ้านุ่ง คาดประคดเอว ห่มจีวร เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ประโยค

ในจตุกกะทั้งปวง. เมื่อเดินไป เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ย่างเท้า. เดินไปแล้วนั่ง

เป็นทุกกฏอย่างเดียว, พอเมื่อมาตุคามมานั่ง เป็นปาจิตตีย์. ถ้าหญิงนั้น

ผุดลุกผุดนั่ง ด้วยกรณียกิจบางอย่าง เป็นปาจิตตีย์ ในการนั่งทุก ๆ ครั้ง.

ภิกษุมุ่งหมายไปหาหญิงใด ไม่พบหญิงนั้น, หญิงอื่นมานั่ง เมื่อเกิดความ

ยินดี ก็เป็นปาจิตตีย์. แต่ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวว่า เพราะมีจิต

ไม่บริสุทธิ์ตั้งแต่เวลามา เป็นอาบัติเหมือนกัน ถ้าหญิงมามากคนด้วยกัน,

เป็นปาจิตตีย์ตามจำนวนผู้หญิง. ถ้าพวกผู้หญิงเหล่านั้นผุดลุกผุดนั่ง

บ่อย ๆ เป็นปาจิตตีย์หลายตัว ตามจำนวนกับกิริยาที่นั่ง. แม้เมื่อภิกษุไม่

กำหนดไว้ไปนั่งด้วยตั้งใจว่า เราจักสำเร็จความยินดีในที่ลับกับหญิงที่เรา

พบแล้ว ๆ ดังนี้. บัณฑิตพึงทราบอาบัติหลายตัว ด้วยสามารถแห่งหญิง

ทั้งหลายผู้มาแล้ว ๆ และด้วยอำนาจการนั่งบ่อยครั้ง โดยนัยดังกล่าวแล้ว

นั้นแล. ถ้าแม้นว่า ภิกษุไปนั่งด้วยจิตบริสุทธิ์ เกิดความยินดีในที่ลับ

กับหญิงผู้มายังสำนักแล้วนั่ง, ไม่เป็นอาบัติเลย. สมุฏฐานเป็นต้น เป็น

เช่นเดียวกันกับปฐมปาราชิกสิกขาบททีเดียวแล.

พรรณนาอนิยตสิกขาบทที่ ๑ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 680

อนิยตสิกขาบทที่ ๒

เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา มิคารมาตา

[๖๔๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระ-

อุทายีดำริว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามการสำเร็จการนั่งในที่ลับ คือ

ในอาสนะกำบัง พอจะทำการได้ กับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่ง จึงสำเร็จ

การนั่งในที่ลับ กับสาวน้อยคนนั้นแล หนึ่งต่อหนึ่ง เจรจากล่าวธรรมอยู่

ควรแก่เวลา

แม้ครั้งที่สองแล นางวิสาขา มิคารมาตา ก็ได้ถูกเชิญไปสู่สกุลนั้น

นางได้เห็นท่านพระอุทายีนั่งในที่ลับ กับสาวน้อยนั้นแล หนึ่งต่อหนึ่ง

ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอุทายีว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า การที่พระ-

คุณเจ้านั่งในที่ลับกับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่งเช่นนี้ ไม่เหมาะ ไม่ควร

พระคุณเจ้าแม้ไม่ต้องการด้วยธรรมนั้นก็จริง ถึงอย่างนั้น พวกชาวบ้าน

ผู้ที่ไม่เลื่อมใส จงบอกให้เชื่อได้โดยยาก

ท่านพระอุทายี แม้ถูกนางวิสาขา มิคารมาตา ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้

ก็มิได้เชื่อฟัง

เมื่อนางวิสาขา มิคารมาตากลับไปแล้ว ได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย

บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่าน

พระอุทายีจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ กับมาตุคาม หนึ่งต่อหนึ่งเล่า แล้ว

กราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 681

ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอสำเร็จการนั่งในที่ลับ กับมาตุคาม

หนึ่งต่อหนึ่ง จริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของ

เธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ดูก่อนโมฆบุรุษ ไฉนเธอจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับกับ

มาตุคามหนึ่งต่อหนึ่งเล่า การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุม-

ชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความ

ไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการ

ที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

แล้วทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 682

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑

เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันบังเกิด

ในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักเกิดในอนาคต เพื่อความเลื่อมใส

ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อม

ใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๙. ๒. อนึ่ง สถานหาเป็นอาสนะกำบังไม่เลยทีเดียว หาเป็น

ที่พอจะทำการได้ไม่ แต่เป็นที่พอจะพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่ว

หยาบได้อยู่ แลภิกษุใดรูปเดียว สำเร็จการนั่งในที่ลับ กับด้วย

มาตุคามผู้เดียว ในอาสนะมีรูปอย่างนั้น อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้

เห็นภิกษุกับมาตุคามนั้นนั่นแล้ว พูดขึ้นด้วยธรรม ๒ ประการ อย่าง

ใดอย่างหนึ่ง คือด้วยสังฆาทิเสสก็ดี ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุปฏิญาณ

ซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วยธรรม ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วย

สังฆาทิเสสบ้าง ด้วยปาจิตตีย์บ้าง อีกอย่างหนึ่ง อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อ

ได้นั้นกล่าวด้วยธรรมใด ภิกษุนั้นพึงถูกปรับด้วยธรรมนั้น แม้ธรรมนี้

ก็ชื่อ อนิยต.

เรื่องพระอุทายี กับนางวิสาขา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 683

สิกขาบทวิภังค์

็ [๖๔๕] คำว่า อนึ่ง สถานหาเป็นอาสนะกำบังไม่เลยทีเดียว

อธิบายว่า อาสนะเป็นที่เปิดเผย คือ เป็นสถานที่มิได้กำบังด้วยฝา

บานประตู เสื่อลำแพน ม่านบัง ต้นไม้ เสา หรือฉาง อย่างใด

อย่างหนึ่ง.

บทว่า หาเป็นที่พอจะทำการได้ไม่ คือ ไม่อาจเสพเมถุนธรรมได้

คำว่า แต่เป็นที่พอจะพูดเคาะมาตุคาม ด้วยวาจาชั่วหยาบได้อยู่

คือ อาจจะพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบได้.

[๖๔๖] บทว่า แล...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ดีตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า แล...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา

ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียง

กันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 684

ภิกษุเหล่านี้นั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้ .

บทว่า ในอาสนะมีรูปอย่างนั้น คือ ในอาสนะเห็นปานนั้น.

ที่ชื่อว่า มาตุคาม ได้แก่ หญิงมนุษย์ ไม่ใช่หญิงยักษ์ ไม่ใช่

หญิงเปรต ไม่ใช่สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย เป็นสตรีผู้รู้เดียงสา สามารถซาบซึ้ง

ถึงถ้อยคำ เป็นสุภาษิต ทุรภาษิต วาจาชั่วหยาบ และสุภาพ.

บทว่า กับ คือ ร่วมกัน.

คำว่า รูปเดียว...ผู้เดียว ได้แก่ ภิกษุ ๑ มาตุคาม ๑.

ที่ชื่อว่า ในที่ลับ ได้แก่ ที่ลับตา ๑ ที่ลับหู ๑ ที่ลับตา ได้แก่

สถานที่ซึ่งเมื่อภิกษุ หรือมาตุคาม ขยิบตา ยักคิ้ว หรือชูศีรษะไม่มีใคร

สามารถจะแลเห็นได้.

ที่ลับหู ได้แก่ สถานที่ซึ่งไม่มีใครสามารถได้ยินถ้อยคำที่พูดตาม

ปกติได้.

คำว่า สำเร็จการนั่ง หมายความว่า เมื่อมาตุคามนั่งแล้ว ภิกษุ

นั่งใกล้หรือนอนใกล้ก็ดี เมื่อภิกษุนั่งแล้ว มาตุคามนั่งใกล้ หรือนอนใกล้

ก็ดี นั่งทั้งสองคน หรือนอนทั้งสองคนก็ดี.

[๖๔๗] อุบาสิกาที่ชื่อว่า มีวาจาเชื่อได้ คือ เป็นสตรีผู้บรรลุผล

ผู้ตรัสรู้ธรรม ผู้เข้าใจศาสนาดี.

ที่ชื่อว่า อุบาสิกา ได้แก่ สตรีผู้ถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ผู้ถึง

พระธรรมเป็นสรณะ ผู้ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ.

บทว่า เห็น คือ พบ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 685

[๖๔๘] อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้เช่นนั้น พึงพูดขึ้นด้วยธรรม

๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือด้วยสังฆาทิเสสก็ดี ด้วยปาจิตตีย์

ก็ดี ภิกษุปฏิญาณซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วยธรรม ๒ ประการ อย่างใด

อย่างหนึ่ง คือ ด้วยสังฆาทิเสสบ้าง ด้วยปาจิตตีย์บ้าง อีกประการหนึ่ง

อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น กล่าวด้วยธรรมใด ภิกษุนั้นพึงถูกปรับด้วย

ธรรมนั้น.

ปฏิญญาตกรณะ

เห็นนั่งกำลังเคล้าคลึง

[๖๔๙] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนั่งนั้น พึง

ปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นั่งจริง แต่ไม่ได้ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่

ได้นั่ง ข้าพเจ้านอนอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านั่งกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นั่ง ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 686

เห็นนอนกำลังเคล้าคลึง

[๖๕๐] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

นอนกำลังเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนอนนั้น

พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลังถึง

ความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นนอนจริง แต่ไม่ได้ถึงความ

เคล้าคลึงด้วยกาย ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงกายกับมาตุคาม ภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้

นอน ข้าพเจ้านั่งอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้านอนกำลัง

ถึงความเคล้าคลึงด้วยกายกับมาตุคาม ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ยืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

ได้ยินนั่งกำลังเคาะ

[๖๕๑] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้า

นั่งกำลังพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนั่งนั้น

พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านั่งกำลัง

พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นั่งจริง แต่ไม่ได้พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ดังนี้ พึงปรับ

เพราะการนั่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 687

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านั่งกำลัง

พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นอนอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านั่งกำลังพูด

เคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่

ได้นั่ง ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

ได้ยินนอนกำลังพูดเคาะ

[๖๕๒] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้า

นอนกำลังพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการ

นอนนั้น พึงปรับตามอาบัติ

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านอนกำลัง

พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

นอนจริง แต่ไม่ได้พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ดังนี้ พึงปรับ

เพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านอนกำลัง

พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นอน ข้าพเจ้านั่งอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันได้ยินพระคุณเจ้านอนกำลัง

พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชั่วหยาบ ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้า

ไม่ได้นอน ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 688

เห็นนั่งในที่ลับ

[๖๕๓] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้า

รูปเดียว นั่งในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนั่งนั้น

พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียว นั่ง

ในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง

ข้าพเจ้านอนอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียว นั่ง

ในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นั่ง

ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

เห็นนอนในที่ลับ

[๖๕๔] หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉัน เห็นพระคุณเจ้า

รูปเดียว นอนในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นปฏิญาณการนอนนั้น

พึงปรับเพราะการนอน

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียว

นอนในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน

ข้าพเจ้านั่งอยู่ต่างหาก ดังนี้ พึงปรับเพราะการนั่ง

หากอุบาสิกานั้นพูดขึ้นอย่างนี้ว่า ดิฉันเห็นพระคุณเจ้ารูปเดียว นอน

ในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว ถ้าภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้นอน

ข้าพเจ้ายืนอยู่ต่างหาก ดังนี้ ไม่พึงปรับ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 689

[๖๕๕] บทว่า แม้นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเท้าถึงสิกขาบทก่อน.

บทว่า อนิยต แปลว่า ไม่แน่นอน คือ เป็นสังฆาทิเสสก็ได้ เป็น

ปาจิตตีย์ก็ได้.

บทภาชนีย์

[๖๕๖] ภิกษุปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ

พึงปรับตามอาบัติ

ภิกษุปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

ตามอาบัติ

ภิกษุปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

เพราะการนั่ง

ภิกษุปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ ไม่

พึงปรับ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

ตามอาบัติ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ปฏิญาณอาบัติ พึง

ปรับตามอาบัติ

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ พึงปรับ

เพราะการนั่ง

ภิกษุไม่ปฏิญาณการไป ไม่ปฏิญาณการนั่ง ไม่ปฏิญาณอาบัติ

ไม่พึงปรับ.

อนิยตสิกขาบทที่ ๒ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 690

บทสรุป

[๖๕๗] ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมคืออนิยต ๒ สิกขาบท ข้าพเจ้า

ยกขึ้นแสดงแล้วแล ข้าพเจ้าขอถามท่านทั้งหลายในธรรม คือ อนิยต ๒

สิกขาบทเหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ข้าพเจ้าขอถาม

แม้ครั้งที่สองว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ข้าพเจ้าขอถามแม้

ครั้งที่สามว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ท่านทั้งหลายเป็นผู้

บริสุทธิ์แล้วในธรรม คือ อนิยต ๒ สิกขาบทเหล่านี้ เหตุนั้น จึงนิ่ง

ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

อนิยตภัณฑ์ จบ

หัวข้อประจำเรื่อง

อนิยต ๒ สิกขาบท คือ นั่งในที่ลับพอจะทำการได้ ๑ แลนั่ง

ในที่เช่นนั้น แต่หาเป็นที่พอจะทำการได้ไม่ ๑ พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ

ผู้คงที่ ทรงบัญญัติไว้ดีแล้ว ดังนี้แล.

พรรณนาอนิยตสิกขาบทที่ ๒

อนิยตสิกขาบทที่ ๒ ว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นต้น

ข้าพเจ้าจะขอกล่าวต่อไป:- ในอนิยตสิกขาบทที่ ๒ นั้น มีวินิจฉัยดัง

ต่อไปนี้ :-

ไม่คำว่า ภควตา ปฏิกฺขิตฺต เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงทราบสัมพันธ์

อย่างนี้ว่า ภิกษุรูปเดียว พึงสำเร็จการนั่งใด ในที่ลับ คือ อาสนะกำบัง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 691

พอจะทำการได้กับมาตุคามผู้เดียว, พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามการสำเร็จ

การนั่งนั้น. จริงอยู่ เมื่อจะถือเอาใจความโดยประการอื่นควรจะตรัสว่า

เอกสฺส เอกาย.

ถามว่า เพราะเหตุไร ?

ตอบว่า เพราะท่านกล่าวคำว่า ทรงห้ามแล้ว.

อีกอย่างหนึ่ง คำว่า เอโก นี้ พึงทราบว่า เป็นปฐมาวิภัตติลง

ในอรรถแห่งฉัฏฐีวิภัตติ.

[อธิบายว่าด้วยสถานที่ลับทำให้ต้องอาบัติ]

ก็ในคำว่า น เหว โข ปน ปฏิจฺฉนฺน นี้ แม้สถานที่ล้อม

ในภายนอก ภายในเปิดเผย มีบริเวณสนามเป็นต้น ก็พึงทราบว่า

รวมเข้าในภายใน (นับเนื่องในสถานที่ไม่กำบัง). ท่านกล่าวไว้ในมหา-

ปัจจรีว่า สถานที่แม้เห็นปานนี้ นับเข้าในที่ไม่กำบังทีเดียว. คำที่เหลือ

พึงทราบโดยนัยแห่งสิกขาบทที่ ๑ นั่นแล. ก็ในสิกขาบทนี้มีความแปลก

กันเพียงอย่างเดียวนี้ว่า คนรู้เดียงสาผู้หนึ่งผู้ใดเป็นหญิงก็ตาม ชายก็ตาม

ไม่เป็นคนตาบอด และหูหนวก ยืนหรือนั่งอยู่ในโอกาสภายใน ๑๒ ศอก

มีจิตฟุ้งซ่านไปบ้าง เคลิ้มไปบ้าง ก็คุ้มอาบัติได้. ส่วนคนหูหนวก แม้

มีตาดี หรือคนตาบอดแม้หูไม่หนวก ก็คุ้มไม่ได้. และพระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงลดอาบัติปาราชิกลงมา ปรับอาบัติเพราะวาจาชั่วหยาบ. คำที่เหลือ

เป็นเช่นกับสิกขาบทก่อนนั่นแล. แม้ในสิกขาบททั้งสอง ไม่เป็นอาบัติ

แก่ภิกษุบ้า และภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 692

ในสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๓ เกิดจากกายกับ

จิต วาจากับจิต กายวาจากันจิต เป็นกิริยา เป็นสัญญาวิโมกข์ เป็น

สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต มีเวทนา ๒ โดย

เป็นสุขเวทนาและอุเบกขาเวทนา บทที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้นแล.

อนิยตวรรณนาในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

ปฐมสมันตปาสาทิกา วินัยวรรณนา จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 693

มหาวิภังค์ ทุตยภาค

นิสสัคคิยกัณฑ์

ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคือนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบท

เหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๑

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ โคตมก -

เจดีย์* เขตพระนครเวสาลี ครั้งนั้น พระองค์ทรงอนุญาตไตรจีวรแก่ภิกษุ

ทั้งหลายแล้ว พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไตร-

จีวรแล้ว จึงครองไตรจีวรเข้าบ้านสำรับหนึ่ง อยู่ในอารามอีกสำรับหนึ่ง

สรงน้ำอีกสำรับหนึ่ง

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์ จึง

ได้ทรงจีวรเกินหนึ่งสำรับเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์สอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมสงฆ์ ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุเเรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์

* วิหารที่เขาสร้างไว้ ณ เจติยสถานของโคตมกยักษ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 694

ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอทรงจีวรเกินหนึ่งสำรับจริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวภเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ทรงจีวรเกินหนึ่ง

สำรับเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใส

ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่

เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลี่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 695

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๒๐. ๑. อนึ่ง ภิกษุใดทรงอดิเรกจีวร เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้ว แก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

พระอนุบัญญัติ

เรื่องพระอานนท์

[๒] ก็โดยสมัยนั้นแล อดิเรกจีวรที่เกิดแก่ท่านพระอานนท์มีอยู่

และท่านประสงค์จะถวายจีวรนั้นแก่ท่านพระสารีบุตร แก่ท่านพระสารี-

บุตรอยู่ถึงเมืองสาเกต จึงท่านพระอานนท์มีความปริวิตกว่า พระผู้มี-

พระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ว่า ภิกษุไม่พึงทรงอดิเรกจีวร ก็นี่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 696

อดิเรกจีวรบังเกิดแก่เรา และเราก็ใคร่จะถวายแก่ท่านพระสารีบุตร แต่

ท่านอยู่ถึงเมืองสาเกต เราจะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอ ครั้นแล้วท่านพระ-

อานนท์ได้กราบทูลเรื่องนั้นแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนอานนท์ ยังอีกนานเท่าไร

สารีบุตรจึงจักกลับมา

พระอานนท์กราบทูลว่า จักกลับมาในวันที่ ๙ หรือวันที่ ๑๐

พระพุทธเจ้าข้า

ทรงอนุญาตอดิเรกจีวร

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทรงอดิเรกจีวรไว้ได้ ๑๐ วัน

เป็นอย่างยิ่ง

อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระอนุบัญญัติ

๒๐. ๑. ก. จีวรสำเร็จแล้ว กฐินอันภิกษุเดาะเสียแล้ว พึง

ทรงอดิเรกจีวรได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอานนท์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๓] บทว่า จีวรสำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุทำสำเร็จแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 697

ก็ดี หายเสียก็ดี ฉิบทายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมดหวังว่าจะได้ทำ

จีวรก็ดี

คำว่า กฐิน...เดาะเสียแล้ว คือ เดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใด

อันหนึ่งในมาติกา ๘ หรือสงฆ์เดาะเสียในระหว่าง

บทว่า ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง คือ ทรงไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างมาก

ที่ชื่อว่า อดิเรกจีวร ได้แก่ จีวรที่ยังไม่ได้อธิษฐาน ยังไม่ได้วิกัป

ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ ผ้า ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์

กำหนดแห่งผ้าต้องวิกัปเป็นอย่างต่ำ

คำว่า ให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคีย์ ความว่า เมื่ออรุณ

ที่ ๑๑ ขึ้นมา จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์

คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

[๔] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งประณมมือกล่าวอย่างนั้นว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะ

สละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้น สละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 698

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

[๕] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียง

บ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งประณมมือกล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะ

สละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

[๖] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งประณมมือกล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะสละ

ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 699

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๗] จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้สละ ภิกษุสำคัญว่าสละแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายเเลว้ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ฉิบทาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบทายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 700

ทุกกฏ

จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุยังไม่ได้เสียสละ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ

จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว บริโภค ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสงสัย บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง บริโภค ไม่ต้อง

อาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๘] ในภายใน ๑๐ วัน ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัปไว้ ๑ ภิกษุ

สละให้ไป ๑ จีวรหาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑ จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจรชิงเอา

ไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๙] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละ บรรดา

ภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา

ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงไม่ให้คืนจีวร

ที่เสียสละเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 701

ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละ จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละเล่า การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้

การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่

ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส

แล้ว

ทรงอนุญาตให้คืนจีวรที่เสียสละ

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยาย ดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความ

เป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจ

คร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 702

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จีวรที่ภิกษุเสียสละแล้ว สงฆ์ คณะ หรือ

บุคคล จะไม่คืนให้ไม่ได้ ภิกษุใดไม่คืนให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

จีวรวรร สิกขาบทที่ ๑ จบ

ทุติยสมันตปาสาทิกา วินัยวรรณนา

ติงสกกัณฑวรรณนา

ธรรม ๒๐ เหล่าใด ชื่อว่านิสสัคคีย์ ที่พระสัมมาสัมพุทธ-

เจ้า ผู้สงบ ทรงแสดงแล้ว บัดนี้ ข้าพเจ้าจักทำการพรรณนา

บทที่ยังไม่เคยมีมาก่อน แห่งธรรมเหล่านั้น.

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๑

พรรณนาปฐมกฐินสิกขาบท

ในคำนิทานว่า โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่

ที่โคตมกเจดีย์ใกล้กรุงไพศาล ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

อนุญาตไตรจีวรแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้เป็นต้น ที่ชื่อว่า ไตรจีวรนั้น

ได้แก่จีวร ๓ ผืนนี้ คือ อันตรวาสก ๑ อุตราสงค์ ๑ สังฆาฏิ ๑ ย่อม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 703

เป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนญาตแล้วเพื่อใช้สอย. ก็จีวร ๓ ผืนนี้

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตในที่ใด ทรงอนญาตเมื่อไร ? และ

ทรงอนุญาตเพราะเหตุไร ? คำนั้นทั้งหมดมาแล้วในเรื่องหมอชีวกในจีวร-

ขันธกะนั่นแล.

ข้อว่า อญฺเเนว ติจีวเรน คาม ปวิสนฺติ มีความว่า พวกภิกษุ

ฉัพพัคคีย์ ครองไตรจีวรเข้าบ้านสำรับหนึ่งต่างหาก จากสำรับที่ใช้ครอง

อยู่ในวัด และสำรับที่ใช้ครองสรงน้ำ. ใช้จีวรวันละ ๙ ผืน ทุกวัน ด้วย

อาการอย่างนี้.

สองบทว่า อุปฺปนฺน โหติ มีความว่า อดิเรกจีวรนี้ เกิดขึ้นให้

ช่องแก่อนุบัญญัติ ด้วยอำนาจการได้ มิใช่ด้วยอำนาจความสำเร็จ.

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระอานนท์]

ข้อว่า อายสฺมโต สารีปุตฺตสฺส ทาตุกาโม โหติ มีความว่า ได้ยิน

ว่า ท่านพระอานนท์ ย่อมนับถือท่านพระสารีบุตรโดยนับถือความมีคุณ

มากของพระสารีบุตรว่า เว้นพระผู้มีพระภาคเจ้า บุคคลอื่นที่มีคุณวิเศษ

เห็นปานนี้ ไม่มีเลย. ท่านได้จีวรที่ชอบใจ ซักแล้ว กระทำพินทุกัปปะ

แล้ว ถวายแก่พระเถระนั่นแล แม้ทุกคราว. ในเวลาก่อนฉันได้ยาคูและ

ของเคี้ยว หรือบิณฑบาตอันประณีตแล้ว ย่อมถวายแก่พระเถระเหมือน

กัน. ในเวลาหลังฉัน แม้ได้เภสัช มีน้ำผึ้งและน้ำอ้อยเป็นต้น ก็ถวาย

แก่พระเถระนั่นเอง พาเด็กทั้งหลายออกจากตระกูลอุปัฏฐาก ให้บรรพชา

ให้ถืออุปัชฌายะ ในสำนักพระเถระแล้ว กระทำอนุสาวนากรรมเอง.

ฝ่ายท่านพระสารีบุตร ก็นับถือท่านพระอานนท์เหลือเกิน ด้วยทำในใจว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 704

ธรรมดาว่า กิจที่บุตรจะพึงกระทำแก่บิดา เป็นภาระของบุตรคนโต;

เพราะฉะนั้น กิจใดที่เราจะพึงกระทำแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า กิจนั้น

ทั้งหมด พระอานนท์กระทำอยู่, เราอาศัยพระอานนท์จึงได้เพื่อเป็นผู้มี

ความขวนขวายน้อยอยู่. คำทั้งหมดว่า แม้พระเถระนั้น ได้จีวรที่ชอบใจ

แล้ว ก็ถวายพระอานนทเถระเหมือนกัน เป็นต้น เป็นเช่นกับด้วยคำ

ก่อนนั่นแล. พระอานนทเถระนับถือด้วยความนับถือคุณมากอย่างนี้

บัณฑิตพึงทราบว่า ย่อมเป็นผู้มีความประสงค์จะถวายจีวรนั้น แม้ที่เกิด

ขึ้นในครั้งนั้นแก่ท่านพระสารีบุตร.

ก็ในคำว่า นวม วา ภควา ทิวส ทสม วา นี้ หากใคร ๆ จะพึง

มีความสงสัยว่า พระเถระทราบได้อย่างไร ?

ตอบว่า พระเถระทราบได้ด้วยเหตุหลายอย่าง.

[เหตุที่พระอานนท์ทราบการมาของพระสารีบุตรได้]

ได้ยินว่า พระสารีบุตรเถระ เมื่อจะหลีกจาริกไปในชนบท มัก

บอกลาพระอานนทเถระก่อนแล้วจึงหลีกไปว่า ผมจักมาโดยกาลชื่อว่า

ประมาณเท่านี้ ในระหว่างนี้ ท่านอย่าละเลยพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้.

ถ้าแม้นว่า ท่านไม่บอกลาในที่ต่อหน้า, ก็ต้องส่งภิกษุไปบอกลาก่อนจึง

ไป. ถ้าว่า ท่านอยู่จำพรรษาในอาวาสอื่น, และภิกษุเหล่าใดมาก่อน

ท่านก็ส่งภิกษุเหล่านั้นไปอย่างนี้ว่า พวกท่านจงถวายบังคม พระบาทยุคล

ของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเศียรเกล้า ตามคำของเรา, และจงเรียนถาม

ถึงความไม่มีโรคของพระอานนท์แล้วบอกว่า เราจักมาในวันชื่อโน้น,

และพระเถระย่อมมาในวันตามที่ท่านกำหนดไว้แล้วนั่นแลเสมอ ๆ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 705

อีกอย่างหนึ่ง ท่านพระอานนท์ ย่อมทราบได้ด้วยการอนุมานบ้าง

ย่อมทราบได้โดยนัยนี้บ้างว่า ท่านพระสารีบุตร เมื่อทนอดกลั้นความวิโยค

(พลัดพราก) จากพระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่สิ้นวันมีประมาณเท่านี้, บัดนี้

นับแต่นี้ไป จักไม่เลยวันชื่อโน้น, ท่านจักมาแน่นอน, จริงอยู่ ชน

ทั้งหลายผู้ซึ่งมีปัญญามาก ย่อมมีความรักและความเคารพในพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้ามาก ดังนี้. พระเถระย่อมทราบได้ด้วยเหตุหลายอย่างด้วยประการ

อย่างนี้. เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกราบทูลว่า จักมาในวัน ที่ ๙ หรือวันที่

๑๐ พระพุทธเจ้าข้า ! ดังนี้ เมื่อพระอานนทเถระกราบทูลอย่างนี้แล้ว

เพราะสิกขาบทนี้มีโทษทางพระบัญญัติ มิใช่มีโทษทางโลก; เพราะเหตุ

นั้น ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงทำวันที่ท่านพระอานนท์

กราบทูลนั่นแลให้เป็นกำหนด จึงทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ดูก่อนภิกษุ

ทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้ทรงอดิเรกจีวรไว้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้

ถ้าหากว่า พระเถระนี้ จะพึงทูลแสดงขึ้นกึ่งเดือน หรือเดือนหนึ่ง, แม้

กึ่งเดือน หรือเดือนหนึ่งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็จะพึงทรงอนุญาต.

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์ว่าด้วยการเดาะกฐิน]

บทว่า นิฏฺิตจีวรสฺมึ ได้แก่ เมื่อจีวรสำเร็จแล้ว โดยการสำเร็จ

อย่างใดอย่างหนึ่ง. ก็เพราะจีวรนี้ ย่อมเป็นอันสำเร็จแล้ว ด้วยการ

กระทำบ้าง ด้วยเหตุมีการเสียหายเป็นต้นบ้าง; ฉะนั้น เพื่อทรงแสดง

เพียงแต่อรรถเท่านั้น ในบทภาชนะแห่งบทว่า นิฏฺิตจีวรสฺมึ นั้น พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำมีอาทิว่า ภิกฺขุนา จีวร กต วา โหติ ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กต คือ อันภิกษุกระทำแล้วด้วยกรรม

มีสูจิกรรมเป็นที่สุด. ที่ชื่อว่า กรรมมีสูจิกรรมเป็นที่สุด ได้แก่การทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 706

กรรมที่ควรทำด้วยเข็มอย่างใดอย่างหนึ่ง มีการติดรังดุมและลูกดุมเป็นที่สุด

แล้วก็เก็บเข็มไว้ (ในกล่องเข็ม).

บทว่า นฏฺ คือ ถูกพวกโจรเป็นต้นลักเอาไป. จริงอยู่ แม้

จีวรนั่น ท่านเรียกว่า สำเร็จแล้ว ก็เพราะความกังวล ด้วยการกระทำ

นั่นเอง สำเร็จลงแล้ว

บทว่า วินฏฺ คือ ถูกพวกสัตว์มีปลวกเป็นต้นกัดแล้ว.

บทว่า ทฑฺฒ คือ ถูกไฟไหม้.

สองบทว่า จีวราสา วา อุปจฺฉินฺนา มีความว่า หมดความหวังใน

จีวรซึ่งบังเกิดขึ้นว่า เราจักได้จีวรในตระกูลชื่อโน้นก็ดี. อันที่จริง ควร

ทราบความที่จีวรแม้เหล่านี้สำเร็จแล้ว เพราะความกังวลด้วยการกระทำ

นั่นแล สำเร็จลงแล้ว.

สองบทว่า อุพฺภตสฺมึ กิเน คือ (เมื่อจีวรสำเร็จแล้ว) และเมื่อ

กฐินเดาะเสียแล้ว. ด้วย บทว่า อุพฺภตสฺมึ กิเน นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงแสดงความไม่มีแห่งปลิโพธที่ ๒ ก็กฐินนั้น อันภิกษุทั้งหลายย่อม

เดาะด้วยมาติกาอย่างหนึ่งในบรรดามาติกา ๘ หรือด้วยการเดาะในระหว่าง

เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า อฏฺนฺน มาติกาน เป็นต้น

ในนิเทศแห่งบทว่า อุพฺภตสฺมึ กิเน นั้น

บรรดามาติกาและการเดาะในระหว่างนั้น มาติกา ๘ มาแล้วใน

กฐินขันธกะอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! มาติกาแห่งการเดาะกฐิน ๘

เหล่านี้ คือ ปักกมนันติกา นิฏฐานันติกา สันนิฏฐานันติกา นาสนันติกา

สวนันติกา อาสาวัจเฉทิกา สีมาติกกันติกา สหุพภารา.

แม้การเดาะกฐินในระหว่าง ก็มาในภิกขุนีวิภังค์ อย่างนี้ว่า

๑ . วิ. มหา. ๑/๑๓๙. ๒. วิ. ภิกฺขุนีวิ. ๑/๑๔๕.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 707

สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺล สงฺโฆ กิน อุธเรยฺย

เอสา ตฺต, สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ กิน อุทฺธรติ ยสฺสายสฺมโต ขมติ

กินสฺส อุพฺภาโร โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย, อุพฺภติ

สงฺเฆน กิน ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมต ธารยามิ แปลว่า

ท่านเจ้าข้า ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, ถ้าความพรั่งพร้อมแห่งสงฆ์ถึงที่แล้ว,

สงฆ์พึงเดาะกฐิน, นี้คำเสนอ, ท่านเจ้าข้า ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า, สงฆ์

ย่อมเดาะกฐิน, การเดาะกฐินควรแก่ท่านผู้มีอายุใด ท่านผู้มีอายุนั้นพึง

นิ่งอยู่, ถ้าไม่ควรแก่ท่านผู้มีอายุใด ท่านผู้มีอายุนั้น พึงพูดขึ้น, กฐิน

อันสงฆ์เดาะแล้วย่อมควรแก่สงฆ์; เพราะฉะนั้น สงฆ์พึงนิ่งอยู่ ข้าพเจ้า

จะทรงไว้ซึ่งความเป็นผู้นิ่งอยู่แห่งสงฆ์อย่างนั้นแล.

ข้าพเจ้าจักพรรณนาคำที่ควรกล่าวในมาติกา เละอันตรุพภารานั้น

ทั้งหมด ในอาคตสถานนั้นแล, แต่เมื่อจะกล่าวเสียในที่นี้ บาลีที่ควรจะ

นำมาก็ดี เนื้อความที่ควรจะกล่าวก็ดี แม้จะเป็นอันกล่าวแล้ว, แต่ก็เป็น

เรื่องที่รู้ได้ไม่ง่าย เพราะกล่าวไว้ในฐานะอันไม่ควร.

บทว่า ทสาหปรม มีวิเคราะห์ว่า ๑๐ วัน เป็นกำหนดอย่างยิ่ง

แห่งกาลนั้น; เพราะเหตุนั้น กาลนั้นจึงชื่อว่ามี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง

อธิบายว่า จีวรนั้น อันภิกษุพึงทรงไว้ ตลอดกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง.

แต่เพื่อจะทรงแสดงแต่อรรถเท่านั้น ในบทภาชนะ พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสว่า พึงทรงไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง จริงอยู่ มีคำอธิบายว่า

ความเป็นกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ที่ตรัสไว้ในบทว่า ทสาหปรม นี้

ภาวะแห่งกาละมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่งนั้น มีใจความดังนี้ว่า พึงทรงไว้

ได้ชั่วกาลประมาณเท่านี้ที่ยังไม่ล่วงเลยไป จีวรที่ชื่อว่า อติเรก เพราะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 708

ไม่นับเข้าในจำพวกจีวรที่อธิษฐานและวิกัปไว้; เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า

อดิเรกจีวร. ด้วยเหตุนั้น ในบทภาชนะแห่งบทว่า อติเรกจีวร นั้น จึง

ตรัสว่า จีวรที่ไม่ได้อธิษฐาน และไม่ได้วิกัปไว้.

[อธิบายกำเนิดจีวร ๖ ชนิด]

ข้อว่า ฉนฺน จีวราน อญฺตร มีความว่า บรรดาจีวร ๖ ชนิด

เหล่านี้ คือ จีวรผ้าเปลือกไม้ ๑ จีวรผ้าฝ้าย ๑ จีวรผ้าไหม ๑ จีวรผ้า

กัมพล ๑ จีวรผ้าป่าน ๑ จีวรหาผสมกัน* ๑ จีวรอย่างใดอย่างหนึ่ง

พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงกำเนิดแห่งจีวร ด้วยคำว่า ฉนฺน

เป็นต้นนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อทรงแสดงขนาด (แห่งจีวรนั้น) จึงตรัสว่า จีวร

อย่างต่ำควรจะวิกัปได้ ดังนี้. ขนาดแห่งจีวรนั้น ด้านยาว ๒ คืบ ด้าน

กว้าง คืบหนึ่ง ในขนาดแห่งจีวรนั้น มีพระบาลีดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ

ทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้วิกัปจีวรอย่างต่ำ ด้านยาว ๙ นิ้ว กว้าง ๔ นิ้ว

โดยนิ้วพระสุคต.

ข้อว่า ต อติกฺกามยโต นิสฺสคฺคิย มีความว่า เมื่อภิกษุ

ยังจีวรมีกำเนิดและประมาณตามที่กล่าวแล้วนั้น ให้ล่วงกาลมี ๑๐ วันเป็น

อย่างยิ่ง คือ เมื่อไม่ทำโดยวิธีที่จะไม่เป็นอติเรกจีวรเสียในระหว่างกาลมี

๑๐ วัน เป็นอย่างยิ่งนี้ เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์. อธิบายว่า จีวรนั้น เป็น

นิสสัคคีย์ด้วย เป็นอาบัติปาจิตตีย์แก่ภิกษุนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง การ

เสียสละ ชื่อว่า นิสสัคคีย์. คำว่า นิสสัคคีย์ นั่นเป็นชื่อของวินัยกรรม

อันภิกษุพึงกระทำในกาลเป็นส่วนเบื้องต้น, การเสียสละมีอยู่ แก่ธรรม-

๑. วิ. มหา. ๕/๑๙๒. ๒. วิ. มหา. ๕/๒๑๔.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 709

ชาตินั้น; เหตุนั้น ธรรมชาตินั้น จึงชื่อว่า นิสสัคคีย์ ฉะนี้แล. นิสสัคคีย์

นั้น คืออะไร ? คือ ปาจิตตีย์. ในคำว่า ต อติกฺกามยโต นสฺสคฺคิย

ปาจิตฺติย นี้ มีใจความดังนี้ว่า เป็นปาจิตตีย์มีการเสียสละเป็นวินัยกรรม

แก่ภิกษุผู้ให้ล่วงกาลนั้นไป.

แต่ในบทภาชนะ เพื่อทรงแสดงอรรถวิกัปแรกก่อน พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าจึงทรงตั้งมาติกาว่า เมื่อภิกษุให้ล่วงกาลนั้นไป เป็นนิสสัคคีย์

แล้วตรัสคำว่า ในเมื่ออรุณวันที่ ๑๑ ขึ้น เป็นนิสสัคคีย์ คือ อันภิกษุ

พึงเสียสละ ดังนี้. และจีวรนั้น อันภิกษุพึงเสียสละแก่บุคคลใดพึงเสียสละ

โดยวิธีอย่างใด เพื่อทรงแสดงบุคคลและวิธีเสียสละนั้นอีก จึงตรัสคำ

เป็นต้นว่า สงฺฆสฺส วา ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น ในคำว่า เอกาทเส อรุณุคฺคมเน นี้ ผู้ศึกษา

พึงทราบว่า จีวรเกิดขึ้นในวันใด อรุณแห่งวันนั้น อาศัยวันที่จีวรเกิด

ขึ้น; เพราะเหตุนั้น จึงเป็นนิสสัคคีย์ ในเมื่ออรุณวันที่ ๑๑ ขึ้นรวมกัน

วันที่จีวรเกิด ถ้าแม้ว่า จีวรเป็นอันมากผูกหรือพับรวมกันเก็บไว้ ก็เป็น

อาบัติเพียงตัวเดียว. ไม่จีวรที่พับไว้ไม่รวมกันเป็นอาบัติหลายตัวตาม

จำนวนแห่งวัตถุ.

[อธิบายวิธีเสียสละและวิธีแสดงอาบัติ]

ข้อว่า นิสฺสชฺชิตฺวา อาปตฺติ เทเสตพฺพา มีความว่า ถามว่า พึง

แสดงอาบัติอย่างไร ?

แก้ว่า พึงแสดงเหมือนอย่างที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน

ขันธกะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 710

ถามว่า ก็ตรัสไว้ในขันธกะนั้น อย่างไร ?

แก้ว่า ตรัสไว้อย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุนั้น พึงเข้า

ไปหาสงฆ์ กระทำอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ไหว้เท้าแห่งภิกษุผู้แก่

ทั้งหลายแล้ว นั่งกระโหย่ง ประนมมือ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า อห ภนฺเต

อิตฺถนฺนาม อาปตฺตึ อาปนฺโน ต ปฏิเทเสมิ (ท่านเจ้าข้า ! กระผมต้อง

อาบัติมีชื่ออย่างนี้ ขอแสดงคืนอาบัตินั้น ).

ก็ในอธิการนี้ ถ้าจีวรมีผืนเดียว พึงกล่าวว่า เอก นิสฺสคฺคิย

ปาจิตฺติย... (ต้องแล้ว) ซึ่งนิสสัคคีย์ ปาจิตตีย์ตัวหนึ่ง. ถ้าจีวร ๒ ผืน

พึงกล่าวว่า เทฺว... ซึ่งอาบัติ ๒ ตัว. ถ้าจีวรมากผืนพึงกล่าวว่า สมฺพ-

หุลา... ซึ่งอาบัติหลายตัว. แม้ในการเสียสละ ถ้าว่า จีวรมีผืนเดียว

พึงกล่าวตามสมควรแก่บาลีนั่นแลว่า อิท เม ภนฺเต จีวร ท่านเจ้าข้า !

จีวรของกระผมผืนนี้ เป็นต้น ถ้าหากว่าจีวร ๒ ผืน หรือมากผืน พึง

กล่าวว่า อิมานิ เม ภน เต จีวรานิ ทสาหาติกฺกนฺตานิ นิสฺสคฺคิยานิ

อิมานาห สงฺฆสฺส นิสฺสชฺชามิ (ท่านเจ้าข้า ! จีวรของกระผมเหล่านี้ล่วง

๑๐ วัน เป็นนิสสัคคีย์, กระผมเสียสละจีวรเหล่านี้แก่สงฆ์) เมื่อไม่สามารถ

จะกล่าวบาลีได้ พึงกล่าวโดยภาษาอื่นก็ได้. ภิกษุพึงรับอาบัติโดยนัย

ดังกล่าวไว้ในขันธกะนั่นแลว่า ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงรับอาบัติ. สมจริง

ดังที่ตรัสไว้ ในขันธกะนั้นอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถ พึงเผดียง

สงฆ์ว่า ท่านเจ้าข้า ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุชื่อนี้รูปนี้ ระลีกได้

เปิดเผย กระทำให้ตื้น ย่อมแสดงซึ่งอาบัติ, ถ้าความพรั่งพร้อมแห่งสงฆ์

ถึงที่แล้ว, ข้าพเจ้าพึงรับอาบัติของภิกษุมีชื่ออย่างนี้ ดังนี้.

๑. วิ. จุลฺล. ๖/๒๗๐. ๒. วิ. จุลล. ๖/๓๗๐.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 711

ภิกษุผู้แสดง อันภิกษุรับอาบัตินั้น พึงกล่าวว่า ปสฺสสิ (เธอเห็น

หรือ).

ผู้แสดง: อาม ปสฺสามิ (ขอรับ ! ผมเห็น)

ผู้รับ: อายตึ สวเรยฺยาสิ (เธอพึงสำรวมต่อไป).

ผู้แสดง: สาธุ สุฏฺฐุ สวริสฺสามิ (ดีละ ผมจะสำรวมให้ดี).

ก็ในอาบัติ ๒ ตัว หรือหลายตัวด้วยกัน ผู้ศึกษาพึงทราบความต่าง

แห่งวจนะโดยนัยก่อนนั่นแล แม้ในการให้จีวร (คืน) ก็พึงทราบความ

แตกต่างแห่งวจนะด้วยอำนาจแห่งวัตถุ คือ สงฺโฆ อิม จีวร อิมานิ

จีวรานิ... สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้ พึงให้จีวรทั้งหลายเหล่านี้... ถึงในการ

เสียสละแก่คณะ และแก่บุคคล ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

ก็ในการแสดงและการรับอาบัติในอธิการนี้ มีบาลีดังต่อไปนี้:-

เตน ภิกขุเว ภิกฺขุนา ฯ เปฯ เอวมสฺสุ วจนียา อห ภนฺเต อิตฺถนฺนาม

อาปตฺตึ อาปนฺโน ต ปฏิเทสมิ แปลว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! อัน

ภิกษุนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุมากรูป กระทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง

ไหว้เท้าทั้งหลายแห่งภิกษุผู้แก่ทั้งหลายแล้ว นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี

พึงกล่าวอย่างนั้นว่า ท่านเจ้าข้า ! ข้าพเจ้าต้องอาบัติชื่อนี้ ขอแสดงคืนซึ่ง

อาบัตินั้น.

อันภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถ พึงเผดียงภิกษุเหล่านั้นให้ทราบว่า สุณาตุ

เม ภนฺเต อายสฺมนฺตา อย อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ อาปตฺตึ สรติ วิวรติ

อุตฺตานีกโรติ เทเสติ ยทายสฺมนฺตาน ปตฺตกลฺล อห อิตฺถนฺนามสฺส

ภิกฺขุโน อาปตฺตึ ปฏิคฺคณฺเหยฺย แปลว่า ท่านเจ้าข้า ! ท่านผู้มีอายุ

๑. วิ. จุลฺล. ๖/๓๗๐. ๒-๓. วิ. จุลฺล. ๖/๓๖๙-๓๗๐

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 712

ทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่ออย่างนี้ รูปนี้ย่อมระลึก ย่อมเปิด

เผย ย่อมกระทำให้ตื้น ย่อมแสดงอาบัติ, ถ้าว่าความพรั่งพร้อมแห่งท่าน

ผู้มีอายุทั้งหลายถึงที่แล้ว ข้าพเจ้าพึงรับอาบัติของภิกษุชื่อนี้.

ภิกษุผู้แสดง อันภิกษุผู้รับอาบัตินั้น พึงกล่าวว่า ปสฺสสิ (ท่าน

เห็นหรือ).

ผู้แสดง: อาม ปสฺสามิ (ขอรับ ! ผมเห็น).

ผู้รับ: อายตึ สวเรยฺยาสิ* (ท่านพึงสำรวมระวังต่อไป).

ภิกษุนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ทำอุตราสงค์เฉวียงบ่า แล้ว

นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลีแล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนอาวุโส ! ข้าพเจ้า

ต้องอาบัติ มีชื่ออย่างนี้แล้ว, จะแสดงคืนอาบัติ, ภิกษุผู้แสดง อันภิกษุ

ผู้รับอาบัตินั้นพึงกล่าวว่า ปสฺสสิ (ท่านเห็นหรือ).

ผู้แสดง: อาม ปสฺสามิ (ขอรับ ! ผมเห็น).

ผู้รับ: อายตึ สวเรยฺยาสิ (ท่านพึงสำรวมระวังต่อไป).

ในวิสัยแห่งการแสดงและรับอาบัตินั้น ผู้ศึกษาพึงทราบการระบุชื่อ

อาบัติและความต่างแห่งวจนะ โดยนัยก่อนนั่นแล. และพึงทราบบาลี

แม้ในการสละแก่ภิกษุ ๒ รูป เหมือนในการสละแก่คณะฉะนั้น. ก็ถ้าว่า

จะพึงมีความแปลกกันไซร้, พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงตรัสบาลีไว้แผนกหนึ่ง

แม้ในการสละแก่ภิกษุ ๒ รูปนี้ เหมือนอย่างที่พระองค์ตรัสปาริสุทธิ-

อุโบสถแก่ภิกษุ ๓ รูป โดยนัยเป็นต้นว่า ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาต

ให้ภิกษุ ๓ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ ภิกษุทั้งหลาย ! ก็แลภิกษุเหล่านั้น

พึงทำอุโบสถเหล่านั้นอย่างนี้; ภิกษุผู้ฉลาดผู้สามารถ พึงเผดียงภิกษุ

* วิ. จุลฺล. ๖/๓๖๙/-๓๗๐.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 713

เหล่านั้นให้ทราบ แล้วตรัสปาริสุทธิอุโบสถแก่ภิกษุ ๒ รูปอีกแผนกหนึ่ง

ต่างหาก โดยนัยเป็นต้นว่า ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้ภิกษุ ๒ รูป

ทำปาริสุทธิอุโบสถ, ภิกษุทั้งหลาย ! ก็แลภิกษุเหล่านั้น พึงทำอุโบสถ

นั้นอย่างนี้ ภิกษุเถระพึงทำอุตราสงค์เฉวียงบ่า* ดังนี้ ฉะนั้น. ก็เพราะ

ไม่มีความแปลกกัน; ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงมิได้ตรัสไว้ ทรง

ผ่านไปเสีย เพราะฉะนั้น บาลีในการสละแก่ภิกษุ ๒ รูปนี้ เป็นบาลีที่

ตรัสไว้เเก่คณะเหมือนกัน.

ส่วนในการรับอาบัติมีความแปลกกันดังนี้:- บรรดาภิกษุ ๒ รูป

ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง อย่าตั้งญัตติ เหมือนภิกษุผู้รับอาบัติ ตั้งญัตติ ใน

เมื่อภิกษุผู้ต้องอาบัติสละแก่คณะแล้วแสดงอาบัติ พึงรับอาบัติเหมือน

บุคคลคนเดียวรับฉะนั้น. แท้จริง ชื่อว่าการตั้งญัตติสำหรับภิกษุ ๒ รูป

ย่อมไม่มี. ก็ถ้าหากจะพึงมี, พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่พึงตรัสปาริสุทธิ-

อุโบสถไว้แผนกหนึ่ง สำหรับภิกษุ ๒ รูป แม้ในการให้จีวรที่เสียสละ

แล้วคืน จะกล่าวว่า อิม จีวร อายสฺมโต เทม พวกเราใหัจีวรผืนนี้แก่

ท่าน เหมือนภิกษุรูปเดียวกล่าวว่า อิม จีวร อายสฺมโต ทมฺมิ ผมให้

จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้ ก็ควร. จริงอยู่ แม้ญัตติทุติยกรรม ซึ่งหนักกว่า

นี้ ตรัสว่า ควรอปโลกน์ทำ ก็มี วินัยกรรมมีการสละนี้ สมควรแก่

ญัตติทุติยกรรมเหล่านั้น. แต่จีวรที่สละแล้ว ควรให้คืนทีเดียว, จะไม่ให้

คืนไม่ได้. ก็การให้คืนจีวรที่สละเสียแล้วนี้เป็นเพียงวินัยกรรม. จีวรนั้น

เป็นอันภิกษุนั้นให้แก่สงฆ์ หรือแก่คณะ หรือแก่บุคคล หามิได้

ทั้งนั้นแล.

* วิ. มหา. ๔/๒๔๓-๒๔๔.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 714

[แก้อรรถบทภาชนีย์ว่าด้วยอติเรกจีวรล่าง ๑๐ วันเป็นต้น ]

ข้อว่า ทสาหาติกฺกนฺเต อติกฺกนฺตสญฺี ได้แก่ ผู้มีความสำคัญใน

จีวรที่ล่วง ๑๐ วันแล้วอย่างนี้ว่า จีวรนี้ล่วง (๑๐ วัน) แล้ว. อีกอย่างหนึ่ง

ความว่า เมื่อ ๑๐ วันล่วงแล้ว มีความสำคัญอย่างนี้ว่า ๑๐ วันล่วงไป

แล้ว.

ข้อว่า นิสฺสคฺคิย ปาจิตฺติย มีความว่า ความสำคัญที่กล่าวไว้ใน

บทว่า อติกฺกนฺตสญฺี นี้คุ้มอาบัติไม่ได้, ถึงภิกษุใดจะมีความสำคัญ

อย่างนี้, จีวรนั้น ของภิกษุแม้นั้น ก็เป็นนิสสัคคีย์ และภิกษุนั้น ก็ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์ด้วย, หรือเป็นปาจิตตีย์ มีการเสียสละเป็นวินัยกรรม;

เพราะฉะนั้น อรรถวิกัปทั้ง ๒ ย่อมถูกต้อง. ทุก ๆ บทก็มีนัยเช่นนี้.

ข้อว่า อวิสฺสชฺชิเต วิสฺสชฺชิตสญฺี ได้แก่ ผู้มีความสำคัญใน

จีวรที่ตนไม่ได้ให้ คือ ไม่ได้สละให้แก่ใคร ๆ อย่างนี้ว่า เราสละแล้ว.

ข้อว่า อนฏฺเ นฏฺสญฺ มีความว่า โจรทั้งหลาย ย่อมลักเอา

ซึ่งจีวรเป็นอันมากของภิกษุเหล่าอื่น ที่เก็บรวมไว้กับจีวรของตน, บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น. ภิกษุรูปนี้ เป็นผู้มีความสำคัญในจีวรของตนซึ่งไม่ได้หาย

ไป ว่าหายแล้ว. แม้ในจีวรที่ไม่ได้เสียหายเป็นต้น ก็มีนัยเช่นนี้

ก็ในบทว่า อวิลุตฺเต นี้ พึงทราบสันนิษฐานว่า ในจีวรที่มิได้ถูก

ชิงไป ด้วยอำนาจที่พังห้องแล้วข่มขู่ชิงเอาไป.

ข้อว่า อนิสฺสชฺชิตฺวา ปริภุญฺชติ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส มีความว่า

ภิกษุไม่เปลื้องจีวรที่นุ่งครั้งเดียว หรือห่มครั้งเดียวออกจากกายแล้วเที่ยว

ไป แม้ตลอดวัน เป็นอาบัติตัวเดียวเท่านั้น. ภิกษุเปลื้องออกแล้วนุ่ง

หรือห่มจีวรที่ยังไม่สละนั้น เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ประโยค. จัดจีวรที่นุ่งไม่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 715

เรียบร้อย หรือห่มไม่เรียบร้อย ให้เรียบร้อย ไม่เป็นอาบัติ. ไม่เป็น

อาบัติแก่ภิกษุผู้ใช้สอยของภิกษุอื่น. ก็คำมีอาทิว่า ภิกษุได้จีวรที่ผู้อื่น

กระทำแล้วใช้สอย ดังนี้ เป็นเครื่องสาธกในความไม่เป็นอาบัตินี้. ทรง

หมายเอาการใช้สอย ปรับเป็นอาบัติทุกกฏแก่ภิกษุผู้มีความสำคัญในจีวร

ยังไม่ล่วง (๑๐ วัน) ว่าล่วงแล้ว และภิกษุผู้มีความสงสัย.

[ว่าด้วยขนาดจีวรที่ควรอธิฐานและวิกัป]

ก็ในข้อว่า อนาปตฺติ อนฺโตทสาห อธิฏฺเติ วิกปฺเปติ นี้ ผู้ศึกษา

พึงทราบจีวรที่ควรอธิษฐาน และที่ควรวิกัป. ในจีวรที่ควรอธิษฐานและ

วิกปะนั้น มีพระบาลีดังต่อไปนี้:-

ครั้งนั้นแล ภิกษุทั้งหลายได้มีความรำพึงอย่างนี้ว่า จีวรทั้งหลาย

ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้ คือ ไตรจีวรก็ดี คือ วัสสิกสาฎก

ก็ดี คือ นิสีทนะก็ดี คือ ปัจจัตถรณะก็ดี คือ กัณฑุปฏิจฉาทิก็ดี คือ

มุขปุญฉนโจลกะก็ดี คือ ปริขารโจลกะก็ดี ควรอธิษฐานทั้งหมดหรือว่า

ควรจะวิกัปหนอแล*. ภิกษุทั้งหลายได้กราบทูลเรื่องนี้ แด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตว่า ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาต

ให้อธิษฐานไตรจีวร ไม่อนุญาตให้วิกัป, ให้อธิษฐานวัสสิกสาฎก ตลอด

๔ เดือนแห่งฤดูฝน พ้นจากพ ๔ เดือนฤดูฝนนั้น อนุญาตให้วิกัปไว้,

อนุญาตให้อธิษฐานนิสีทนะ ไม่ใช่ให้วิกัป, อนุญาตให้อธิษฐานผ้าปูนอน

ไม่ใช่ให้วิกัป, อนุญาตให้อธิษฐานกัณฑุปฏิจฉาทิ (ผ้าปิดแผล) ชั่วเวลา

อาพาธ พ้นจากกาลอาพาธนั้น อนุญาตให้วิกัป อนุญาตให้อธิษฐาน

* วิ. มหา. ๕/๒๑๘.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 716

มุขปุญฉนโจล (ผ้าเช็ดหน้า) ไม่อนุญาตให้วิกัป, อนุญาตให้อธิษฐาน

บริขารโจล ไม่อนุญาตให้วิกัป* ดังนี้.

[ว่าด้วยการอธิษฐานไตรจีวรเป็นต้น]

บรรดาจีวรเป็นต้นเหล่านั้น อันภิกษุเมื่อจะอธิษฐานไตรจีวรย้อม

แล้วให้กัปปะพินทุ พึงอธิษฐานจีวรที่ได้ประมาณเท่านั้น. ประมาณแห่ง

จีวรนั้น โดยกำหนดอย่างสูง หย่อนกว่าสุคตจีวร (จีวรของพระสุคต)

จึงควร และโดยกำหนดอย่างต่ำ ประมาณแห่งสังฆาฏิ และอุตราสงค์

ด้านยาว ๕ ศอกกำ ด้านกว้าง ๓ ศอกกำ จึงควร. อันตรวาสก ด้าน

ยาว ๕ ศอกกำ ด้านกว้าง แม้ ๒ ศอก ก็ควร. เพราะอาจเพื่อจะปกปิด

สะดือด้วยผ้านุ่งบ้าง ผ้าห่มบ้างแล. ก็จีวรที่เกินและหย่อนกว่าประมาณ

ดังกล่าวแล้ว พึงอธิษฐานว่า บริขารโจล.

ในวิสัยแห่งการอธิษฐานจีวรนั้น ท่านกล่าวไว้ว่า การอธิษฐาน

จีวร มี ๒ อย่าง คืออธิษฐานด้วยกายอย่างหนึ่ง อธิษฐานด้วยวาจาอย่าง

หนึ่ง; ฉะนั้น ภิกษุพึงถอนสังฆาฎิผืนเก่าว่า อิม สงฺฆาฏึ ปจฺจุทฺธรามิ (เรา

ถอนสังฆาฎิผืนนี้) แล้วเอามือจับสังฆาฎิใหม่ หรือพาดบนส่วนแห่งร่างกาย

กระทำการผูกใจว่า อิม สงฺฆาฏึ อธิฏฺามิ (เราอธิษฐานสังฆาฎินี้) แล้ว

พึงทำกายวิการ อธิษฐานด้วยกาย นี้ ชื่อว่า การอธิษฐานด้วยกาย

เมื่อไม่ถูกต้องจีวรนั้นด้วยส่วนแห่งร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง การอธิษฐาน

นั้น ไม่ควร.

ส่วนในการอธิษฐานด้วยวาจา พึงเปล่งวาจาแล้วอธิษฐานด้วย

* วิ. มหา. ๕/๒๑๘-๒๑๙.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 717

วาจา ในการอธิษฐานด้วยวาจานั้น มีการอธิษฐาน ๒ วิธี. ถ้าผ้าสังฆาฏิ

อยู่ในหัตถบาส พึงเปล่งวาจาว่า ข้าพเจ้าอธิษฐานสังฆาฎิผืนนี้. ถ้าอยู่

ภายในห้อง ในปราสาทชั้นบน หรือในวัดใกล้เคียง พึงกำหนดที่เก็บ

สังฆาฎิไว้แล้วเปล่งวาจาว่า ข้าพเจ้าอธิษฐานสังฆาฎินั่น. ในอุตราสงค์

และอันตรวาสก ก็มีนัยอย่างนี้. จริงอยู่ เพียงแต่ชื่อเท่านั้นที่แปลกกัน.

เพราะฉะนั้น พึงอธิษฐานจีวรทั้งหมดโดยชื่อของตนเท่านั้น อย่างนี้ว่า

สงฺฆาฎึ อุตฺตราสงฺค อนฺตรวาสก ดังนี้.

ถ้าภิกษุกระทำจีวรมีสังฆาฎิเป็นต้นด้วยผ้าที่อธิษฐานเก็บไว้ เมื่อ

ย้อมและกัปปะเสร็จแล้วพึงถอนว่า ข้าพเจ้าถอนผ้านี้ แล้วอธิษฐานใหม่.

แต่เมื่อเย็บแผ่นผ้าใหม่ หรือขัณฑ์ใหม่เฉพาะที่ใหญ่กว่าเข้ากับจีวรที่อธิษ-

ฐานแล้ว ควรอธิษฐานใหม่. ในแผ่นผ้าที่เท่ากันหรือเล็กว่า ไม่มีกิจ

ด้วยการอธิษฐาน (ใหม่).

ถามว่า ก็ไตรจีวรจะอธิษฐานเป็นบริขารโจล ควรหรือไม่ควร ?

แก้ว่า ได้ทราบว่า พระมหาปทุมเถระกล่าวว่า ไตรจีวรพึง

อธิษฐานเป็นไตรจีวรอย่างเดียว, ถ้าว่า อธิษฐานเป็นบริขารโจลได้,

การบริหารที่ตรัสไว้ในอุทโทสิตสิกขาบท ก็จะพึงไร้ประโยชน์ไป. ได้ยิน

ว่า เมื่อพระมหาปทุมเถระกล่าวอย่างนี้ พวกภิกษุที่เหลือกล่าวว่า แม้

บริขารโจล พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสว่า พึงอธิษฐาน; เพราะเหตุนั้น

การอธิษฐานไตรจีวรให้เป็นบริขารโจล ย่อมสมควร.

แม้ในมหาปัจจรี ท่านก็กล่าวว่า ชื่อว่า บริขารโจลนี้เป็นเหตุแห่ง

การเก็บ (จีวรโดยความไม่เป็นนิสสัคคีย์) ไว้แผนกหนึ่ง. จะอธิษฐาน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 718

ไตรจีวรว่า บริขารโจล แล้วใช้สอย ควรอยู่. ส่วนในอุทโทสิตสิกขาบท

ตรัสการบริหารไว้สำหรับภิกษุผู้อธิษฐานไตรจีวรแล้วบริหารอยู่.

ได้ยินว่า แม้พระมหาติสสเถระผู้กล่าวอุภโตวิภังค์ ซึ่งอยู่ที่ปุณณ-

วาลิการามได้กล่าวว่า ในกาลก่อน พวกเราได้ฟังจากพระมหาเถระว่า

พวกภิกษุผู้ชอบอยู่ในป่าเก็บจีวรไว้ในโพรงไม้เป็นต้น ไปเพื่อต้องการจะ

เริ่มบำเพ็ญเพียร, และเมื่อภิกษุเหล่านั้นไปเพื่อประสงค์จะฟังธรรมในวัด

ใกล้เคียง เมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว พวกสามเณร หรือพวกภิกษุหนุ่มจึง

ถือบาตรจีวรมา (ให้); เพราะฉะนั้น การจะอธิษฐานไตรจีวรเป็นบริขาร-

โจล เพื่อใช้สอยสะดวก ควรอยู่.

แม้ในมหาปัจจรีท่านก็กล่าวว่า ในกาลก่อน พวกภิกษุผู้อยู่ป่าได้

อธิษฐานไตรจีวรเป็นบริขารโจลนั่นแล แล้วใช้สอย ด้วยใส่ใจว่า ใน

แดนที่ไม่ผูกสีมารักษาได้ยาก.

วัสสิกสาฏกที่ไม่เกินประมาณ อันภิกษุพึงระบุชื่อแล้วอธิษฐาน

สิ้น ๔ เดือนฤดูฝนโดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล, ต่อจากนั้นพึงถอนวิกัปไว้.

ก็วัสสิกสาฎกนี้ แม้ย้อมพอทำให้เสียสี ก็ควร. แต่สองผืนไม่ควร.

ผ้านิสีทนะพึงอธิษฐานโดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. ก็แลผ้านิสีทนะ

นั้น ได้ประมาณ มีได้เพียงผืนเดียวเท่านั้น. สองผืนไม่ควร.

แม้ผ้าปูนอนก็ควรอธิษฐานเหมือนกัน. ก็ผ้าปูนอนนั้น ถึงใหญ่

ก็ควร แม้ผืนเดียวก็ควร แม้มากผืนก็ควร. มีลักษณะเป็นต้นว่า สีเขียว

ก็ดี สีเหลืองก็ดี มีชายก็ดี มีชายเป็นลายดอกไม้ก็ดี ย่อมควรทุกประการ.

ภิกษุอธิษฐานคราวเดียว ย่อมเป็นอันอธิษฐานแล้วทีเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 719

ผ้าปิดฝีได้ประมาณพึงอธิษฐานชั่วเวลาที่ยังมีอาพาธอยู่, เมื่ออาพาธ

หายแล้ว พึงปัจจุทธรณ์วิกัปไว้. ผืนเดียวเท่านั้น จึงควร.

ผ้าเช็ดหน้า พึงอธิษฐานเหมือนกัน. ภิกษุจำต้องปรารถนาผืนอื่น

เพื่อต้องการใช้เวลาที่ยังซักอีกผืนหนึ่งอยู่, เพราะฉะนั้น สองผืนก็ควร.

แต่พระเถระอีกพวกหนึ่งกล่าวว่า การอธิษฐานผ้าเช็ดหน้านั้น มุ่งการ

เก็บไว้เป็นสำคัญ แม้มากผืนก็ควร.

ในบริขารโจล ชื่อว่าการนับจำนวนไม่มี, พึงอธิษฐานได้เท่า

จำนวนที่ต้องการนั่นเทียว. ถุงย่ามก็ดี ผ้ากรองน้ำก็ดี มีประมาณเท่าจีวร

ที่ควรวิกัปเป็นอย่างต่ำ พึงอธิษฐานว่า บริขารโจล เหมือนกัน. แม้จะ

รวมจีวรมากผืนเข้าด้วยกันแล้วอธิษฐานว่า ข้าพเจ้าอธิษฐานจีวรเหล่านี้

เป็นบริขารโจล ดังนี้ ก็สมควรเหมือนกัน. แม้ภิกษุจะเก็บไว้เพื่อประโยชน์

แก่เภสัช นวกรรมและมารดาบิดาเป็นต้น ก็จำต้องอธิษฐานแท้. แต่ใน

มหาปัจจรีท่านกล่าวว่า ไม่เป็นอาบัติ.

ส่วนในเสนาสนบริขารเหล่านี้ คือ ฟูกเตียง ๑ ฟูกตั่ง ๑ หมอน ๑

ผ้าปาวาร ๑ ผ้าโกเชาว์ ๑ และในเครื่องปูลาดที่เขาถวายไว้เพื่อประโยชน์

แก่เสนาสนบริขาร ไม่มีกิจที่ต้องอธิษฐานเลย.

[ว่าด้วยเหตุให้ขาดอธิษฐาน]

ถามว่า ก็จีวรที่อธิฐานแล้ว เมื่อภิกษุใช้สอยอยู่ จะละอธิษฐาน

ไปด้วยเหตุอย่างไร ?

ตอบว่า ย่อมละด้วยเหตุ ๙ อย่างนี้ คือ ด้วยให้บุคคลอื่น ๑

ด้วยถูกชิงเอาไป ๑ ด้วยถือเอาโดยวิสาสะ ๑ ด้วยหันไปเป็นคนเลว ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 720

ด้วยลาสิกขา ๑ ด้วยกาลกิริยา ๑ ด้วยเพศกลับ ๑ ด้วยถอนอธิษฐาน ๑

ด้วยความเป็นช่องทะลุ ๑.

บรรดาเหตุ ๙ อย่างนั้น จีวรทุกชนิดย่อมละอธิษฐานด้วยเหตุ ๘

อย่างข้างต้น. แต่เฉพาะไตรจีวรละอธิษฐานด้วยความเป็นช่องทะลุ ท่าน

กล่าวไว้ในอรรถกถาทุกแห่ง. และการละอธิษฐานนั้น ท่านกล่าวไว้ด้วย

ช่องทะลุประมาณเท่าหลังเล็บ. ในช่องทะลุประมาณเท่าหลังเล็บนั้น ผู้

ศึกษาพึงทราบขนาดเท่าหลังเล็บ ด้วยสามารถแห่งเล็บนิ้วก้อย. และช่อง

ทะลุ เป็นช่องโหว่ทีเดียว. ก็ถ้าแม้นว่า ภายในช่องทะลุมีเส้นด้ายเส้น

หนึ่งยังไม่ขาด, ก็ยังรักษาอยู่.

บรรดาไตรจีวรนั้น สำหรับสังฆาฎิและอุตราสงค์ ช่องทะลุจาก

ด้านในแห่งเนื้อที่มีประมาณเพียง ๑ คืบ จากซ้ายด้านยาว, มีประมาณ

๘ นิ้ว จากชายด้านกว้าง ย่อมทำให้ขาดอธิษฐาน. แต่สำหรับอันตรวาสก

ช่องทะลุจากด้านในแห่งเนื้อที่ มีประมาณเพียง ๑ คืบ จากชายด้านยาว,

มีประมาณ ๔ นิ้ว จากชายด้านกว้าง ย่อมทำให้ขาดอธิษฐาน, ช่องทะลุ

เล็กลงมา ไม่ทำให้ขาดอธิษฐาน. เพราะฉะนั้น เมื่อเกิดเป็นช่องทะลุ

จีวรนั้นย่อมตั้งอยู่ในฐานแห่งอติเรกจีวร, ควรกระทำสูจิกรรมแล้ว

อธิษฐานใหม่.

แต่พระมหาสุมเถระกล่าวว่าสำหรับจีวรที่ได้ประมาณมีช่องทะลุที่ใด

ที่หนึ่ง ย่อมทำให้ขาดอธิษฐาน, แต่สำหรับจีวรที่ใหญ่ ช่องทะลุภายนอก

จากประมาณ ยังไม่ทำให้ขาดอธิษฐาน, ช่องทะลุที่เกิดข้างในจึงทำให้

ขาด ดังนี้ .

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 721

พระกรวิยติสสเถระกล่าวว่า จีวรเล็ก ใหญ่ ไม่เป็นประมาณ, ช่อง

ทะลุในที่ซึ่งภิกษุเมื่อครองจีวรซ้อนกัน* ๒ ตัวม้วนมาพาดไว้บนแขนซ้าย

ยังไม่ทำให้ขาดอธิษฐาน, ช่องทะลุส่วนภายในย่อมทำให้ขาด, แม้สำหรับ

อันตรวาสก ช่องทะลุในที่แห่งจีวรที่ภิกษุม้วนให้เป็นลูกบวบ ย่อมไม่ทำ

ให้ขาด, ช่องทะลุที่ต่ำลงจากที่ม้วนให้เป็นลูกบวบนั้น ย่อมทำให้ขาด.

เเต่ในอรรถกถาอันธกะ ท่านทำวาทะของพระมหาสุมเถระให้เป็น

หลักในไตรจีวรแล้วกล่าวว่า จีวรประมาณอย่างต่ำ ย่อมรักษาอธิษฐาน

ไว้ได้ จึงกล่าวคำแม้นี้เพิ่มเติมไว้ว่า ในบริขารโจล ด้านยาว ๙ นิ้ว โดย

นิ้วสุคต ด้านกว้าง ๔ นิ้ว เป็นช่องทะลุ ณ ที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง ย่อมละ

อธิษฐานไป, ในบริขารโจลผืนใหญ่ช่องทะลุที่ต่ำกว่า ๘ นิ้วและ ๔ นิ้ว

นั้น ยังไม่ละอธิษฐาน, ในจีวรที่ควรอธิษฐานทั้งหมด ก็นัยนี้ ดังนี้.

บรรดาวาทะทั้ง ๔ นั้น เพราะขึ้นชื่อว่า ประมาณอย่างเล็กอื่น ๆ

ที่ต่ำกว่าประมาณอย่างเล็ก แห่งจีวรที่ควรวิกัป ของจีวรที่จะพึงอธิษฐาน

แม้ทั้งหมด ย่อมไม่มี. ด้วยว่า ประมาณแห่งผ้านิสีทนะ ผ้าปิดแผล และ

ผ้าอาบน้ำฝนที่ท่านกล่าวไว้นั้น เป็นประมาณอย่างใหญ่ เพราะประมาณ

ที่ยิ่งกว่าประมาณอย่างใหญ่นั้น สำเร็จแล้ว (ใช้ได้), หาใช่ประมาณอย่าง

เล็กไม่ เพราะประมาณอย่างเล็กลงมาจากประมาณอย่างใหญ่นั้น ไม่สำเร็จ

(ใช้ไม่ได้). แม้ไตรจีวรที่หย่อนกว่าประมาณแห่งสุคตจีวร จัดเป็น

ประมาณอย่างใหญ่เหมือนกัน. แต่ประมาณอย่างเล็กที่ท่านแยกกล่าวไว้

ต่างหากในพระสูตรไม่มี.

* วิมติ: เทฺว จีวรานิ ปารุปนฺตสฺสาติ คามปฺปเวเส ทฺวิคุณ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ปารุปน

สนฺธาย วุตฺต. แม้สารัตถทีปนี ๓/๑๔๖ ก็แก้คล้ายกันนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 722

การกำหนดขนาดใหญ่แห่งผ้าเช็คหน้า ผ้าปูนอน และผ้าบริขารโจล

ไม่มีเหมือนกัน. แต่ท่านกล่าวกำหนดไว้ด้วยประมาณอย่างเล็กขนาดจีวรที่

ควรวิกัป เพราะฉะนั้น คำใดที่ท่านกล่าวไว้ก่อน ในอรรถกถาอันธกะ

ว่า ประมาณอย่างเล็กย่อมรักษาการอธิษฐานไว้ได้ แล้วแสดงประมาณ

อย่างเล็ก ๘ นิ้ว และ ๔ นิ้ว โดยนิ้วสุคตแห่งบริขารโจลเท่านั้น ใน

บรรดาไตรจีวรและบริขารโจลเป็นต้นนั้นแล้ว และหมายเอาประมาณอย่าง

เล็กแห่งไตรจีวรเป็นต้นนอกนี้ ซึ่งมีชนิด ๕ ศอกกำเป็นต้น จึงกล่าวว่า

ในจีวรที่ควรอธิษฐานทั้งหมด ก็นัยนี้, คำที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถา

อันธกะนั้น ย่อมไม่สมกัน. แม้ในวาทะของพระกรวิยติสสเถระ ท่านก็

แสดงช่องทะลุจากชายด้านยาวเท่านั้น จากชายด้านกว้างท่านมิได้แสดงไว้;

เพราะฉะนั้น วาทะของพระกรวิยติสสเถระนั้น ก็ไม่ได้กำหนดไว้.

ในวาทะของพระมหาสุมเถระท่านกล่าวไว้ว่า ช่องทะลุในที่แห่งใด

แห่งหนึ่งแห่งจีวรที่ได้ประมาณ ย่อมทำให้ขาดอธิษฐาน, ช่องทะลุภาย

นอกจากประมาณ แห่งจีวรขนาดใหญ่ ย่อมไม่ทำให้ขาดอธิษฐาน. แต่

ท่านก็ไม่ได้กล่าวคำนี้ว่า จีวรชื่อนี้ จัดเป็นจีวรที่ได้ประมาณ, ที่โตกว่า

จีวรที่ได้ประมาณนี้ จัดเป็นจีวรใหญ่.

อีกอย่างหนึ่ง ในวิสัยแห่งไตรจีวรเป็นต้นนี้ อาจารย์ทั้งหลาย

ประสงค์เอาคำว่า ขนาดที่ต่างกันมี ๕ ศอกกำเป็นอาทิ เป็นประมาณ

อย่างเล็กแห่งไตรจีวรเป็นต้น, ถ้าในจีวรใหญ่นั้น ช่องทะลุในภายนอก

จากประมาณอย่างเล็ก ไม่พึงทำให้ขาดอธิษฐานไซร้, ช่องทะลุในภายนอก

จากประมาณอย่างเล็กแม้เเห่งบาตรขนาดใหญ่ หรือแห่งบาตรขนาดกลาง

ก็ไม่พึงทำให้ขาดอธิษฐาน, แต่ (ช่องทะลุในภายนอกจากประมาณอย่าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 723

เล็ก) จะไม่ทำให้ขาดอธิษฐานหามิได้; เพราะฉะนั้น วาทะแม้นี้ก็ไม่ได้

กำหนดขนาดไว้.

แต่อรรถกถาวาทะแรกทั้งหมดนี้ เป็นประมาณ ในอธิการวินิจฉัย

ไตรจีวรเป็นต้นนี้. เพราะเหตุไร ? เพราะมีกำหนด. จริงอยู่ ประมาณ

อย่างเล็กแห่งไตรจีวร ประมาณช่องทะลุ และประมาณแห่งส่วนที่เป็น

ช่องทะลุ ท่านกำหนดกล่าวไว้แล้วในทุกอรรถกถาเหมือนกัน. เพราะ-

ฉะนั้น วาทะนั้นนั่นแลเป็นประมาณ. ด้วยว่า อรรถกถาวาทะนั้น ท่าน

กล่าวคล้อยตามพระประสงค์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าแน่แท้. ส่วนใน ๓

วาทะนอกนี้ ไม่มีกำหนดเลย. คำหน้ากับคำหลังไม่สมกันฉะนี้แล.

ก็ภิกษุใดตามผ้าปะลงในที่ชำรุดก่อนแล้ว เลาะที่ชำรุดออกในภาย

หลัง, การอธิษฐานของภิกษุนั้นยังไม่ขาดไป. แม้ในการเปลี่ยนแปลง

กระทง (จีวร) ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. สำหรับจีวร ๒ ชั้น เมื่อชั้น

หนึ่งเกิดเป็นช่องทะลุ หรือครากไป อธิษฐานยังไม่ขาด. ภิกษุกระทำ

จีวรผืนเล็กให้เป็นผืนใหญ่ หรือกระทำผืนใหญ่ให้เป็นผืนเล็ก, อธิษฐาน

ยังไม่ขาด. เมื่อจะต่อริมสองข้างเข้าที่ตรงกลาง ถ้าว่า ตัดออกก่อนแล้ว

ภายหลังเย็บติดกัน, อธิษฐานย่อมขาด. ถ้าเย็บต่อกันแล้วภายหลังจึงตัด,

ยังไม่ขาดอธิษฐาน. แม้เมื่อใช้พวกช่างย้อมซักให้เป็นผ้าขาว อธิษฐาน

ก็ยังคงเป็นอธิษฐานอยู่ทีเดียวแล.

วินิจฉัยในการอธิษฐาน ในคำว่า อนฺโตทสาห อธิฏฺเติ วิกปฺเปติ

นี้ เท่านี้ก่อน.

[อธิบายการวิกัปจีวร]

ส่วนในการวิกัปมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 724

วิกัปมี ๒ อย่าง คือ วิกัปต่อหน้า ๑ วิกัปลับหลัง ๑.

ถามว่า วิกัปต่อหน้า เป็นอย่างไร ?

แก้ว่า ภิกษุพึงทราบว่า จีวรผืนเดียว หรือมากผืน และว่า จีวร

วางไว้ใกล้ หรือมิได้วางไว้ใกล้ (อยู่ในหัตถบาสหรือนอกหัตถบาส) แล้ว

กล่าวว่า อิม จีวร จีวรผืนนี้ บ้าง ว่า อิมานิ จีวรานิ จีวรเหล่านี้

บ้าง ว่า เอต จีวร จีวรนั่น บ้าง ว่า เอตานิ จีวรานิ จีวรเหล่านั่น

บ้าง แล้วพึงกล่าวว่า ตุยห วิกปฺเปมิ ข้าพเจ้าวิกัปแก่ท่าน ดังนี้. วิกัป

ต่อหน้านี้ มีอยู่อย่างเดียว. ด้วยการวิกัปเพียงเท่านี้ จะเก็บไว้สมควรอยู่.

จะใช้สอย หรือจะสละ หรือจะอธิษฐานไม่ควร. แต่เมื่อภิกษุนั้น

(ภิกษุผู้รับวิกัป) กล่าวคำว่า มยฺห สนฺตก สนฺตกานิ ปริภุญฺช วา

วิสฺสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจย วา กโรหิ แปลว่า จีวรนี้ หรือจีวร

เหล่านี้ เป็นของข้าพเจ้า ท่านจงใช้สอย จงจำหน่าย จงกระทำตาม

สมควรแก่ปัจจัยเถิด ดังนี้ ชื่อว่า ปัจจุทธรณ์ (ถอนวิกัป), จำเดิมแต่นั้น

แม้การบริโภคเป็นต้น ย่อมสมควร.

อีกนัยหนึ่ง ภิกษุพึงรู้ว่า จีวรผืนเดียวหรือมากผืน และว่าวางไว้

ใกล้ หรือมิได้วางไว้ใกล้ อย่างนั้นนั่นแล แล้วกล่าวว่า อิม จีวร หรือว่า

อิมานิ จีวรานิ ดังนี้ ว่า เอต จีวร หรือว่า เอตานิ จีวรานิ ดังนี้

ในสำนักของภิกษุนั้นนั่นแล ระบุชื่อสหธรรมิก ๕ รูปใดรูปหนึ่ง คือ

ผู้ใดผู้หนึ่ง ที่คนชอบใจแล้ว พึงกล่าวว่า ติสฺสสฺส ภิกฺขุโน วิกปฺเปมิ

ข้าพเจ้าวิกัป... แก่ภิกษุติสสะ หรือว่า ติสฺสาย ภิกขุนิยา, ติสฺสาย

สิกฺขมานาย, ติสฺสสฺส สามเณรสฺส, ติสฺสาย สามเณริยา วิกปฺเปมิ

ข้าพเจ้าวิกัป... แก่ติสสาภิกษุณี, แก่ติสสาสิกขมานา, แก่ติสสสามเณร,

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 725

แก่ติสสาสามเณรี ดังนี้. นี้เป็นวิกัปต่อหน้า อีกอย่างหนึ่ง. ด้วยการวิกัป

เพียงเท่านี้ จะเก็บไว้สมควรอยู่. แต่ในการใช้สอยเป็นต้น กิจแม้อย่าง

หนึ่ง ย่อมไม่ควร. แต่เมื่อภิกษุนั้นกล่าวคำว่า จีวรนี้ ของภิกษุชื่อติสสะ

ฯ ล ฯ ของสามเณรีชื่อติสสา ท่านจงบริโภคก็ตาม จงจำหน่ายก็ตาม จง

กระทำตามสมควรแก่ปัจจัยก็ตาม ดังนี้ ชื่อว่าเป็นอันถอน, จำเดิมแต่

นั้นแม้การใช้สอยเป็นต้น ก็สมควร.

ถามว่า การวิกัปลับหลัง เป็นอย่างไร ?

แก้ว่า ภิกษุพึงทราบว่า จีวรผืนเดียวหรือมากผืน และจีวรวางไว้

ใกล้ หรือมิได้วางไว้ใกล้ เหมือนอย่างนั้นแล้ว กล่าวว่า อิม จีวร

ซึ่งจีวรนี้ หรือว่า อิมานิ จีวรานิ ซึ่งจีวรทั้งหลายนี้ ว่า เอต จีวร

ซึ่งจีวรนั่น หรือว่า เอตานิ จีวรานิ ซึ่งจีวรทั้งหลายนั่น ดังนี้ แล้ว

กล่าวว่า ตุยห วิกปฺปนตฺถาย ทมฺมิ ข้าพเจ้าให้แก่ท่าน เพื่อประโยชน์

แก่การวิกัป. ภิกษุผู้วิกัป อันภิกษุผู้รับวิกัปนั้น พึงกล่าวว่า ใครเป็นมิตร

หรือเป็นเพื่อนเห็น หรือเป็นเพื่อนคบกันของท่าน, ลำดับนั้น ภิกษุผู้

วิกัปนอกนี้พึงกล่าวว่า ภิกษุชื่อติสสะ หรือว่า ฯลฯ สามเณรีชื่อติสสา

โดยนัยก่อนนั่นแล. ภิกษุนั้นพึงกล่าวอีกว่า อห ติสฺสสฺส ภิกฺขุโน

ทมฺมิ ข้าพเจ้าให้แก่ภิกษุชื่อติสสะ ฯลฯ หรือว่า อห ติสฺสาย สามเณริยา

ทมฺมิ ข้าพเจ้าให้แก่สามเณรีชื่อติสสา ดังนี้. อย่างนี้ ชื่อว่าวิกัปลับหลัง.

ด้วยการวิกัปเพียงเท่านี้ การเก็บไว้ สมควรอยู่. ส่วนในการใช้สอยเป็นต้น

กิจแม้อย่างเดียว ก็ไม่สมควร. แต่เมื่อภิกษุนั้นกล่าวคำว่า อิตฺถนฺนามสฺส

ภิกฺขุโน สนฺตก ปริภุญฺช วา วิสฺสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจย วา กโรหิ

(จีวร) ของภิกษุข้อนี้ ท่านจงใช้สอยก็ได้ จงจำหน่ายก็ได้ จงกระทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 726

ตามสมควรแก่ปัจจัยก็ได้ โดยนัยดังกล่าวแล้วในวิกัปต่อหน้าอย่างที่สอง

นั่นแล ชื่อว่าเป็นอันถอน. จำเดิมแต่ถอนแล้วนั้น แม้กิจทั้งหลายมี

การใช้สอยเป็นต้น ย่อมควร.

ถามว่า การวิกัปทั้ง ๒ อย่าง ต่างกันอย่างไร ?

ตอบว่า ในการวิกัปต่อหน้า ภิกษุวิกัปเองแล้วให้ผู้อื่นถอนได้,

ในวิกัปลับหลัง ภิกษุให้คนอื่นวิกัปแล้วให้คนอื่นนั่งเองถอน, นี้เป็น

ความต่างกัน ในเรื่องวิกัปทั้ง ๒ นี้. ก็ถ้าวิกัปแก่ผู้ใด ผู้นั้นไม่ฉลาด

ในพระบัญญัติ ไม่รู้จะถอน, พึงถือจีวรนั้น ไปยังสำนักสหธรรมิก

อื่นผู้ฉลาด วิกัปใหม่แล้วพึงให้ถอน. นี้ชื่อว่า การวิกัปบริขารที่วิกัปแล้ว

ควรอยู่.

ในบทว่า วิกปฺเปติ นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ก็คำที่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าตรัสไว้โดยไม่แปลกกันว่า วิกปฺเปติ นี้ ดูเหมือนจะผิด จาก

พระบาลีเป็นต้นว่า อนุชานามิ ภิกขุเว ติจีวร อธิฏฺาตุ น วิกปฺเปตุ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้อธิษฐานไตรจีวร ไม่ใช่ให้วิกัป

ดังนี้, แต่พระตถาคตทั้งหลายย่อมไม่ตรัสคำที่ผิด; เพราะฉะนั้น ผู้ศึกษา

พึงทราบเนื้อความแห่งคำว่า อนุชานามิ ภิกฺขเว ติจีวร เป็นต้นนั้น

โดยนัยอย่างนี้ว่า เราอนุญาตให้อธิษฐาน สำหรับภิกษุผู้บริหารไตรจีวร

โดยสังเขปว่าไตรจีวรเท่านั้น ไม่ใช่ให้วิกัป. แต่ผ้าอาบน้ำฝน อนุญาต

ให้วิกัปอย่างเดียว ถัดจาก ๔ เดือน (ฤดูฝน) ไม่ใช่อธิษฐาน, และเมื่อ

มีอรรถอย่างนี้ ภิกษุรูปใดใคร่จะอยู่ปราศจากไตรจีวร ผืนใดผืนหนึ่ง,

เป็นอันทรงประทานโอกาสแก่ภิกษุนั้น เพื่อถอนจีวรอธิษฐานแล้ววิกัป

เพื่อสะดวกในการอยู่ปราศ (ไตรจีวร) ไม่เป็นอาบัติ ในเมื่อล่วง ๑๐ วัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 727

โดยอุบายนี้ บัณฑิตพึงทราบความที่วิกัปไม่สำเร็จในจีวรเป็นต้นทั้งหมด

ฉะนี้แล.

บทว่า วิสฺสชฺเชติ มีวินิจฉัยว่า ภิกษุให้จีวรแก่ผู้อื่น ก็อย่างไร

เป็นอันให้แล้ว และอย่างไร เป็นอันถือเอาแล้ว ? ภิกษุผู้สละให้กล่าวว่า

อิท ตุยฺห เทมิ ททามิ หชฺชามิ โอโณเชมิ ปริจฺจชามิ วสฺสชฺชามิ

ข้าพเจ้าให้ ยกให้ มอบให้ น้อมให้ สละให้ จำหน่ายจีวรผืนนี้แก่ท่าน

หรือว่า อิตฺถนฺนามสฺส เทมิ ฯ เป ฯ นิสฺสชฺชามิ ข้าพเจ้าให้ ฯ ล ฯ

สละให้แก่ท่านผู้มีชื่อนี้ ดังนี้ เป็นอันให้ทั้งต่อหน้าทั้งลับหลังแล้วทีเดียว;

เมื่อผู้สละให้กล่าวว่า ตุยฺห คณฺหาหิ ท่านจงถือเอาของท่าน ดังนี้, ภิกษุ

ผู้รับกล่าวว่า มยฺห คณฺหามิ ข้าพเจ้าถือเอาของข้าพเจ้า เป็นอันให้ถูก

และถือเอาถูก, เมื่อผู้สละให้กล่าวว่า ตว สนฺตถ กโรหิ ตว สนฺตก โหตุ

ตว สนฺตถ กริสฺสสิ ท่านจงทำให้เป็นของท่าน จงเป็นของท่าน ท่าน

จักกระทำให้เป็นของท่าน ดังนี้. ภิกษุผู้รับกล่าวว่า มม สนฺตก กโรมิ

ข้าพเจ้าจะทำให้เป็นของข้าพเจ้า มม สนฺตก โหตุ จงเป็นของข้าพเจ้า

มม สนฺตก กริสฺสามิ ข้าพเจ้า จักกระทำให้เป็นของข้าพเจ้า ดังนี้,

เป็นอันให้ไม่ถูกและเป็นอันถือเอาไม่ถูก.

ภิกษุ ผู้สละให้ ไม่รู้เพื่อจะให้ (ไม่รู้วิธีเสียสละให้) เลย, ฝ่ายผู้รับ

ก็ไม่รู้เพื่อจะรับ (ไม่รู้วิธีรับ). ก็ถ้าเมื่อภิกษุผู้เสียสละให้กล่าวว่า ขอท่าน

จงทำให้เป็นของท่านเสีย ภิกษุผู้รับกล่าวว่า ดีละ ขอรับ ! ผมจะรับเอา

แล้วถือเอา, เป็นอันให้ไม่ถูกต้อง แต่เป็นอันรับเอาถูกต้อง. ก็ถ้ารูปหนึ่ง

กล่าวว่า, ท่านจะถือเอาเสีย, อีกรูปหนึ่ง (คือผู้รับ) กล่าวว่า ผมจะไม่

ถือเอา, ผู้เสียสละให้นั้นกล่าวอีกว่า ท่านจงถือเอาของที่ผมให้แล้วเพื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 728

ท่าน, ฝ่ายภิกษุนอกนี้กล่าวว่า ผมไม่มีความต้องการด้วยของสิ่งนี้, หลัง

จากนั้นแม้รูปก่อนก็ให้ล่วง ๑๐ วันไปด้วยเข้าใจว่า เราให้แล้ว, ฝ่าย

รูปหลังก็ให้ล่วง ๑๐ วัน ไปด้วยเข้าใจว่า เราได้ปฏิเสธไปแล้ว เป็นอาบัติ

แก่ใคร ไม่เป็นอาบัติแก่ใคร ? ไม่เป็นอาบัติแก่ใคร, ก็ท่านรูปใดชอบใจ,

ท่านรูปนั้นพึงอธิษฐานใช้สอยเถิด.

ฝ่ายภิกษุผู้ที่มีความสงสัยในการอธิษฐาน จะพึงทำอย่างไร ? พึง

บอกความเป็นผู้สงสัยแล้วกล่าวว่า ถ้าจีวรจักไม่ได้อธิษฐาน เมื่อเป็น

อย่างนั้น จีวรเป็นของควรแก่ข้าพเจ้า แล้วพึงเสียสละโดยนัยดังกล่าวแล้ว

นั้นแล. เพราะว่าเมื่อภิกษุให้รู้อย่างนี้แล้วทำวินัยกรรมไม่เป็นมุสาวาท.

แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า จีวรนั้น ภิกษุรูปหนึ่งถือเอาเป็นวิสาสะแล้ว

คืนให้ ก็ควร. คำของอาจารย์บางพวกนั้นไม่ชอบ. เพราะนั่น ไม่ใช่

วินัยกรรมของภิกษุผู้มีความสงสัยนั้น. ทั้งผ้านั้น ก็ไม่เป็นวัตถุอื่น ด้วย

เหตุสักว่าถือเอาแล้วให้คืนนี้.

คำว่า นสฺสติ เป็นต้น มีอรรถตื้นทั้งนั้นแล.

ในคำว่า โย น ทเทยฺย อาปตฺติ ทุกกฏสฺส นี้มีวินิจฉัยดังนี้:-

เป็นทุกกฏแก่ภิกษุผู้ไม่คืนให้ ด้วยความสำคัญนี้ว่า ภิกษุนี้ให้แล้วแก่เรา.

แต่ภิกษุผู้รู้ว่าเป็นของภิกษุนั้นแล้วชิงเอาด้วยเลศ พระวินัยธรพึงให้ตีราคา

สิ่งของปรับอาบัติ ฉะนี้แล.

ในสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ ชื่อว่ากฐินสมุฏฐาน ย่อมเกิด

ทางกายกับวาจา และทางกายวาจากับจิต เป็นอกิริยา เพราะต้องด้วย

การไม่อธิษฐานและไม่วิกัป เป็นโนสัญญาวิโมกข์ เพราะไม่พ้นด้วยสัญญา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 729

แม้ไม่รู้ก็ต้อง เป็นอจิตตกะ ปัณณัติติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม

มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาปฐมกฐินสิกขาบท ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๒

เรื่องภิกษุหลายรูป

[๑๐] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นภิกษุทั้งหลาย

ฝากผ้าสังฆาฎิไว้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก

หลีกไปสู่จาริกในชนบท ผ้าสังฆาฎิเหล่านั้นถูกเก็บไว้นานก็ขึ้นราตกหนาว

ภิกษุทั้งหลายจึงผึ่งผ้าสังฆาฏิเหล่านั้น

ท่านพระอานนท์เที่ยวตรวจดูเสนาสนะ ได้พบภิกษุเหล่านั้นกำลัง

ผึ่งผ้าสังฆาฏิอยู่ ครั้นแล้วจึงเข้าไปหาภิกษุเหล่านั้น ถามว่าจีวรที่ขึ้นรา

เหล่านี้ของใคร

จึงภิกษุเหล่านั้นแจ้งความนั้นแก่ท่านพระอานนท์แล้ว

ท่านพระอานนท์จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุ

ทั้งหลายจึงได้ฝากผ้าสังฆาฎิไว้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้า

อันตรวาสก หลีกไปสู่จาริกในชนบทเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 730

ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอบถามภิกษุเหล่านั้นว่า ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลาย ฝากผ้าสังฆาฏิไว้แก่ภิกษุทั้งหลาย

แล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก หลีกไปสู่จาริกในชนบท

จริงหรือ

ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่

ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จึงได้ฝากผ้าสังฆาฏิไว้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้า

อันตรวาสกหลีกไปสู่จาริกในชนบทเล่า การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษ

เหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของ

ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอี่นของชนบางพวกที่

เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้น โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 731

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๒๑. ๒. จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว ถ้าภิกษุอยู่

ปราศจากไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง เป็นนิสัคคิยปาจิตตีย์

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วแก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องภิกษุหลายรูป

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 732

พระอนุบัญญัติ

เรื่องภิกษุอาพาธ

[๑๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธอยู่ในพระนครโกสัมพี

พวกญาติส่งทูตไปในสำนักภิกษุนั้นว่า นิมนต์ท่านมา พวกผมจักพยาบาล

แม้ภิกษุทั้งหลายก็กล่าวอย่างนี้ว่า ไปเถิดท่าน พวกญาติจักพยาบาลท่าน

เธอตอบอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ

สิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลายไว้ว่า ภิกษุไม่พึงอยู่ปราศจากไตรจีวร ผมกำลัง

อาพาธ ไม่สามารถจะนำไตรจีวรไปด้วยได้ ผมจักไม่ไปละ

ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้สมมติติจีวราวิปวาส

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สมมติ เพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจาก

ไตรจีวรแก่ภิกษุผู้อาพาธ ก็แลสงฆ์พึงให้สมมติอย่างนี้:-

วิธีสมมติติจีวราวิปวาส

ภิกษุผู้อาพาธนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งประนมมือ กล่าวอย่างนั้นว่า ท่าน

เจ้าข้า ข้าพเจ้าอาพาธ ไม่สามารถจะนำไตรจีวรไปด้วยได้ ท่านเจ้าข้า

ข้าพเจ้านั้นขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวรต่อสงฆ์ ดังนี้

พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 733

ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติย-

กรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อผู้นี้อาพาธ ไม่

สามารถจะนำไตรจีวรไปด้วยได้ เธอขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่

ปราศจากไตรจีวรต่อสงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์

พึงให้สมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวร แก่ภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็น

วาจาประกาศให้สงฆ์ทราบ.

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้อาพาธ ไม่

สามารถจะนำไตรจีวรไปด้วยได้ เธอขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่

ปราศจากไตรจีวรต่อสงฆ์ สงฆ์ให้สมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจาก

ไตรจีวรแก่ภิกษุมีชื่อนี้ การให้สมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตร-

จีวรแก่ภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบ

แก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

การสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวร อันสงฆ์ให้แล้ว

แก่ภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้

ด้วยอย่างนี้

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้

ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 734

พระอนุบัญญัติ

๒๑. ๒. ก. จีวร...สำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว ถ้าภิกษุ

อยู่ปราศจากไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ

เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องภิกษุอาพาธ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๒] บทว่า จีวร...สำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุทำสำเร็จ

แล้วก็ดี หายเสียก็ดี ฉิบหายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมดหวังว่าจะได้

ทำจีวรก็ดี

คำว่า กฐินเดาะเสียแล้ว คือ เดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใดอัน

หนึ่งในมาติกา ๘ หรือสงฆ์เดาะเสียในระหว่าง

คำว่า ถ้าภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง ความว่า

ถ้าภิกษุอยู่ปราศจากผ้าสังฆาฏิก็ดี จากผ้าอุตราสงค์ก็ดี จากผ้าอันตรวาสก

ก็ดี แม้คืนเดียว.

บทว่า เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ คือ ยกเว้นภิกษุผู้ได้รับสมมติ.

บทว่า เป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำจะสละ พร้อมกับเวลา

อรุณขึ้น ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรในอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 735

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศจากแล้วล่วงราตรี เป็น

ของจำจะสละ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่สละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงพึงข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึง

ที่แล้ว สงฆ์พึงหญิงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศจากแล้วล่วงราตรี

เป็นของจำจะสละ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้

แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 736

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วล่วงราตรี เป็นของ

จำจะสละ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

มาติกา

[๑๓] บ้าน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

เรือน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

โรงเก็บของ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ป้อม มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

เรือนยอดเดียว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ปราสาท มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ทิมแถว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

เรือ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

หมู่เกวียน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ไร่นา มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ลานนวดข้าว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

สวน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

วิหาร มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

โคนไม้ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

ที่แจ้ง มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 737

มาติกาวิภังค์

[๑๔ ] บ้าน ที่ชื่อว่า มีอุปจารเดียว คือเป็นบ้านของสกุลเดียว

และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในบ้าน ต้องอยู่ภายในบ้าน

เป็นบ้านไม่มีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ในเรือนใด ต้องอยู่ในเรือน

นั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส ที่ชื่อว่า มีอุปจารต่าง คือเป็นบ้าน

ของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ในเรือนใด ต้องอยู่ใน

เรือนนั้น หรือในห้องโถง หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส

เมื่อจะไปสู่ห้องโถง ต้องเก็บจีวรไว้ในหัตถบาส แล้วอยู่ในห้องโถง หรือ

อยู่ที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส เก็บจีวรไว้ในห้องโถง ต้องอยู่

ในห้องโถง หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส เป็นบ้านไม่มีเครื่อง

ล้อม เก็บจีวรไว้ในเรือนใด ต้องอยู่ในเรือนนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๑๕] เรือน ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็กห้องน้อย

ต่าง ๆ ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเรือน ต้องอยู่ภายในเรือน เป็นเรือนที่ไม่

มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือไม่ละจาก

หัตถบาส เรือนต่างสกุล และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ

ภิกษุเก็บจีวรไว้ในห้องโด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละ

จากหัตถบาส เป็นเรือนไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่

ในห้องนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๑๖] โรงเก็บของ ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็ก

ห้องน้อยต่าง ๆ ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในโรงเก็บของ ต้องอยู่ภายในโรง

เก็บของ เป็นโรงไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น

หรือไม่ละจากหัตถบาส โรงเก็บของ ของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 738

มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือ

ที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส เป็นโรงไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้

ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๑๗] ป้อม ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในป้อม ต้องอยู่

ภายในป้อม ป้อมของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ เก็บจีวรไว้ใน

ห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๑๘] เรือนยอดเดียว ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเรือน

ยอดเดียว ต้องอยู่ภายในเรือนยอดเดียว เรือนยอดเดียวของต่างสกุล

มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ เก็บจีวรไว้ในห้องโด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือ

ที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๑๙] ปราสาทของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในปราสาท ต้อง

อยู่ภายในปราสาท ปราสาทของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ เก็บ

จีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในหัองนั่น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจาก

หัตถบาส.

[ ๒๐] ทิมแถว ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในทิมแถว

ต้องอยู่ภายในทิมแถว ทิมแถวของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ

เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละ

จากหัตถบาส.

[๒๑ ] เรือ ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเรือ ต้องอยู่

ภายในเรือ เรือของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่าง ๆ เก็บจีวรไว้ใน

ห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๒๒] หมู่เกวียน ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ในหมู่เกวียน

ไม่พึงละอัพภันดรด้านหน้าหรือด้านหลัง ด้านละ ๗ อัพภันดร ด้านข้าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 739

ด้านละ ๑ อัพภันดร หมู่เกวียนของต่างสกุล เก็บจีวรไว้ในหมู่เกวียน

ไม่พึงละจากหัตถบาส.

[๒๓] ไร่นา ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวร

ไว้ภายในเขตไร่นา ต้องอยู่ภายในเขตไร่นา เป็นไร่นาไม่มีเครื่องล้อม

ไม่พึงละจากหัตถบาส ไร่นาของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ภาย

ในเขตไร่นา ต้องอยู่ภายในเขตไร่นา หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจาก

หัตถบาส เป็นเขตไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.

[๒๔] ลานนวดข้าว ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บ

จีวรไว้ภายในเขตลานนวดข้าว ต้องอยู่ภายในเขตลานนวดข้าว เป็นสถาน

ไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส ลานนวดข้าวต่างสกุล และมีเครื่อง

ล้อม เก็บจีวรไว้ภายในเขตลานนวดข้าว ต้องอยู่ที่ริมประตู หรือไม่ละจาก

หัตถบาส เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.

[๒๕] สวน ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภาย

ในเขตสวน ต้องอยู่ภายในเขตสวน เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึง

ละจากหัตถบาส สวนของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ภายใน

เขตสวน ต้องอยู่ที่ริมประตูสวน หรือไม่ละจากหัตถบาส เป็นสถานไม่มี

เครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.

[๒๖] วิหาร ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้

ภายในเขตวิหาร ต้องอยู่ภายในเขตวิหาร เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม

เก็บจีวรไว้ในที่อยู่ใด ต้องอยู่ในที่อยู่นั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส วิหาร

ของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ในที่อยู่ใด ต้องอยู่ในที่

อยู่นั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 740

เก็บจีวรไว้ในที่อยู่ใด ต้องอยู่ในที่อยู่นั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.

[๒๗] โคนไม้ ของสกุลเดียว กำหนดเอาเขตที่เงาแผ่ไปโดยรอบ

ในเวลาเที่ยง ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเขตเงา ต้องอยู่ภายในเขตเงา

โคนไม้ของต่างสกุล ไม่พึงละจากหัตถบาส.

[๒๘] ที่แจ้ง ที่ชื่อว่า มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง คือในป่า

หาบ้านมิได้ กำหนด ๗ อัพภันดรโดยรอบ จัดเป็นอุปจารเดียว พ้น

นั้นไป จัดเป็นอุปจารต่าง.

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๒๙] จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าอยู่ปราศ เว้นแต่ภิกษุได้รับ

สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสงสัย เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าไม่อยู่ปราศ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้ถอน ภิกษุสำคัญว่าถอนแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้สละให้ไป ภิกษุสำคัญว่าสละให้ไปแล้ว เว้นแต่ภิกษุ

ได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 741

จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับ

สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เว้นแต่ภิกษุได้

รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

จีวรยังไม่ถูกโจรชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกโจรชิงไปแล้ว เว้นแต่

ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

ทุกกฏ

[๓๐] ภิกษุไม่สละจีวรที่เป็นนิสสัคคีย์ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ

จีวรไม่อยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าอยู่ปราศ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ จีวร

ไม่อยู่ปราศ ภิกษุสงสัย บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.

ไม่ต้องอาบัติ

จีวรไม่อยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าไม่อยู่ปราศ บริโภค ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๓๑] ในภายในอรุณ ภิกษุถอนเสีย ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวร

หาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑ จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจรชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือ

วิสาสะ ๑ ภิกษุได้รับสมมติ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑

ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๒ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 742

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๒

พรรณนาอุทโทสิตสิกขาบท

อุทโทสิตสิกขาบทว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา เป็นอาทิ

ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:- วินิจฉัยในอุทโทสิตสิกขาบทนั้น พึงทราบ

ต่อไปนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องภิกษุหลายรูป]

บทว่า สนฺตรุตฺตเรน มีความว่า อันตรวาสก (ผ้านุ่ง) ตรัส

เรียกว่า อันตระ. อุตราสงค์ (ผ้าห่ม) ตรัสเรียกว่า อุตตระ. ผ้าห่มกับ

ผ้านุ่งชื่อว่า สันตรุตตระ. มีแต่ผ้าห่มกับผ้านุ่งนั้น. อธิบายว่า พร้อมด้วย

ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก.

บทว่า ณฺณกิตานิ ได้แก่ เกิดราเป็นจุดดำ ๆ ขาว ๆ ในโอกาสที่

เหงื่อถูก.

คำว่า อทฺทสา โข อายสฺมา อานนฺโท เสนาสนจาริก อาหิณฺฑนฺโต

มีความว่า ได้ยินว่า พระเถระ เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าสู่พระ-

คันธกุฏี เพื่อพระประสงค์จะพักผ่อนในกลางวัน ได้โอกาสนั้นแล้ว เก็บ

ภัณฑะไม้ และภัณฑะดิน ที่เก็บไว้ไม่ดี ปัดกวาดสถานที่ที่ไม่ได้กวาด

กระทำปฏิสันถารกับพวกภิกษุอาพาธ ไปถึงเสนาสนสถานแห่งภิกษุ

เหล่านั้นได้เห็นแล้ว. เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า

ท่านพระอานนท์ เที่ยวไปยังเสนาสนจาริกได้เห็นแล้วแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 743

[อนุบัญญัติแก้อรรถเรื่องภิกษุอาพาธ]

คำว่า อวิปฺปวาสสมฺมตึ ทาตุ มีความว่า สมมติในการไม่อยู่ปราศ

(ไตรจีวร) ชื่ออวิปปวาสสมมติ. อนึ่ง สมมติ เพื่อการไม่อยู่ปราศ (ไตร

จีวร) ชื่ออวิปปวาสสมมติ. ก็ในอวิปปวาสสมมตินี้ มีอานิสงส์อย่างไร ?

ภิกษุอยู่ปราศจากจีวรผืนใด, จีวรผืนนั้น ย่อมไม่เป็นนิสสัคคีย์ และภิกษุ

ผู้อยู่ปราศจากไม่ต้องอาบัติ. อยู่ปราศจากได้สิ้นเวลาเท่าไร ? พระมหา-

สุมเถระกล่าวไว้ก่อนว่า ชั่วเวลาที่โรคยิ่งไม่หาย, แต่เมื่อโรคหายแล้ว

ภิกษุพึงรีบกลับมาสู่สถานที่เก็บจีวร ดังนี้. พระมหาปทุมเถระกล่าวว่า

เมื่อภิกษุนั้นรีบด่วนมา โรคพึงกลับกำเริบขึ้น; เพราะฉะนั้น ควรจะ

ค่อย ๆ มา, ก็ภิกษุยังแสวงหาพวกเกวียน หรือว่า ทำความผูกใจอยู่ว่า

เราจะไป จำเดิมแต่กาลใด, จะอยู่ปราศจากจำเดิมแต่กาลนั้นไป ก็ควร,

แต่เมื่อภิกษุทำการทอดธุระอย่างนี้ว่า เราจักยังไม่ไปในเวลานี้ พึงถอน

เสีย, ไตรจีวรที่ถอนแล้วจักตั้งอยู่ในฐานะเป็นอติเรกจีวร ดังนี้.

ถามว่า ถ้าว่า โรคของเธอกลับกำเริบขึ้น, เธอจะพึงทำอย่างไร ?

แก้ว่า พระปุสสเทวเถระ กล่าวไว้ก่อนว่า ถ้าโรคนั้นนั่นเองกลับ

กำเริบขึ้น อวิปปวาสสมมตินั้นนั่นแล ยังคงเป็นสมมติอยู่ ไม่มีกิจที่จะ

ต้องให้สมมติใหม่; ถ้าโรคอื่นกำเริบ, พึงให้สมมติใหม่ ดังนี้. พระ-

อุปติสสเถระกล่าวว่า โรคนั้น หรือโรคอื่นก็ตาม จงยกไว้, ไม่มีกิจที่

จะต้องให้สมมติใหม่ ดังนี้.

ส่วนในบทว่า นิฏฺิตจีวรสฺมึ ภิกฺขุนา นี้ บัณฑิตอย่าเข้าใจอรรถ

เหมือนในสิกขาบทก่อน พึงทราบอรรถแห่งตติยาวิภัตติ ด้วยอำนาจแห่ง

ฉัฏฐีวิภัตติอย่างนี้ว่า นิฏฺิต จีวรสฺมึ ภิกฺขุโน เมื่อจีวรของภิกษุสำเร็จ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 744

แล้ว ดังนี้. เพราะอรรถด้วยอำนาจแห่งตติยาวิภัตติว่า กิจชื่อนี้ อันภิกษุ

พึงกระทำ ดังนี้ ไม่มี, แต่ว่า อรรถด้วยอำนาจแห่งฉัฏฐีวิภัตติอย่างนี้ว่า

เมื่อจีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว และเมื่อกฐินเดาะแล้ว ถ้าภิกษุมีปลิโพธขาด

แล้วอย่างนี้ พึงอยู่ปราศจากไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง ดังนี้ ย่อมสมควร

(เพราะเหตุใด; เพราะเหตุนั้น พึงทราบอรรถแห่งตติยาวิภัตติด้วยอำนาจ

ฉัฏฐีวิภัตติ).

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติจีวเรน ได้แก่ จากบรรดาไตรจีวรที่

อธิษฐานแล้ว จีวรผืนใดผืนหนึ่ง. จริงอยู่ ภิกษุแม้อยู่ปราศจากจีวรผืน

เดียว ก็จัดว่าเป็นผู้อยู่ปราศจากไตรจีวร เพราะเป็นผู้อยู่ปราศจาก (จีวร

ผืนหนึ่ง) อันนับเนื่องในความสำเร็จเป็นไตรจีวร เพราะเหตุนั้นนั่นแล

ในบทภาชนะแห่งบทว่า ติจีวเรน นั้น พระองค์จึงตรัสคำว่า สงฺฆาฏิยา

เป็นต้น.

บทว่า วิปฺปวเสยฺย คือ พึงเป็นผู้อยู่ปราศจาก.

[อธิบายสถานที่เก็บจีวรและวิธีปฏิบัติ]

คำว่า คาโม เอกูปจาโร เป็นอาทิ ตรัสไว้เพื่อให้กำหนดลักษณะ

แห่งการไม่อยู่ปราศจาก (ไตรจีวร). ต่อจากคำว่า คาโม เอกูปจาโร

เป็นต้นนั้นไป พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงขยายบทมาติกา ๑๕ บท

เหล่านั้นนั่นแล ให้พิสดารตามลำดับ จึงตรัสว่า คาโม เอกูปจาโร นาม

เป็นต้น. ในคำว่า คาโม เอกูปจาโร นั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

พระราชวังของพระราชาพระองค์หนึ่ง หรือบ้านของนายบ้านคน

หนึ่ง ชื่อว่าบ้านของตระกูลเดียว. บทว่า ปริกฺขิตฺโต มีความว่า ล้อม

แล้วด้วยกำแพง ด้วยรั้ว หรือด้วยคู อย่างใดอย่างหนึ่ง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 745

ท่านแสดงความที่บ้านของตระกูลเดียว มีอุปจารเดียวด้วยคำมี

ประมาณเพียงเท่านี้.

สองบทว่า อนฺโตคาเม วฏฺพฺพ มีความว่า ภิกษุจะเก็บจีวรไว้ใน

บ้านเช่นนี้แล้ว ให้อรุณขึ้นในที่ซึ่งตนชอบใจในละแวกบ้านย่อมควร.

ด้วยบทว่า อปริกฺขิตฺโต นี้ ท่านแสดงความที่บ้านนั้นนั่นแล มี

อุปจารต่าง ๆ กัน.

คำว่า ตสฺมึ ฆเร วฎฺพฺพ มีความว่า พึงอยู่ในเรือนหลังที่ตนเก็บ

จีวรไว้ในบ้านเห็นปานนั้น.

หลายบทว่า หตฺถปาสา วา น วิชหิตพฺพ มีความว่า อีกอย่างหนึ่ง

ไม่พึงละเรือนนั้น จากหัตถบาสโดยรอบ. มีคำอธิบายว่า ไม่พึงละให้

ห่างจากประเทศประมาณ ๒ ศอกคืบไป. ก็การอยู่ภายใน ๒ ศอกคืบ

ย่อมสมควร. ล่วงเลยประมาณนั้นไป ถ้าแม้นภิกษุผู้มีฤทธิ์ยังอรุณให้ตั้ง

ขึ้นในอากาศ ก็เป็นนิสสัคคีย์เหมือนกัน.

ก็บัณฑิตพึงทราบการกำหนดเรือนในบทว่า ยสฺมึ ฆเร ในวิสัยว่า

บ้านของตระกูลเดียวนี้ โดยลักษณะเป็นต้นว่า เป็นเรือนของตระกูลเดียว

ดังนี้.

คำว่า นานากุลสฺส คาโม ได้แก่ ตำหนักแห่งพระราชาต่างพระองค์

กัน หรือบ้านของพวกนายบ้านต่าง ๆ เช่นเมืองไพศาลีและเมืองกุสินารา

เป็นต้น.

ด้วยบทว่า ปริกฺขิตฺโต นี้ ท่านแสดงความที่บ้านของตระกูลต่าง

กัน มีอุปจารเดียวกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 746

ท่านกล่าวสภาด้วยลิงค์ตรงกันข้าม ในคำว่า สภาเย วา ทฺวารมูเล

วา นี้ ว่า สภาย

บทว่า ทฺวารมูเล ได้แก่ ที่ใกล้ประตูเมือง มีคำอธิบายว่า หรือ

พึงอยู่ในเรือนที่ตนเก็บจีวรไว้ในบ้านเห็นปานนั้น. เมื่อภิกษุไม่อาจจะอยู่

ในเรือนนั้น แพราะเสียงอึกทึก หรือเพราะคนพลุกพล่าน พึงอยู่ในสภา

หรือที่ใกล้ประตูเมือง. เมื่อไม่อาจอยู่แม้ในสภา หรือในที่ใกล้ประตูเมือง

นั้น พึงอยู่ในที่ผาสุก แห่งใดแห่งหนึ่งแล้วมาในภายในอรุณ ไม่พึงละ

จากหัตถบาส แห่งสภาและที่ใกล้ประตูเมืองนั้นเลย. ส่วนกิจที่ภิกษุจะพึง

อยู่ในหัตถบาสแห่งเรือน หรือแห่งจีวร ไม่มีเลย.

คำว่า สภาย คจฺฉนฺเตน หตฺถปาเส จีวร นิกฺขิปิตฺวา มีความว่า

ถ้าว่า ภิกษุไม่เก็บไว้ในเรือน ไปยังสภาด้วยทำในใจว่า เราจักเก็บไว้ที่

สภา, เมื่อภิกษุนั้น ไปยังสภา พึงเหยียดแขนออกไปในหัตถบาส เก็บ

จีวรไว้ที่ร้านตลาดบางร้าน ที่เป็นทางแห่งการเก็บไว้ คือ อยู่ในหัตถบาส

อย่างนี้ว่า เอาเถอะ! เราจักเก็บจีวรนี้ไว้ แล้วพึงอยู่ที่สภา หรือที่ใกล้

ประตู หรือไม่พึงละ (จีวร) จากหัตถบาส โดยนัยก่อนนั่นแล.

[มติต่าง ๆ ในสถานที่เก็บและการรักษาจีวร]

ในวิสัยว่า สภาเย วา ทฺวารมูเล วา นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระปุสสเทวเถระ กล่าวไว้ก่อนว่า ไม่มีกิจจำเป็นที่จะต้องอยู่ใน

หัตถบาสแห่งจีวร, จะอยู่ในที่ใดที่หนึ่ง จะเป็นหัตถบาสถนนก็ดี หัตถ-

บาสสภาก็ดี หัตถบาสประตูก็ดี ย่อมสมควรทั้งนั้น ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 747

ส่วนพระอุปติสสเถระ กล่าวว่า เมืองมีประตูมากก็มี มีสภามาก

ก็มี; เพราะฉะนั้น จะอยู่ในที่ทั่วไป ไม่สมควร, แต่ไม่พึงละจากหัตถ-

บาสแห่งสภาและประตู ซึ่งมีอยู่ในที่ทรงหน้าแห่งถนนที่ตนเก็บจีวรไว้,

จริงอยู่ เมื่อเป็นอย่างนี้ อาจจะทราบความเป็นไปแห่งจีวรได้ ดังนี้.

แต่เมื่อภิกษุไปยังสภา เก็บจีวรไว้ในมือของชาวร้านตลาดคนใด.

ถ้าชาวร้านตลาดคนนั้นไพล่นำจีวรนั้นไปเก็บไว้ที่เรือน, หัตถบาสถนน

คุ้มไม่ได้, ภิกษุจะต้องอยู่ในหัตถบาสแห่งเรือนเท่านั้น. ถ้าเรือนใหญ่

ตั้งแผ่ครอบไปตลอดสองถนน, ภิกษุพึงให้อรุณตั้งขึ้นเฉพาะในหัตถบาส

ทางข้างหน้า หรือทางข้างหลัง (แห่งเรือนนั้น). แต่ภิกษุเก็บ (จีวร)

ฝากไว้ในสภา พึงให้อรุณขึ้นในสภา หรือที่ใกล้ประตูเมือง ตรงหน้า

สภานั้น หรือว่า ในหัตถบาสแห่งสภา หรือที่ใกล้ประตูเมืองนั้นนั่นแล.

ด้วยบทว่า อปริกฺขิตฺโต นี้ ท่านแสดงความที่บ้านนั้นนั่นแล มี

อุปจารต่างกัน. พึงทราบความมีอุปจารเดียวกัน และมีอุปจารต่างกันใน

บททั้งปวง โดยอุบายอย่างนี้เหมือนกัน. แต่ในพระบาลีพระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงยกบทมาติกาขึ้นเพียงบทเดียว อันมีอยู่ในคำต้น อย่างนี้ว่า บ้าน

ชื่อว่า มีอุปจารเดียว และอันตั้งอยู่ในที่สุดอย่างนี้ว่า ที่แจ้ง ชื่อว่า มี

อุปจารเดียว แล้วขยายบทภาชนะให้พิสดาร. เพราะฉะนั้น ในทุกๆ บท

พึงทราบความมีอุปจารเดียวกัน ด้วยอำนาจแห่งที่มีเครื่องล้อมเป็นต้น

และความมีอุปจารต่างกัน ด้วยอำนาจแห่งที่ไม่มีเครื่องล้อมเป็นต้น โดย

ทำนองแห่งบทนั้นนั่นแล.

ในนิเวศน์ (เรือนพัก) เป็นต้น มีวินิจฉัย ดังนี้:-

บทว่า โอวรกา นี้ เป็นคำยักเรียกห้องทั้งหลายนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 748

บทว่า หตฺถปาสา วา ได้แก่ จากหัตถบาสแห่งห้อง หรือแห่ง

เรือน.

บทว่า ทฺวารมูเล ได้แก่ ในที่ใกล้ประตูเรือนอันสาธารณะแก่ชน

ทั้งปวงก็ดี.

บทว่า หตฺถปาสา วา ได้แก่ จากหัตถบาสแห่งห้อง หรือแห่งเรือน

หรือแห่งใกล้ประตูเรือน.

ที่ชื่อว่าโรงเก็บของนั้น ได้แก่ โรงเก็บสิ่งของมียวดยานเป็นต้น.

จำเดิมแต่โรงเก็บสิ่งของนี้ไป พึงทราบวินิจฉัย โดยนัยดังกล่าวแล้วใน

เรือนพัก.

ที่ชื่อว่าป้อมนั้น ได้แก่ ที่อาศัยพิเศษ ซึ่งเขาก่อด้วยอิฐ เพื่อป้อง

กันพระราชาข้าศึกเป็นต้น มีฝาผนังหนา มีฟื้น ๔- ๕ ชั้น.

ปราสาท ๔ เหลี่ยมจตุรัส อันสงเคราะห์เข้าด้วยยอดเดียวกัน ชื่อ

ว่า เรือนยอดเดียว. ปราสาทยาว ชื่อว่า ปราสาท. ปราสาทมีหลังคา

ตัด (ปราสาทโล้น) ชื่อว่า ทิมแถว. อัพภันดรนั่นที่ท่านกล่าวไว้ในคำว่า

๗ อัพภันดร นี้ มีประมาณ ๒๘ ศอก.

บทว่า สตฺโถ มีความว่า ถ้าหมู่เกวียนไปหยุดพักโอบหมู่บ้าน

หรือแม่น้ำ เนื่องเป็นอันเดียวกันกับหมู่เกวียนที่เข้าไปภายใน กระจายอยู่

ตลอดไปทั้งฝั่งในทั้งฝั่งนอก ย่อมได้บริหารว่า หมู่เกวียนแท้. ถ้าหมู่เกวียน

ยังเนื่องกันอยู่ที่บ้าน หรือว่าที่แม่น้ำ, หมู่เกวียนที่เข้าไปภายในแล้ว ย่อม

ได้บริหารว่า บ้าน และบริหารว่า แม่น้ำ. ถ้าหมู่เกวียนหยุดพักอยู่เลย

วิหารสีมาไป, จีวรอยู่ภายในสีมา พึงไปยังวิหารแล้วอยู่ภายในสีมานั้น,

ถ้าจีวรอยู่ในภายนอกสีมา, พึงอยู่ในที่ใกล้หมู่เกวียนนั่นแล. ถ้าหมู่เกวียน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 749

กำลังเดินทางเมื่อเกวียนหัก หรือโคหาย ย่อมขาดกันในระหว่าง, จีวรที่

เก็บไว้ในส่วนไหน พึงอยู่ในส่วนนั้น. หัตถบาสแห่งจีวรนั่นแล ชื่อว่า

หัตถบาสในไร่นาของตระกูลเดียว. หัตถบาสแห่งประตูไร่นา ชื่อว่า

หัตถบาสในไร่นาของตระกูลต่างกัน, หัตถบาสแห่งจีวรเท่านั้น ชื่อว่า

หัตถบาสในไร่นาที่ไม่ได้ล้อม.

ลาน ท่านเรียกว่า ธัญญกรณ์ (ลานนวดข้าวเปลือก). สวนดอกไม้

หรือสวนผลไม้ท่านเรียกว่า สวน. ในลานนวดข้าวและสวนทั้งสอง มี

วินิจฉัยเช่นเดียวกับที่กล่าวแล้วในไร่นานั่นแล. ในบทว่า วิหาร ก็มี

วินิจฉัยเช่นเดียวกับเรือนพักนั่นเอง.

ในรุกขมูล พึงทราบวินิจฉัย ดังนี้:-

บทว่า อนฺโตฉายาย คือ เฉพาะภายในโอกาสที่เงาแผ่ไปถึง. แต่

จีวรที่ภิกษุเก็บไว้ในโอกาสที่แดดถูก แห่งต้นไม้มีกิ่งโปร่งเป็นนิสสัคคีย์

แท้. เพราะฉะนั้น ภิกษุพึงเก็บจีวรไว้ที่เงาแห่งกิ่งไม้ หรือที่เงาแห่ง

ลำต้นของต้นไม้เช่นนั้น. ถ้าจะเก็บไว้บนกิ่งหรือบนค่าคบ, พึงวางไว้ใน

โอกาสที่เงาแห่งกิ่งไม้ต้นอื่นข้างบนแผ่ไปถึงเท่านั้น. เงาของต้นไม้เตี้ย

ย่อมแผ่ทอดไปไกล, พึงเก็บไว้ในโอกาสที่เงาแผ่ไปถูก. ควรจะเก็บไว้ใน

ที่เงาทึบเท่านั้น. หัตถบาส แม้ในอธิการแห่งโคนไม้นี้ ก็คือหัตถบาส

แห่งจีวรนั่นเอง.

คำว่า อคามเก อรญฺเ มีความว่า ป่าที่ชื่อว่าหาบ้านมิได้ ย่อม

ได้ในป่ามีดงดิบเป็นต้น (ดงวิชฌาฏวีเป็นต้น) หรือบนหมู่เกาะ ซึ่งไม่

เป็นทางเที่ยวไปของพวกชาวประมง ในท่ามกลางสมุทร.

คำว่า สนฺตา สตฺตพฺภนฺตรา มีความว่า ๗ อัพภันดร ในทิศทั้งปวง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 750

แห่งบุคคลผู้ยืนอยู่ที่ตรงกลาง รวมเป็น ๑๔ อัพภันดร โดยทแยง. ภิกษุ

นั่งตรงกลาง ย่อมรักษาจีวรที่เก็บไว้ในที่สุดรอบแห่งทิศตะวันออก หรือ

ทิศตะวันตก. แต่ถ้าว่า ภิกษุเดินไปสู่ทิศตะวันออก แม้เพียงเส้นผมเดียว

ในเวลาอรุณขึ้น จีวรในทิศตะวันตกเป็นนิสสัคคีย์. ในจีวรนอกจากนี้

ก็นัยนี้. ก็แลในเวลากระทำอุโบสถ พึงชำระสัตตัพภันตรสีมาให้หมดจด

ตั้งแต่ภิกษุผู้นั่งในที่สุดท้ายแห่งบริษัท. ภิกษุสงฆ์ขยายไปตลอดที่ประมาณ

เท่าใด, แม้สีมาก็ขยายออกไปตลอดที่ประมาณเท่านั้น.

ในคำว่า อนิสฺสชฺชิตฺวา ปริภุญฺชติ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส นี้ อาจารย์

บางพวกกล่าวว่า ถ้าภิกษุผู้ประกอบความเพียร บำเพ็ญเพียรตลอดคืนยัง

รุ่งใฝ่ใจว่า เราจักสรงน้ำในเวลาใกล้รุ่ง จึงออกไป วางจีวรทั้ง ๓ ผืน

ไว้ที่ฝั่งแม่น้ำ แล้วลงสู่แม่น้ำ, และเมื่อเธออาบอยู่นั่นเอง อรุณขึ้น, เธอ

พึงกระทำอย่างไร ? ด้วยว่า เธอถ้าขึ้นมาแล้วนุ่งห่มจีวร, ย่อมต้องทุกกฏ

เพราะไม่เสียสละจีวรที่เป็นนิสสัคคีย์แล้วใช้สอยเป็นปัจจัย, ถ้าเธอเปลือย

กายไป แม้ด้วยการเปลือยกายไปอย่างนั้น ก็ต้องทุกกฏ.

ตอบว่า เธอไม่ต้อง, เพราะว่า เธอตั้งอยู่ในฐานะแห่งภิกษุผู้มีจีวร

หาย เพราะจีวรเหล่านั้น เป็นของไม่ควรบริโภค ตราบเท่าที่ยังไม่พบภิกษุ

รูปอื่นแล้วกระทำวินัยกรรม, และชื่อว่า สิ่งที่ไม่สมควรแก่ภิกษุผู้มีจีวร

หาย ไม่มี; เพราะฉะนั้น เธอพึงนุ่งผืนหนึ่ง เอามือถือสองผืนไปสู่

วิหารแล้วกระทำวินัยกรรม ถ้าว่า วิหารอยู่ไกล, ในระหว่างทางมีพวก

ชาวบ้านสัญจรไปมา, เธอพบพวกชาวบ้านเหล่านั้น พึงนุ่งผืนหนึ่ง ห่ม

ผืนหนึ่ง วางผืนหนึ่งไว้บนจะงอยบ่าแล้วพึงเดินไป. ถ้าหากไม่พบภิกษุที่

ชอบพอกันในวิหาร, ภิกษุทั้งหลายไปเที่ยวภิกษาจารเสีย, เธอพึงวางผ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 751

สังฆาฎิไว้ภายนอกบ้าน ไปสู่โรงฉัน ด้วยผ้าอุตราสงค์กับอันตรวาสก

แล้ว กระทำวินัยกรรม. ถ้าในภายนอกรบ้าน มีโจรภัย พึงห่มสังฆาฏิไป

ด้วย, ถ้าโรงฉันคับแคบมีคนพลุกพล่าน, เธอไม่อาจเปลื้องจีวรออก ทำ

วินัยกรรมในด้านหนึ่งได้, พึงพาภิกษุรูปหนึ่งไปนอกบ้านกระทำวินัยกรรม

แล้วใช้สอยจีวรทั้งหลายเถิด.

ถ้าภิกษุทั้งหลาย ให้บาตรและจีวรไว้ในมือแห่งภิกษุหนุ่มทั้งหลาย

กำลังเดินทางไป มีความประสงค์จะนอนพัก ในปัจฉิมยาม, พึงกระทำ

จีวรของตน ๆ ไว้ในหัตถบาสก่อนแล้วนอน. ถ้าเมื่อพวกภิกษุหนุ่มมา

ไม่ทัน อรุณขึ้นไปแก่พระเถระทั้งหลายผู้กำลังเดินไปนั้นแล, จีวรทั้งหลาย

ย่อมเป็นนิสสัคคีย์ ส่วนนิสัยไม่ระงับ. เมื่อพวกภิกษุหนุ่มเดินล่วงหน้าไป

ก่อนก็ดี พระเถระทั้งหลายเดินตามไม่ทันก็ดี มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

แม้เมื่อภิกษุทั้งหลายพลัดทางไม่เห็นกันและกันในป่าก็มีนัยอย่างนี้เหมือน

กัน. ก็ถ้าพวกภิกษุหนุ่มเรียนว่า ท่านขอรับ ! พวกกระผมจักนอนพัก

สักครู่หนึ่งแล้ว จักตามไปทันพวกท่านในโอกาสชื่อโน้น ดังนี้แล้ว นอน

อยู่จนอรุณขึ้น, จีวรเป็นนิสสัคคีย์ด้วย นิสัยก็ระงับด้วย. แม้เมื่อพระเถระ

ทั้งหลายส่งพวกภิกษุหนุ่มไปก่อนแล้วนอน ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. พบ

ทางสองแพร่ง พระเถระทั้งหลายบอกว่า ทางนี้, พวกภิกษุหนุ่มเรียนว่า

ทางนี้ ไม่เชื่อถือถ้อยคำของกันและกัน ไปเสีย (แยกทางกันไป), แม้

พร้อมกับอรุณขึ้น จีวรทั้งหลายเป็นนิสสัคคีย์ และนิสัยย่อมระงับ.

ถ้าพวกภิกษุหนุ่มแวะออกจากทางกล่าวว่า พวกเราจักกลับมาให้

ทันภายในอรุณทีเดียว แล้วเข้าไปยังบ้านเพื่อต้องการเภสัชกำลังเดินมา,

และอรุณขึ้นไปแก่พวกเธอผู้กลับมายังไม่ถึงนั่นเอง, จีวรทั้งหลายเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 752

นิสสัคคีย์ แต่นิสัยไม่ระงับ. ก็ถ้าว่าพวกเธอกล่าวว่า พวกเรายืนสักครู่

หนึ่งแล้วจักไป แล้วยืน หรือนั่ง เพราะกลัวแม่โคนม (แม่โคลูกอ่อน)

หรือเพราะกลัวสุนัขแล้วจึงเดินไป, เมื่ออรุณขึ้นในระหว่างทาง จีวร

ทั้งหลายเป็นนิสสัคคีย์ด้วย นิสัยก็ระงับด้วย. เมื่อภิกษุทั้งหลาย (เมื่อ

อาจารย์และอันเตวาสิก) เข้าไปสู่บ้านภายในสีมาด้วยใส่ใจว่า เราจักมาใน

ภายในอรุณขึ้นนั่นเทียว อรุณขึ้นในระหว่าง, จีวรทั้งหลายไม่เป็นนิสสัคคีย์

นิสัยก็ไม่ระงับ. ก็ถ้าว่าภิกษุทั้งหลายนั่งอยู่ด้วยไม่ใส่ใจว่า ราตรีจงสว่าง

หรือไม่ก็ตามที แม้เมื่ออรุณขึ้นแล้ว จีวรไม่เป็นนิสสัคคีย์ แต่นิสัยย่อม

ระงับ.

ก็ภิกษุเหล่าใดเข้าไปสู่โรงในภายนอกอุปจารสีมาด้วยทั้งที่ยังมีอุต-

สาหะว่า เราจักมาในภายในอรุณนั้นแล เพื่อประโยชน์แก่กรรม มีอุป-

สมบทกรรมเป็นต้น, อรุณตั้งขึ้นที่โรงนั้น แก่พวกเธอ, จีวรเป็นนิส-

สัคคีย์ แต่นิสัยไม่ระงับ. ภิกษุทั้งหลายเข้าไปสู่โรงนั้นนั่นแลภายในอุปจาร-

สีมา, เมื่ออรุณตั้งขึ้น จีวรไม่เป็นนิสสัคคีย์ นิสัยก็ไม่ระงับ. แต่ภิกษุ

เหล่าใด ยังมีอุตสาหะไปยังวิหารใกล้เคียง เพื่อประสงค์จะฟังธรรม

ตั้งใจว่า จักมาให้ทันภายในอรุณ, แต่อรุณขึ้นไปแก่พวกเธอในระหว่าง

ทางนั่นเอง จีวรทั้งหลายเป็นนิสสัคคีย์ แต่นิสัยยังไม่ระงับ. ถ้าพวกเธอ

นั่งอยู่ด้วยเคารพในธรรมว่า พวกเราฟังจนจบแล้วจึงจักไป พร้อมกับ

อรุณขึ้น แม้จีวรทั้งหลายก็เป็นนิสสัคคีย์ ทั้งนิสัยก็ระงับ.

พระเถระ เมื่อจะส่งภิกษุหนุ่มไปสู่ละแวกบ้าน เพื่อต้องการชัก

จีวร พึงปัจจุทธรณ์จีวรของตนก่อนแล้วจึงให้ไป. แม้จีวรของภิกษุหนุ่ม

ก็พึงให้ปัจจุทธรณ์แล้วเก็บไว้. ถ้าภิกษุหนุ่มไปแม้ด้วยไม่มีสติ, พระเถระ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 753

พึงถอนจีวรของคนแล้ว ถือเอาจีวรของภิกษุหนุ่มด้วยวิสาสะ พึงเก็บไว้.

ถ้าพระเถระระลึกไม่ได้ แต่ภิกษุหนุ่มระลึกได้ ภิกษุหนุ่มพึงถอนจีวรของ

คน แล้วถือเอาจีวรของพระเถระด้วยวิสาสะแล้วไปเรียนว่า ท่านขอรับ

ท่านจงอธิษฐานจีวรของท่านเสียแล้วใช้สอยเถิด. จีวรของตน เธอก็พึง

อธิษฐาน. แม้ด้วยความระลึกได้ของภิกษุรูปหนึ่งอย่างนี้ ก็ย่อมพ้นอาบัติ

ได้แล. คำที่เหลือมีอรรถอันตื้นทั้งนั้น.

บรรดาปกิณกะมีสมุฎฐานเป็นต้น ในปฐมกฐินสิกขาบทเป็นอกิริยา

คือไม่อธิษฐานและไม่วิกัป ในสิกขาบทนี้เป็นอกิริยา คือไม่ปัจจุทธรณ์

(ไม่ถอน) อันนี้เท่านั้นเป็นความแปลกกัน. คำที่เหลือในฐานะทั้งหมด

มีนัยดังกล่าวแล้วทั้งนั้นแล.

พรรณนาอุทโทสิตสิกขาบท จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๓

เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง

[๓๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

อกาลจีวรเกิดแก่ภิกษุรูปหนึ่ง เธอจะทำจีวร* ก็ไม่พอ จึงเอาจีวรนั้นจุ่มน้ำ

ตากแล้วดึงเป็นหลายครั้ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกไปตามเสนาสนะ

ทอดพระเนตรเห็นเธอเอาจีวรนั้นจุ่มน้ำตากแล้วดึงเป็นหลายครั้ง จึงเสด็จ

* ไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 754

เข้าไปหาแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ เธอจุ่มจีวรนี้ลงในน้ำแล้วดึงเป็น

หลายครั้ง เพื่อประสงค์อะไร

ภิกษุรูปนั้นกราบทูลว่า อกาสจีวรผืนนี้เกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้า จะ

ทำจีวรก็ไม่พอ เพราะฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงได้จุ่มจีวรนี้ตากแล้วดึง

เป็นหลายครั้ง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ก็เธอยังมีหวังจะได้จีวรมาอีกหรือ

ภิ. มี พระพุทธเจ้าข้า

ทรงอนุญาตอกาลจีวร

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้ได้

โดยมีหวังว่าจะได้จีวรใหม่มาเพิ่มเติม.

[๓๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้ได้ โดยมีหวังว่าจะได้จีวรใหม่มา

เพิ่มเติม จึงรับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือน จีวรเหล่านั้นเธอห่อ

แขวนไว้ที่สายระเดียง

ท่านพระอานนท์เที่ยวจาริกไปตามเสนาสนะ ได้เห็นจีวรเหล่านั้น

ซึ่งภิกษุทั้งหลายห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง ครั้นแล้วจึงถามภิกษุทั้งหลายว่า

จีวรเหล่านี้ของใครห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง

ภิกษุเหล่านั้นตอบว่า อกาลจีวรเหล่านี้ของพวกกระผม ๆ เก็บไว้

โดยมีหวังว่าจะได้จีวรใหม่มาเพิ่มเติม

อา. เก็บไว้นานเท่าไรแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 755

ภิ. นานกว่าหนึ่งเดือน ขอรับ

ท่านพระอานนท์จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุ

ทั้งหลาย จึงได้รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือนเล่า แล้วกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์สอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกภิกษุรับอกาลจีวรแล้วเก็บ

ไว้เกินหนึ่งเดือน จริงหรือ

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่

ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จงได้รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือนเล่า การกระทำของภิกษุ

โมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่

แท้ การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชน

บางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 756

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้น โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๒๒. ๓. จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว อกาล-

จีวรเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ภิกษุหวังอยู่ก็พึงรับ ครั้นรับแล้ว พึงรีบให้ทำ ถ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 757

ผ้านั้นมีไม่พอ เมื่อความหวังจะได้มีอยู่ ภิกษุนั้นพึงเก็บจีวรนั้นไว้ได้

เดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง เพื่อจีวรที่ยังบกพร่องจะได้พอกัน ถ้าเก็บไว้

ยิ่งกว่ากำหนดนั้น แม้ความหวังว่าจะได้มีอยู่ ก็เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์.

เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๓๔] บทว่า จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุ

ทำสำเร็จแล้วก็ดี หายเสียก็ดี ฉิบหายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมด

หวังว่าจะได้ทำจีวรก็ดี

คำว่า กฐินเดาะเสียแล้ว คือ เดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใดอันหนึ่ง

ในมาติกา ๘ หรือสงฆ์เดาะเสียในระหว่าง

ที่ชื่อว่า อกาลจีวร ได้แก่ ผ้าที่เมื่อไม่ได้กรานกฐินเกิดได้ตลอด ๑๑

เดือน เมื่อได้กรานกฐินแล้ว เกิดได้ตลอด ๗ เดือน แม้ผ้าที่เขาเจาะจง

ให้เป็นอกาลจีวรถวายในกาล นี่ก็ชื่อว่าอกาลจีวร.

บทว่า เกิดขึ้น คือ เกิดแต่สงฆ์ก็ตาม แต่คณะตาม แต่ญาติ

ก็ตาม แต่มิตรก็ตาม แต่ที่บังสกุลก็ตาม แต่ทรัพย์ของตนก็ตาม.

[๓๕] บทว่า หวังอยู่ คือ เมื่อต้องการก็พึงรับไว้

คำว่า ครั้นรับแล้วพึงรับให้ทำ คือ พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน

[๓๖] พากย์ว่า ถ้าผ้านั้นมีไม่พอ คือ จะทำไตรจีวรผืนใดผืน

หนึ่งไม่เพียงพอ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 758

พากย์ว่า ภิกษุนั้นพึงเก็บจีวรนั้นไว้ได้เดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง คือ

เก็บไว้ได้เดือนหนึ่งเป็นอย่างนาน

คำว่า เพื่อจีวรที่ยังบกพร่องจะได้พอกัน คือ เพื่อประสงค์จะยัง

จีวรที่บกพร่องให้บริบูรณ์

พากย์ว่า เมื่อความหวังว่าจะได้มีอยู่ คือ มีความหวังว่าจะได้มา

แต่สงฆ์ก็ตาม แต่คณะก็ตาม แต่ญาติก็ตาม แต่มิตรก็ตาม แต่ที่บังสุกุล

ก็ตาม แต่ทรัพย์ของตนก็ตาม

จีวรที่มีหวัง

[๓๗] พากย์ว่า ถ้าเก็บรู้ยิ่งกว่ากำหนดนั้น แม้ความหวังว่า

จะได้มีอยู่ อธิบายว่า จีวรเดิมเกิดขึ้นในวันนั้น จีวรที่หวังก็เกิดในวันนั้น

พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 759

จีวรเดิมเกิดได้ ๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๑ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 760

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๑๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑๐ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๑ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๙ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๘ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๗ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๖ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๕ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๔ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๓ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๒ วัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 761

จีวรเดิมเกิดได้ ๒๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จ

ใน ๑ วัน

จีวรเดิมเกิดได้ ๓๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงอธิษฐาน พึงวิกัปไว้

พึงสละให้ผู้อื่นไปในวันนั้นแหละ ถ้าไม่อธิษฐานไม่วิกัปไว้ หรือไม่สละ

ให้ผู้อื่นไป เมื่ออรุณที่ ๓๑ ขึ้นมา จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำ

ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละอกาลจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ของสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า อกาลจีวรผืนนี้ของภิกษุมี

ชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้อกาลจีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 762

ท่านเจ้าข้า อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละอกาลจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า อกาลจีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้อกาลจีวรผืนนี้แก่ภิกษุ

มีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็นของจำ

จะสละ ข้าพเจ้าสละอกาลจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้อกาลจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ดังนี้.

[๓๘] เมื่อจีวรเดิมเกิดขึ้นแล้ว จีวรที่หวังจึงเกิดขึ้น เนื้อผ้าไม่

เหมือนกัน และราตรียังเหลืออยู่ ภิกษุไม่ต้องการ ก็ไม่พึงให้ทำ.

บทภาชนีย์

นิสสัคคีย์ปาจิตตีย์

[๓๙] จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 763

จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์.

จีวรยังไม่ได้สละให้ไป ภิกษุสำคัญว่าสละให้ไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไม้แล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกโจรชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกโจรชิงไปแล้ว เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

ทุกกฏ

[๔๐] จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุไม่เสียสละ บริโภค ต้องอาบัติ

ทุกกฏ จีวรยังไม่ล่วงเดือนหนึ่ง ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว บริโภค ต้อง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 764

อาบัติทุกกฏ จีวรยังไม่ล่วงเดือนหนึ่ง ภิกษุสงสัย บริโภค ต้องอาบัติ

ทุกกฏ.

ไม่ต้องอาบัติ

จีวรยังไม่ล่วงเดือนหนึ่ง ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง บริโภค ไม่ต้อง

อาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๔๑] ในภายในหนึ่งเดือน ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัปไว้ ๑

ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวรหาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑ จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจร

ชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑

ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๓ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๓

พรรณนาตติยกฐินสิกขาบท

ตติกฐินสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- พึงทราบวินิจฉัยตติยกฐินสิกขาบท ดังต่อไปนี้:-

[แก้อรรถเรื่องภิกษุรูปหนึ่ง]

หลายบทว่า อุสฺสาเปตฺวา ปุนปฺปุน วิมชฺชติ มีความว่า ภิกษุ

นั่นสำคัญว่า เมื่อรอยย่นหายแล้ว จีวรนี้ จักใหญ่ขึ้น จึงเอาน้ำรด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 765

เอาเท้าเหยียบ เอามือดึงขึ้นแล้วรีดทีหลัง. จีวรนั้นแห้งแล้วด้วยแสงแดด

ก็มีประมาณเท่าเดิมนั่นแล. ภิกษุนั้นก็กระทำอย่างนั้นซ้ำอีก เพราะเหตุ

นั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์ จึงกล่าวว่า ดึงขึ้นแล้วรีดเป็นหลายครั้ง.

พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งที่พระคันธกุฎีนั่นแล ทอดพระเนตรเห็น

ภิกษุนั้นลำบากอยู่อย่างนั้น จึงเสด็จออกประดุจเสด็จไปสู่เสนาสนจาริก

ได้เสด็จไปในที่นั้น. เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์ จึงกล่าวว่า

อทฺทสา โข ภควา เป็นต้น.

บทว่า เอกาทสมาเส ได้แก่ ตลอด ๑ เดือนที่เหลือ เว้นเดือน

กัตติกาหลัง หนึ่งเดือน.

บทว่า สตฺตมาเส ได้แก่ ๗ เดือนที่เหลือ เว้น ๕ เดือน คือ

เดือนกัตติกานั้นด้วย ๔ เดือนฤดูฝนด้วย.

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์ว่าด้วยความหวังจะได้จีวร]

หลายบทว่า กาเลปิ อาทิสฺส ทินฺน มีความว่า จีวรที่ทายก

อุทิศถวายแก่สงฆ์ว่า นี้เป็นอกาลจีวร หรือที่ทายกถวายแก่บุคคลผู้เดียว

ว่า ข้าพเจ้าถวายจีวรนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทว่า สงฺฆโต วา มีความว่า จีวรเกิดขึ้นจากสงฆ์ด้วยอำนาจ

แห่งส่วนที่ถึงแก่ตนก็ดี.

บทว่า คณโต วา มีความว่า พวกทายกย่อมถวายแก่คณะอย่างนี้

ว่า พวกข้าพเจ้าถวายจีวรนี้แก่คณะแห่งภิกษุผู้เรียนพระสูตร, ถวายจีวรนี้

แก่คณะแห่งภิกษุผู้เรียนพระอภิธรรม, จีวรพึงเกิดขึ้นจากคณะนั้นด้วย

อำนาจเเห่งส่วนที่ถึงแก่ตนก็ดี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 766

คำว่า โน จสฺส ปาริปูริ คือ ถ้าผ้านั้นยังไม่พอ. อธิบายว่า

จีวรที่ควรอธิษฐานได้ อันภิกษุทำอยู่ด้วยผ้าประมาณเท่าใดจึงจะพอ, ถ้า

จีวรนั้น ประมาณเท่านั้นยังไม่มี คือขาดไป

ในคำว่า ปจฺจาสา โหติ สงฺฆโต วา เป็นต้น มีวินิจฉัย ดังนี้:-

มีความหวังจากสงฆ์ หรือจากคณะอย่างนี้ว่า ณ วันชื่อโน้น สงฆ์

จักได้จีวร, คณะจักได้จีวร, จีวรจักเกิดขึ้นแก่เรา จากสงฆ์ หรือจาก

คณะนั้น. อีกอย่างหนึ่ง ความว่า มีความหวังจากญาติ หรือจากมิตร

อย่างนี้ว่า ผ้าพวกญาติส่งมาแล้ว พวกมิตรส่งมาแล้วแก่เราเพื่อประโยชน์

แก่จีวร, ชนเหล่านั้นมาแล้ว จักถวายจีวร.

ก็ในบทว่า ปสุกูลโต วา ผู้ศึกษาพึงประกอบคำว่า มีความ

หวังจะได้ อย่างนี้ว่า เราจักได้ผ้าบังสกุลก็ตาม.

สองบทว่า อตฺตโน วา ธเนน ความว่า มีความหวังอย่างนี้ว่า

เราจักได้ในวันชื่อโน้นด้วยทรัพย์มีฝ้ายและด้ายเป็นต้น ของตนก็ตาม.

ข้อว่า ตโต เจ อุตฺตรึ นิกฺขิเปยฺย สติยาปิ ปจฺจาสาย มีความว่า

ถ้าหากภิกษุพึงเก็บไว้เกินกว่าเดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง, เป็นนิสสัคคิย-

ปาจิตตีย์.

แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัสไว้อย่างนี้ เพราะเมื่อจีวรที่หวังจะได้

มาเกิดขึ้นในระหว่าง จีวรที่หวังจะได้มาซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่จีวรเดิมเกิด

ในรูป จนถึงวันที่ ๒๐ ย่อมทำจีวรเดิมให้มีคติแห่งตน, ต่อจากวันที่ ๒๐

นั้นไป จีวรเดิมย่อมทำจีวรที่หวังจะได้มาให้มีคติแห่งตน; ก็เพราะเหตุนั้น

เพื่อทรงแสดงความพิเศษนั้นจึงตรัสบทภาชนะโดยนัยมีอาทิว่า ตทหุปฺ-

ปนฺเน มูลจีวเร ดังนี้. คำว่า. คำว่า ตทหุปฺปนฺเน เป็นต้น มีอรรถกระจ่างทีเดียว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 767

คำว่า วิสภาเค อุปฺปนฺเน มูลจีวเร มีความว่า ถ้าว่าจีวรเดิม

เนื้อละเอียด จีวรที่หวังจะได้มา เนื้อหยาบ ไม่อาจเพื่อประกอบเข้ากันได้

และราตรีก็ยังมีเหลือ คือยังไม่เต็มเดือนก่อน.

บทว่า น อกามา มีความว่า ภิกษุเมื่อไม่ปรารถนาก็ไม่พึงให้ทำ

จีวร. ได้จีวรที่หวังจะได้มาอื่นแล้วเท่านั้น พึงกระทำในภายในกาล.

แม้จีวรที่หวังจะได้มา พึงอธิษฐานเป็นบริขารโจล. ถ้าจีวรเดิมเป็นผ้า

เนื้อหยาบ, จีวรที่หวังจะได้มาเป็นผ้าเนื้อละเอียด พึงอธิษฐานจีวรเดิม

ให้เป็นบริขารโจล แล้วเก็บจีวรที่หวังจะได้มานั่นแล ให้เป็นจีวรเดิม.

จีวรนั้นย่อมได้บริหารอีกเดือนหนึ่ง ภิกษุย่อมได้เพื่อผลัดเปลี่ยนกันและกัน

เก็บไว้เป็นจีวรเดิมจนตราบเท่าที่ตนปรารถนา โดยอุบายนี้นั้นแล. คำที่

เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น. ปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเช่นเดียวกับ

ปฐมกฐินสิกขาบทนั้นแล.

พรรณนาตติยกฐินสิกขาบทที่ ๓ จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๔

เรื่องพระอุทายี

[๔๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ปุราณทุติยิกา

ของท่านพระอุทายี บวชอยู่ในสำนักภิกษุณี นางมายังสำนักท่านพระ-

อุทายีเสมอ แม้ท่านพระอุทายีก็ไปยังสำนักภิกษุณีนั้นเสมอ และบางครั้ง

ก็ฉันอาหารอยู่ในสำนักภิกษุณีนั้น เช้าวันหนึ่ง ท่านพระอุทายีครอง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 768

อันตรวาสก แล้วถือบาตรจีวรเข้าไปหาภิกษุณีนั้นถึงสำนัก ครั้นแล้ว

นั่งบนอาสนะ เปิดองค์กำเนิดเบื้องหน้าภิกษุณีนั้น แม้ภิกษุณีนั้นก็นั่ง

บนอาสนะ เปิดองค์กำเนิดเบื้องหน้าท่านพระอุทายี ๆ มีความกำหนัด

ได้เพ่งดูองค์กำเนิดของนาง อสุจิได้เคลื่อนจากองค์กำเนิดของท่านพระ-

อุทายี ๆ ได้พูดเคาะนางว่า ดูก่อนน้องหญิง เธอจงไปหาน้ำมา ฉันจะ

ซักผ้าอันตรวาสก

นางบอกว่า ส่งมาเถิดเจ้าข้า ดิฉันเองจักซักถวาย ครั้นแล้วนาง

ได้ดูดอสุจินั้นของท่านส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งได้สอดเข้าไปในองค์กำเนิด

นางได้ตั้งครรภ์เพราะเหตุนั้นแล้ว

ภิกษุณีทั้งหลายได้พูดกันอย่างนี้ว่า ภิกษุณีรูปนี้มิใช่พรหมจาริณี

ภิกษุณีรูปนี้จึงมีครรภ์

นางพูดว่า แม่เจ้า ดิฉันมิใช่พรหมจาริณีก็หาไม่ ครั้นแล้วนางได้

แจ้งความนั้นแก่ภิกษุณีทั้งหลาย

ภิกษุณีทั้งหลาย พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่าน

พระอุทายี จึงได้ให้ภิกษุณีซักจีวรเก่า แล้วแจ้งความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายี

จึงได้ให้ภิกษุณีซักจีวรเก่าเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์สอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอให้ภิกษุณีซักจีวรเก่า จริงหรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 769

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. นางเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ ทรงพระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ บุรุษที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร การกระทำ

อันน่าเลื่อมใสหรือไม่น่าเลื่อมใสของสตรีที่มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น

เธอยังให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักจีวรเก่าได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่ยังเลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น

เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความ

เป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายี โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 770

ก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๒๓. ๔. อนึ่ง ภิกษุใด ยังภิกษุณีผู้มิใช่ญาติให้ซักก็ดี ให้

ย้อมก็ดี ให้ทุบก็ดี ซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุทายี จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๔๓] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

ธรรมเครื่องอยู่อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 771

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤิตภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระ-

อเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทาง

บิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า ภิกษุณี ได้แก่ สตรีผู้อุปสมบทแล้วในสงฆ์ ๒ ฝ่าย

ที่ชื่อว่า จีวรเก่า ได้แก่ ผ้านุ่งแล้วหนหนึ่งก็ดี ห่มแล้วหนหนึ่งก็ดี

ภิกษุสั่งว่า จงซัก ต้องอาบัติทุกกฏ จีวรที่ภิกษุณีซักแล้วเป็น

นิสสัคคีย์

ภิกษุสั่งว่า จงย้อม ต้องอาบัติทุกกฏ จีวรที่ภิกษุณีย้อมแล้วเป็น

นิสสัคคีย์

ภิกษุสั่งว่า จงทุบ ต้องอาบัติทุกกฏ เมื่อภิกษุณีทุบด้วยมือก็ตาม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 772

ด้วยตะลุมพุกก็ตาม เพียงทีเดียว จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของ

จำจะต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ซักแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่

แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ซักแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสสะจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 773

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ซักแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๑

[๔๔ ] ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซักซึ่งจีวร

เก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ชัก ให้ย้อม ให้ทุบ

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 774

สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวร

เก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญมิใช่ญาติ จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบซึ่งจีวรเก่าเป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มีใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ ๑

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซักซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 775

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกุฏี ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 776

ภิกษุณีมิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้อง

ทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๑

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซักซึ่งจีวรเก่า เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซักให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า

ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ให้ทุบ

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 777

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่ง

จีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กันนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม

ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

ทุกกฏ

ภิกษุใช้ภิกษุณีให้ซักจีวรเก่าของภิกษุอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุใช้ภิกษุณีให้ซักผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุใช้ภิกษุณีผู้อุปสมบทในสงฆ์ฝ่ายเดียวให้ซัก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ... ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสงสัย... ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ... ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๔๕] ภิกษุณีผู้เป็นญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุณีผู้ใช่ญาติเป็นผู้ช่วย

เหลือ ๑ ภิกษุไม่ได้บอกใช้ ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุใช้ให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 778

ซักจีวรที่ยังไม่ได้บริโภค ๑ ภิกษุใช้ให้ซักบริขารอย่างอื่น* เว้นจีวร ๑

ใช้สามเณรีให้ซัก ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๔ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๔

พรรณนาปูราณจีวรโธวาปนสิกขาบท

ปูราณจีวรสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในปูราณจีวรสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

[อธิบายบุคคลที่จัดเป็นญาติและมิใช่ญาติ]

ข้อว่า ยาว สตฺตมา ปิตามหยุคา มีความว่า บิดาของบิดาชื่อว่า

ปิตามหะ. ยุคแห่งปิตามหะ ชื่อว่า ปิตามหยุค. ประมาณแห่งอายุ

ท่านเรียกว่า ยุค. ก็ศัพท์ว่า ยุค นี้ เป็นเพียงโวหารพูดกันเท่านั้น. แต่

โดยเนื้อความ ปิตามหะนั่นแหละ ชื่อว่า ปิตามหยุค. บรรพบุรุษ ถัด

ขึ้นไปจากปิตามหยุคนั้น แม้ทั้งหมด พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงถือเอา

ด้วยปิตามหศัพท์นั่นเอง. นางภิกษุณี ผู้ซึ่งไม่เกี่ยวเนื่องกันมาตลอด ๗

ชั่วบุรุษอย่างนี้ ตรัสเรียกว่า ไม่ใช่คนเกี่ยวเนื่องกันมาตลอด ๗ ชั่วอายุ

ของบุรพชนก. ปิตามหศัพท์นี้ เป็นมุขแห่งเทศนาเท่านั้น. แต่เพราะ

พระบาลีว่า มาติโต วา ปิติโต รา ดังนี้ ปิตามหยุคก็ดี ปิตามหียุคก็ดี

* บริขารอย่างอื่น หมายผ้าถุงรองเท้า ผ้าถุงบาตรเป็นต้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 779

มาตามหยุดก็ดี มาตามหียุดก็ดี ก็ชื่อว่า ปิตามหยุค, แม้พวกญาติมีพี่น้อง

ชายพี่น้องหญิง หลานลูกและเหลนเป็นต้น ของปิตามหยุคเป็นต้นแม้

เหล่านั้น ทั้งหมดนั้น พึงทราบว่า ทรงสงเคราะห์เข้าในคำว่า ปิตามหยุค

นี้ทั้งนั้น.

ใน ๔ ยุค คือ ปิตามหยุค ปิตามหียุค มาตามหยุค และมาตา-

มหียุคนั้น มีนัยพิสดารดังต่อไปนี้:-

ภิกษุณี ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ด้วยความเกี่ยวเนื่องทางมารดา ไม่

ใช่คนเนื่องถึงกัน ด้วยความเกี่ยวเนื่องทางบิดา ตลอด ๗ ชั่วอายุของ

บุรพชนกอย่างนี้ คือ บิดา, บิดาของบิดา (ปู่) บิดาของบิดา (ปู่), นั้น

ปู่ทวด), บิดาแม้ของปู่ทวดนั้น (ปู่ชวด),

ตลอด ๗ ชั่วยุค ทั้งข้างสูงและข้างต่ำ แม้อย่างนี้ คือ บิดา ๑

มารดาของบิดา ๑ (ย่า) บิดาและมารดาของมารดาแม้นั้น (ตายาย) ๑

พี่น้องชาย ๑ พี่น้องหญิง ๑ บุตร ๑ ธิดา ๑,

ตลอด ๗ ชั่วยุค แม้อย่างนี้ คือ บิดา, พี่น้องชายของบิดา, พี่น้อง

หญิงของบิดา, ลูกชายของบิดา, ลูกหญิงของบิดา, เชื้อสายบุตรธิดาแม้

ของชนเหล่านั่น,

ตลอด ๗ ชั่วยุค อย่างนี้ คือ มารดา, มารดาของมารดา (ยาย),

มารดาของยายนั้น (ยายทวด) มารดาของยายทวดแม้นั้น ( ยายชวด),

ตลอด ๗ ชั่วยุค ทั้งข้างสูงและข้างต่ำ แม้อย่างนี้ คือ มารดา ๑

บิดาของมารดา (ตา) ๑ บิดาและมารดาของบิดานั้น (ทวดชายหญิง) ๑

พี่น้องชาย ๑ พี่น้องหญิง ๑ บุตร ๑ ธิดา ๑.

ตลอด ๗ ชั่วยุค แม้อย่างนี้ คือ มารดา, พี่น้องชายของมารดา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 780

(ลุงน้าชาย), พี่น้องหญิงของมารดา (ป้าน้าหญิง), ลูกชายของมารดา,

ลูกหญิงของมารดา, เชื้อสายบุตรธิดาของชนแมเ้หล่านั้น, นี้ ชื่อว่า ผู้

มิใช่ญาติ.

[ว่าด้วยจีวรเก่าและการใช้ให้ซัก]

บทว่า อุภโตสงฺเฆ มีความว่า ภิกษุณีผู้อุปสมบท ด้วยอัฏฐ-

วาจิยกรรม คือ ด้วยญัตติจตุตถกรรม ในฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๑ ด้วยญัตติ-

จตุตถกรรม ในฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ ๑.

ข้อว่า สกึ นิวตฺถปิ สกึ ปารุตปิ มีความว่า จีวรที่ย้อมแล้วทำ

กัปปะเสร็จ นุ่งหรือห่ม แม้เพียงครั้งเดียว. ชั้นที่สุดพาดไว้บนบ่า หรือ

บนศีรษะ โดยมุ่งการใช้สอยเป็นใหญ่ เดินทางไป หรือว่า หนุนศรีษะ

นอน, เเม้จีวรนั่น ก็ชื่อว่า จีวรเก่าเหมือนกัน, ในกุรุนทีท่านกล่าวว่า

ก็ถ้าว่า ภิกษุนอนเอาจีวรไว้ใต้ที่นอน หรือเอามือทั้งสองยกขึ้นทำเป็น

เพดาน บนอากาศ ไม่ให้ถูกศรีษะะเดินไป. นี้ ยังไม่ชื่อว่า ใช้สอย.

ในคำว่า โธต นิสฺสคฺคิย นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:-

ภิกษุณีที่ถูกภิกษุใช้อย่างนี้ ย่อมจัดเตาไฟ ขนฟืนมา ก่อไฟ ตัก

น้ำมา เพื่อประโยชน์แก่การซัก, ย่อมเป็นทุกกฏแก่ภิกษุ ทุกๆ ประโยค

ของนางภิกษุณี ตลอดเวลาที่นางภิกษุณียังยกจีวรนั้นขึ้นซักอยู่, จีวรนั้น

พอซักเสร็จแล้วยกขึ้น ก็เป็นนิสสัคคีย์. ถ้านางภิกษุณีสำคัญว่า จีวรยัง

ซักไม่สะอาด จึงเทน้ำราด หรือซักใหม่, เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ประโยค

ตลอดเวลาที่ยังไม่เสร็จ. แม้ในการย้อมและการทุบ ก็มีนัยอย่างนี้. ก็

ภิกษุณี เทน้ำย้อมลงในรางสำหรับย้อม แล้วย้อมเพียงคราวเดียว, กระทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 781

กิจอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนแต่การเทน้ำย้อมเป็นต้นนั้น เพื่อประโยชน์แก่

การย้อม หรือว่าภายหลัง กลับย้อมใหม่ เป็นทุกกฏแก่ภิกษุทุกๆ ประโยค

ในฐานะทั้งปวง. แม้ในการทุบ ก็พึงทราบประโยคอย่างนั้น.

ข้อว่า อญฺาติกาย อญฺติสญฺี ปุราณจีวร โธวาเปติ ความาว่า

ถ้าแม้นว่า ภิกษุไม่พูดว่า เธอจงซักจีวรนี้ให้เรา, แต่ทำกายวิการ เพื่อ

ประโยชน์แก่การซัก ให้ที่มือด้วยมือ หรือวางไว้ใกล้เท้า หรือฝาต่อ ๆ

ไป คือ ส่งไปในมือของนางสิกขมานา สามเณร สามเณรี อุบาสิกา

และเดียรถีย์ เป็นต้น หรือว่า โยนไปในที่ใกล้แห่งนางภิกษุณีผู้กำลังซัก

อยู่ที่ท่าน้ำ, คือ ในโอกาสภายใน ๑๒ ศอก จีวรเป็นอันภิกษุใช่นาง

ภิกษุณีให้ซักเหมือนกัน. ก็ถ้าว่าภิกษุละอุปจารวางไว้ห่างจากร่วมในเข้ามา

และนางภิกษุณีนั้น ซักแล้วนำมา, ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ. ภิกษุให้จีวร

ในมือแห่งนางสิกขมานาก็ดี สามเณรก็ดี อุบายสิกาก็ดี เพื่อประโยชน์แก่

การซัก, ถ้านางสิกขมานานั้น อุปสมบทแล้ว จึงซัก, เป็นอาบัติเหมือน

กัน . ให้ไว้ในมือแห่งอุบาสก, ถ้าอุบาสกนั้น เมื่อเพศกลับแล้ว บรรพชา

จีวรที่ให้ในมือของสามเณร หรือของภิกษุในเวลาเพศกลับ ก็มีนัยอย่างนั้น

เหมือนกัน.

[ว่าด้วยอาบัติ และอนาบัติในใช้ให้ซัก]

ในคำว่า โธวาเปติ รชาเปติ เป็น มีวินิจฉัยดังนี้:-

จีวรเป็นนิสสัคคีย์ด้วยวัตถุแรก เป็นทุกกฏแก่ภิกษุด้วยวัตถุที่ ๒,

เมื่อภิกษุให้กระทำทั้ง ๓ วัตถุ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยวัตถุแรก เป็นทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 782

๒ ตัว ด้วยวัตถุที่เหลือ. แต่เพราะเมื่อภิกษุใช้ให้กระทำการซักเป็นต้น นี้

ตามลำดับ หรือว่า ผิดลำดับ ก็ไม่มีความพ้นจากอาบัติ; ฉะนั้น พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสจตุกกะ ๓ หมวดไว้ในพระบาลีนี้. เเต่ถ้าแม้เมื่อภิกษุ

กล่าวว่า เธอจงย้อม ซัก จีวรนี้แล้วนำมาให้เรา ดังนี้ นางภิกษุณีนั้น

ซักก่อนแล้ว จึงย้อมภายหลัง เป็นทุกกฏกับนิสสัคคีย์เท่านั้น. ในคำที่

ตรงกันข้ามแม้ทั้งหมด ก็พึงทราบนัยอย่างนี้. ก็ถ้าว่า เมื่อภิกษุกล่าวว่า

เธอซักแล้ว จงนำมา นางภิกษุณีซักด้วย ย้อมด้วย. เป็นอาบัติ เพราะ

การซักเป็นปัจจัยอย่างเดียว, ไม่เป็นอาบัติในเพราะการย้อม. พึงทราบ

อนาบัติ โดยลักษณะนี้ว่า ภิกษุมิได้สั่ง ซักเอง ในเพราะการกระทำเกิน

กว่าคำที่ภิกษุสั่งทุก ๆ แห่ง ด้วยประการอย่างนี้. แต่เมื่อภิกษุกล่าวว่า

กิจใดที่จะพึงกระทำในจีวรนี้, กิจนั้น จงเป็นภาระของเธอทั้งหมด ดังนี้

ย่อมต้องอาบัติมากหลาย เพราะคำพูดคำเดียว. ก็บทเหล่านี้ว่า อญฺาติกาย

เวมติโก อญฺาติกาย าติกสญฺี พึงทราบโดยพิสดาร ด้วยสามารถ

แห่งจตุกกะ ๓ หมวด โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแหละ.

สองบทว่า เอกโต อุปสมฺปนฺนาย มีความว่า เป็นทุกกฎแก่ภิกษุ

ผู้ใช้นางภิกษุณีผู้อุปสมบท ในสำนักแห่งภิกษุณีทั้งหลายให้ซัก. แต่เมื่อ

ใช้นางภิกษุณีผู้อุปสมบทในสำนักแห่งภิกษุทั้งหลายให้ซัก เป็นอาบัติตาม

วัตถุเหมือนกัน. นางสากิยานี ๕๐๐ ชื่อว่าผู้อุปสมบทในสำนักแห่งภิกษุ

ทั้งหลาย.

สองบทว่า อวุตฺตา โธวติ มีความว่า ภิกษุณีผู้มาเพื่ออุเทศ หรือ

ว่า เพื่อโอวาท เห็นจีวรสกปรก ฉวยเอาไปจากที่วางไว้ หรือให้นำมา

ให้ด้วยกล่าวว่า พระคุณเจ้าโปรดให้เถิด ดิฉันจักซัก แล้วซักก็ดี ย้อม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 783

ก็ดี ทุบก็ดี ภิกษุณีนี้ ชื่อว่า ผู้อันภิกษุไม่ได้สั่งซักเอง. แม้ภิกษุณีใด

ได้ยินภิกษุสั่งภิกษุหนุ่ม หรือสามเณรว่า เธอจงซักจีวรนี้แล้ว กล่าวว่า

พระคุณเจ้า จงนำมาเถิด ดิฉันจักซักเอง แล้วซัก หรือถือเอาเป็นของ

ยืมแล้ว ซัก ย้อมให้ แม้ภิกษุณีนี้ ก็ชื่อว่า ผู้อันภิกษุไม่ได้สั่ง ซักเอง.

สองบทว่า อญฺ ปริกฺขาร มีความว่า ภิกษุใช้ภิกษุณีให้ซักล้าง

บรรดาบริขารมีถุงรองเท้า ถลกบาตร ผ้าอังสะ ประคดเอว เตียงตั้ง

ฟูก และเสื่ออ่อนเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่เป็นอาบัติ. คำที่เหลือใน

สิกขาบทนี้ มีอรรถตื้นทั้งนั้น.

ก็ในบรรดาปกิณกะมีสมุฎฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐาน ๖

เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ. กายกรรม วจีกรรม

มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาปูราณจีวรโธวาปนสิกขาบทที่ ๔ จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๕

เรื่องภิกษุณีอุปปลวัณณา

[๔๖] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราช-

คฤห์ ครั้งนั้น ภิกษุณีอุปปลวัณณาอยู่ในพระนครสาวัตถี ครั้นเวลาเช้า

นางครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 784

กลับจากบิณฑบาตในเวลาหลังอาหารแล้ว เดินเข้าไปทางป่าอันธวัน เพื่อ

พักผ่อนกลางวัน เข้าไปถึงป่าอันธวันแล้วนั่งพักกลางวันที่โคนไม้แห่งหนึ่ง

สมัยนั้น พวกโจรทำโจรกรรม ฆ่าแม่โคแล้วพากันถือเนื้อเข้าไปสู่

ป่าอันธวัน นายโจรแลเห็นภิกษุณีอุปปลวัณณานั่งกลางวันอยู่ที่โคนไม้

แห่งหนึ่ง ครั้นแล้วจึงดำริว่า ถ้าพวกโจรลูกน้องของเราพบเข้า จักเบียด

เบียนภิกษุณีนี้ แล้วได้เลี่ยงไปทางอื่น ครั้นเมื่อเนื้อสุกแล้ว นายโจรนั้น

ได้เลือกเนื้อชิ้นที่ดี ๆ เอาใบไม้ห่อแขวนไว้ที่ต้นไม้ใกล้ภิกษุณีอุปปลวัณณา

แล้วกล่าวว่า เนื้อห่อนี้เราให้แล้วจริง ๆ ผู้ใดเป็นสมณะหรือพราหมณ์ได้

เห็น จงถือเอาไปเถิด ดังนี้แล้วหลีกไป

ภิกษุณีอุปปลวัณณาออกจากสมาธิ ได้ยินนายโจรนั้นกล่าววาจานี้

จึงถือเอาเนื้อนั้นไปสู่สำนัก ครั้นราตรีนั้นผ่านไป นางทำเนื้อนั้นสำเร็จ

แล้ว ห่อด้วยผ้าอุตราสงค์ เหาะไปลงที่พระเวฬุวัน.

[๔๗] ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้ากำลังเสด็จเข้าไป

บิณฑบาตยังหมู่บ้าน ท่านพระอุทายีเหลืออยู่เฝ้าพระวิหาร จึงภิกษุณี

อุปปลวัณณาเข้าไปหาท่าน ครั้นแล้วถามว่า ท่านเจ้าข้า พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าประทับอยู่ที่ไหน

ท่านพระอุทายีตอบว่า ดูก่อนน้องหญิง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จ

เข้าไปบิณฑบาตยังหมู่บ้าน

อุป. โปรดถวายเนื้อนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า เจ้าข้า

อุทายี. ดูก่อนน้องหญิง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอิ่มเอิบด้วยเนื้อ

ของเธอ ถ้าเธอถวายผ้าอันตรวาสกแก่อาตมา แม้อาตมาก็จะพึงอิ่มเอิบ

ด้วยผ้าอันตรวาสกเหมือนเช่นนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 785

อุป. ท่านเจ้าข้า ความจริง พวกดิฉันชื่อว่ามาตุคามมีลาภน้อย

ทั้งผ้าผืนนี้ก็เป็นจีวรผืนสุดท้ายที่ครบ ๕ ของดิฉัน ๆ ถวายไม่ได้

อุทายี. ดูก่อนน้องหญิง เปรียบเหมือนบุรุษให้ช้างแล้ว ก็ควรสละ

สัปคับ สำหรับช้างด้วยฉันใด เธอก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ถวายเนื้อแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ก็จงสละผ้าอันตรวาสกถวายแก่อาตมา

ครั้นนางถูกท่านพระอุทายีแคะได้ จึงได้ถวายผ้าอันตรวาสกแล้ว

กลับไปสู่สำนัก ภิกษุณีทั้งหลายที่คอยรับบาตรจีวรของภิกษุณีอุปปลวัณณา

ได้ถามว่า แม่เจ้า ผ้าอันตรวาสกของคุณแม่อยู่ที่ไหน นางได้เล่าเรื่อง

แก่ภิกษุณีทั้งหลาย ๆ จึงพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน

พระคุณเจ้าอุทายีจึงได้รับจีวรจากมือภิกษุณีเล่า เพราะมาตุคามมีลาภน้อย

ครั้นแล้วภิกษุณีเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายี

จงได้รับจีวรจากมือภิกษุณีเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอรับจีวรจากมือภิกษุณี จริงหรือ

ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ดูก่อนอุทายี นางเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 786

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ บุรุษที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร หรือไม่

สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มี ของสตรีที่มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น

เธอยังรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติได้ การกระทำของเธอนั้น ไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใส ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น

เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความ

เป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุทายี โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรง

กระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 787

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๔. ๕. อนึ่ง ภิกษุใดรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เป็น

นิสสัคคีย์ปาจิตตีย์.

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วแก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องภิกษุณีอุปปลวัณณา จบ

พระอนุบัญญัติ

เรื่องแลกเปลี่ยน

[๔๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายตั้งรังเกียจ ไม่รับจีวรแลก

เปลี่ยนของภิกษุณีทั้งหลาย ภิกษุณีทั้งหลายจึงเพ่งโทษติเตียนโพนทะนา

ว่า ไฉนพระคุณเจ้าทั้งหลายจึงไม่รับจีวรแลกเปลี่ยนของพวกเรา ภิกษุ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 788

ทั้งหลายได้ยินภิกษุณีเหล่านั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่ จึงกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้รับจีวรแลกเปลี่ยน

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รับจีวรแลกเปลี่ยนกันของ

สหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี

เราอนุญาตให้รับจีวรแลกเปลี่ยนกันของสหธรรมิกทั้ง ๕ นี้

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระอนุบัญญัติ

๓๔. ๕. ก. อนึ่ง ภิกษุใดรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

เว้นไว้แต่ของแลกเปลี่ยน เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์.

เรื่องแลกเปลี่ยน จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๔๙] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 789

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทาง

บิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า ภิกษุณี ได้แก่ สตรีผู้อุปสมบทแล้วในสงฆ์ ๒ ฝ่าย

ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ จีวร ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์

กำหนดแห่งผ้าต้องวิกัปเป็นอย่างต่ำ.

บทว่า เว้นไว้แต่ของแลกเปลี่ยน คือ ยกเสียแต่จีวรที่แลกเปลี่ยนกัน .

ภิกษุรับ เป็นทุกกฏในประโยคที่รับ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา

ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 790

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้มี

ใช่ญาติ เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวร

ผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่

แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้

มิใช่ญาติ เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวร

ผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุณีมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 791

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่

ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๕๐] ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ รับจีวรจากมือ

เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย รับจีวรจากมือ เว้นแต่แลกเปลี่ยน

กัน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ รับจีวรจากมือ เว้นแต่

แลกเปลี่ยนกัน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 792

ทุกกฏ

[๕๑] ภิกษุรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้อุปสมบทแต่สงฆ์ฝ่ายเดียว เว้น

แลกเปลี่ยนกัน ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ รับจีวรจากมือ ต้อง

อาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสงสัย รับจีวรจากมือ ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๕๒] ภิกษุรับจีวรของภิกษุณีผู้เป็นญาติ ๑ แลกเปลี่ยนกัน คือ

แลกเปลี่ยนจีวรดีกับจีวรเลว หรือจีวรเลวกับจีวรดี ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑

ภิกษุขอยืมไป ๑ ภิกษุรับบริขารอื่นนอกจากจีวร ๑ ภิกษุรับจีวรของ

สิกขมานา ๑ ภิกษุรับจีวรของสามเณรี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิ-

กัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๕ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๕

พรรณนาจีวรปฏิคคหณสิกขาบท

จีวรปฏิคคหณสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในจีวรปฏิคคหณสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 793

[แก้อรรถศัพท์เรื่องปฐมบัญญัติ]

บทว่า ปิณฺฑปาตปฏิกฺกนฺตา แปลว่า กลับจากบิณฑบาต.

ข้อว่า เยน อนฺธวน เตนุปสงฺกมิ มีความว่า เมื่อพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้ายังมิได้ทรงบัญญัติสิกขาบท ภิกษุณีอุบลวรรณาเดินเข้าไปทาง

ป่าอันธวัน.

บทว่า กตกมฺมา ได้แก่ ผู้กระทำโจรกรรม. มีคำอธิบายว่า ปล้น

ภัณฑะของผู้อื่นด้วยกรรมมีการตัดช่องเป็นต้น .

บทว่า โจรคามณิโก ได้แก่ หัวหน้าโจร. ได้ยินว่า หัวหน้าโจร

นั้นรู้จักพระเถรีมาก่อน; เพราะฉะนั้นแล้ว เมื่อไปข้างหน้าของพวกโจร

เห็นพระเถรีนั้น จึงกล่าวว่า พวกเธออย่าไปทางนั้น จงมาทางนี้ทั้งหมด

ดังนี้ แล้วได้พาพวกโจรเหล่านั้นไปทางอื่น.

สองบทว่า สมาธิมฺหา วุฏฺหิตฺวา มีความว่า ได้ยินว่า พระเถรี

ออกจากสมาธิในเวลาที่กำหนดไว้นั่นแล. แม้นายโจรนั้นได้พูดอย่างนั้น

ในขณะนั้นเหมือนกัน; เพราะฉะนั้น พระเถรีนั้นจึงได้ยิน. ก็แลพระเถรี

ครั้นได้ยินเสียงนั้นจึงคิดว่า บัดนี้ ในที่นี้ไม่มีสมณะหรือพราหมณ์อื่นนอก

จากเรา จึงได้ถือเอามังสะนั้น. เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์

ทั้งหลายจึงได้กล่าวว่า อถโข อุปฺปลวณฺณา ภิกขุนี ดังนี้เป็นต้น.

บทว่า โอหียโก ได้แก่ คงอยู่คือเหลืออยู่, อธิบายว่า ถึงวาระ

เฝ้าวิหาร อยู่ในวิหารเพียงรูปเดียว.

[พระอุทายีขออันตรวาสกของพระเถรี]

ถามว่า เพราะเหตุไร พระอุทายีจึงกล่าวว่า ถ้าท่านพึงให้อันตร-

วาสกแก่เรา ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 794

แก้ว่า พระอุทายีเห็นอันตรวาสกเนื้อละเอียดแน่นและเกลี้ยง จึง

กล่าวเพราะความอยากได้. อีกนัยหนึ่ง ความอยากได้ในอันตรวาสกของ

พระอุทายีนั้นเล็กน้อย, แต่โกฎฐาสสมบัติของพระเถรีถึงยอดสุด; เพราะ

เหตุนั้น พระอุทายีจึงคิดว่า เราจักดูความอวบอัดแห่งสรีระร่างของพระ-

เถรีนั้น แล้วยังความอยากได้ไม่สม่ำเสมอ (ความอยากได้ลุ่ม ๆ ดอน ๆ)

ให้เกิดขึ้น จึงได้กล่าวอย่างนี้.

บทว่า อนฺติม ได้แก่ จีวรเป็นผืนสุดท้ายเขาทั้งหมดแห่งจีวร ๕ ผืน

ชื่อว่าผืนสุดท้าย คือ ผืนท้ายสุด. จีวรผืนอื่นที่วิกัป หรือปัจจุทธรณ์

เก็บไว้แม้ด้วยเลศก็ไม่มี; เพราะฉะนั้น พระเถรีกล่าวอย่างนี้ ด้วยอำนาจ

ที่ทรงจีวร ๕ ผืน ตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต ไม่ใช่ด้วยความ

โลภ. จริงอยู่ ความโลภของพระขีณาสพทั้งหลาย ย่อมไม่มี.

บทว่า นิปฺปีฬิยมานา มีความว่า นางถูกพระอุทายีแสดงอุปมา

แล้วคาดคั้นหนักเข้า.

ข้อว่า อนฺตรวาสก ทตฺวา อคมาสิ มีความว่า พระเถรีนุ่งผ้ารัดถัน

แล้วได้แสดง (จีวร) บนฝ่ามือเท่านั้นถวาย โดยอาการที่มโนรถของพระ-

อุทายีจะไม่เต็มที่ ได้ไปแล้ว.

ถามว่า เพราะเหตุไร ภิกษุณีทั้งหลายจึงกล่าวโทษพวกภิกษุผู้ไม่

รับจีวรที่แลกเปลี่ยน.

แก้ว่า เพราะเป็นผู้ถูกความขาดแคลนมือ คือ ปัจจัยบีบคั้นอย่างนี้

ว่า ถ้าพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายไม่มีความคุ้นเคยในพวกเรา แม้เพียงเท่านี้,

พวกเราจักดำเนินชีวิตไปได้อย่างไรกัน ?

ข้อว่า อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมส ปญฺจนฺน มีความว่า เราอนุญาต

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 795

ให้รับจีวรแลกเปลี่ยนกันของสหธรรมิก ๕ จำพวกเหล่านี้ ผู้มีศรัทธาเสมอ

กัน มีศีลเสมอกัน มีทิฎฐิเสมอกัน.

สองบทว่า ปโยเค ทุกฺกฏ มีความว่า เป็นทุกกฏในเพราะอาการ

มีอันเหยียดมือออก เพื่อประสงค์จะรับเป็นต้น .

บทว่า ปฏิลาเภน ได้แก่ เพราะรับ.

ก็พึงทราบวินิจฉัยในการรับนั้นดังนี้:- ภิกษุณีจงให้ที่มือด้วยมือ

ก็ตาม วางไว้ที่ใกล้เท้าก็ตาม โยนไปในเบื้องบนก็ตาม, ถ้าภิกษุยินดี,

จีวรย่อมเป็นอันภิกษุนั้นรับแล้วทีเดียว. ก็ถ้าว่าภิกษุรับเอาจีวรที่ภิกษุณี

ฝากไปในมือของนางสิกขมานา สามเณร สามเณรี อุบาสกและอุบาสิกา

เป็นต้น, ไม่เป็นอาบัติ. บริษัททั้ง ๔ นำจีวรและผ้าสีต่าง ๆ มาวางไว้

ใกล้เท้าเเห่งภิกษุผู้กล่าวธรรมกถา หรือยืนในอุปาจาร หรือละอุปจารโยน

ให้. บรรดาผ้าเหล่านั้น จีวรใดเป็นของนางภิกษุณีทั้งหลาย, เป็นอาบัติ

แก่ภิกษุผู้รับจีวรนั้นเหมือนกัน นอกจากแลกเปลี่ยนกัน.

ท่านกล่าวไว้ในมหาปัจจรี และกุรุนทีว่า ก็ถ้าว่า จีวรทั้งหลาย

ย่อมเป็นอันบริษัท ๔ โยนไปในเวลากลางคืน, ภิกษุไม่อาจรู้ได้ว่า นี้ของ

ภิกษุณี นี้ของคนอื่น, ไม่มีกิจด้วยการแลกเปลี่ยน. คำที่กล่าวไว้ในมหา-

ปัจจรีและกุรุนทีนั้น ไม่สมกัน เพราะสิกขาบทเป็นอจิตตกะ. ถ้าภิกษุณี

ถวายผ้าอาบน้ำฝน พึงกระทำให้เป็นของแลกเปลี่ยนเหมือนกัน. ก็ถ้า

ภิกษุณีวางไว้ที่กองหยากเยื่อเป็นต้นด้วยตั้งใจว่า ภิกษุทั้งหลายจงถือเอา

เป็นผ้าบังสกุล ดังนี้, ภิกษุจะอธิษฐานเป็นผ้าบังสกุลถือเอา ควรอยู่.

ข้อว่า อญฺาติกาย อญฺาติกสญฺี คือ เป็นติกปาจิตตีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 796

สองบทว่า เอกโต อุปสมฺปนฺนาย มีความว่า เป็นทุกกฏแก่ภิกษุ

ผู้รับจากมือของภิกษุณีผู้อุปสมบท ในสำนักนางภิกษุณีทั้งหลาย (ฝ่ายเดียว)

แต่เป็นปาจิตตีย์ (แก่ภิกษุผู้รับจากมือ) ของภิกษุณีผู้อุปสมบทในสำนัก

แห่งภิกษุทั้งหลาย.

สองบทว่า ปริตฺเตน วา วิปุล มีความว่า ถ้าแม้นว่า ภิกษุจะรับ

ไตรจีวรมีค่ามาก ด้วยจีวรมีค่าน้อย หรือด้วยบริขารอื่นมีถุงรองเท้า ถลก-

บาตร ผ้าอังสะ และประคดเอวเป็นต้น, ไม่เป็นอาบัติ. แต่ในมหาปัจจรี

ท่านกล่าวว่า ชั้นที่สุดแม้ด้วยชิ้นสมอ.

สองบทว่า วิปุเลน วา ปริตฺต นี้ ผู้ศึกษาพึงทราบโดยความวิปลาส

(ตรงกันข้าม) จากที่กล่าวแล้ว.

สองบทว่า อญฺ ปริกฺขาร มีความว่า บริขารชนิดใดชนิดหนึ่งมี

ถลกบาตรเป็นต้น. แต่แม้ผ้ากรองน้ำมีขนาดเท่าจีวรอย่างต่ำที่ต้องวิกัป

ไม่ควร. จีวรใด ไม่พอที่จะอธิษฐานไม่พอที่จะวิกัป, จีวรนั้น ควร

ทุกอย่าง. ถ้าแม้นเป็นผ้าเปลือกฟูกมีขนาดเท่าเตียง ก็สมควรเหมือนกัน.

ก็จะป่วยกล่าวไปไยในผ้าถลกบาตรเป็นต้นเล่า ? บทที่เหลือมีอรรถตื้น

ทั้งนั้น.

บรรดาสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ เป็นทั้งกิริยา

ทั้งอกิริยา เป็นโนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม

วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาจีวรปฏิคคหณสิกขาบทที่ ๕ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 797

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๕๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตร เป็นผู้เชี่ยวชาญแสดงธรรมีกถา จึงเศรษฐีบุตรผู้หนึ่ง

เข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตร ครั้นแล้วอภิวาทที่ท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตร แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้

ชี้แจงด้วยธรรมีกถาให้เศรษฐีบุตรสมาทาน อาจหาญ ร่าเริงแล้ว

เศรษฐีบุตรนั้น อันท่านพระอุปนันทศากยบุตรชี้แจง ด้วยธรรมี-

กถา ให้สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงแล้ว ได้ปวารณาท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรในทันใดนั้นแลอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า ขอพระคุณเจ้าพึงบอก

สิ่งที่ต้องประสงค์ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เภสัชบริขารอันเป็น

ปัจจัยของภิกษุไข้ ซึ่งข้าพเจ้าสามารถจะจัดถวายแด่พระคุณเจ้าได้

ท่านพระอุปนันทศากยบุตร ได้กล่าวคำนี้กะเศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้า

ท่านประสงค์จะถวายแก่อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้

เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตรจะเดิน

ไปมีผ้าผืนเดียวดูกระไรอยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน

กระผมไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่ดี

กว่านี้มาถวาย

แม้ครั้งที่สองแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะ

เศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้าท่านประสงค์จะถวายแก่อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎก

ผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 798

เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตรจะเดิน

ไปมีผ้าผืนเดียวดูกระไรอยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน

กระผมไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่ดี

กว่านี้มาถวาย

แม้ครั้งที่สามแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะ

เศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้าท่านประสงค์จะถวายแก่อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎก

ผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้

เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตร

จะเดินไปมีผ้าผืนเดียวดูกระไรอยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน

กระผมไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่

ดีกว่านี้ มาถวาย

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรกล่าวพ้อว่า ท่านไม่ประสงค์จะถวาย

ก็จะปวารณาทำไม ท่านปวาณาแล้วไม่ถวาย จะมีประโยชน์อะไร

ครั้นเศรษฐีบุตรนั้นถูกท่านพระอุปนันทศากยบุตรแคะได้ จึงได้

ถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งแล้วกลับไป ชาวบ้านพบเศรษฐีบุตรนั้นแล้วถามว่า

นาย ทำไมท่านจึงมีผ้าผืนเดียวเดินกลับมา จึงเศรษฐีบุตรได้เล่าเรื่องนั้น

แก่ชาวบ้านเหล่านั้น ชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระ-

สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มักมาก ไม่สันโดษ จะปฏิบัติให้ถูก

ต้องตามที่เขาขอผัดโดยธรรมสักหน่อยก็ไม่ได้ เมื่อเศรษฐีบุตรกระทำการ

ขอผัดโดยธรรม ไฉนจึงได้ถือเอาผ้าสาฎกไปเล่า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนา

อยู่ บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 799

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรจึงได้ขอจีวรต่อเศรษฐีบุตรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-

อุปนันทะว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธอขอจีวรต่อเศรษฐีบุตรจริงหรือ

ท่านพระอุปนันทะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนอุปนันทะ เขาเป็นญาติของเธอหรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ คนที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร หรือไม่สมควร

ของที่มีอยู่หรือไม่มี ของคนที่ไม่ใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น เธอยังขอ

จีวรต่อเศรษฐีบุตรผู้มิใช่ญาติได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่นไม่เป็นไป

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 800

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระอุปนันทะ โดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่

ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 801

พระบัญญัติ

๒๕. ๖. อนึ่ง ภิกษุใดขอต่อพ่อเจ้าเรือนก็ดี ต่อแม่เจ้าเรือนก็ดี

ผู้มิใช่ญาติ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วแก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

พระอนุบัญญัติ

เรื่องภิกษุเดินทางถูกแย่งชิงจีวร

[๕๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหลายรูปเดินทางจากเมืองสาเกต

สู่พระนครสาวัตถี พวกโจรในระหว่างทางได้ออกแย่งชิงจีวรภิกษุเหล่านั้น

ภิกษุเหล่านั้นรังเกียจอยู่ว่า การขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือน หรือแม่เจ้าเรือน

ผู้มิใช่ญาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามไว้แล้ว จึงไม่กล้าขอ พากัน

เปลือยกายเดินไปถึงพระนครสาวัตถี แล้วกราบไหว้ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ

ทั้งหลายพูดกันอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกที่กราบไหว้ภิกษุทั้งหลาย

เหล่านี้ เป็นอาชีวกจริง ๆ

ภิกษุผู้เปลือยกายเหล่านั้นตอบว่า พวกกระผมไม่ใช่อาชีวก ขอรับ

พวกกระผมเป็นภิกษุ

ภิกษุทั้งหลายได้เรียนท่านพระอุบาลีว่า ข้าแต่ท่านพระอุบาลี โปรด

สอบสวนภิกษุเหล่านี้

ภิกษุผู้เปลือยกายเหล่านั้น ถูกท่านพระอุบาลีสอบสวน ได้แจ้งเรื่อง

นั้นแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 802

ครั้นท่านพระอุบาลีสอบสวนภิกษุเหล่านั้นแล้ว ได้แจ้งแก่ภิกษุ

ทั้งหลายว่า ท่านทั้งหลาย พวกเปลือยกายเหล่านี้เป็นภิกษุ จงให้จีวร

แก่ภิกษุเหล่านั้นเถิด

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย

จึงได้เปลือยกายเดินมาเล่า ธรรมดาภิกษุควรจะต้องปกปิดด้วยหญ้าหรือ

ใบไม้เดินมา แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้ขอจีวรได้

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถูกโจรแย่งชิงจีวรไป หรือ

มีจีวรหาย ขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือน หรือแม่เจ้าเรือน ผู้มิใช่ญาติได้

เธอเดินไปถึงวัดใดก่อน ถ้าจีวรสำหรับวิหารก็ดี ผ้าลาดเตียงก็ดี

ผ้าลาดฟื้นก็ดี ผ้าปูที่นอนก็ดี ของสงฆ์ในวัดนั้นมีอยู่ จะถือเอาผ้าของ

สงฆ์นั้นไปห่มด้วยคิดว่า ได้จีวรนั้นมาแล้ว จักคืนไว้ดังเก่า ดังนี้ก็ควร

ถ้าจีวรสำหรับวิหารก็ดี ผ้าลาดเตียงก็ดี ผ้าลาดฟื้นก็ดี ผ้าปูนอนก็ดี

ของสงฆ์ไม่มี ต้องปกปิดด้วยหญ้าหรือใบไม้เดินมา ไม่พึงเปลือยกาย

เดินมา ภิกษุใดเปลือยกายเดินมา ต้องอาบัติทุกกฏ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 803

พระอนุบัญญัติ

๒๕. ๖. ก. อนึ่ง ภิกษุใด ขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือนก็ดี ต่อแม่

เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติ นอกจากสมัย เป็นนิสสัคติยปาจิตตีย์ สมัย

ในคำนั้นดังนี้ ภิกษุเป็นผู้มีจีวรถูกชิงเอาไปก็ดี มีจีวรฉิบหายก็ดี

นี้สมัยในคำนั้น.

เรื่องภิกษุเดินทางถูกแย่งชิงจีวร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๕] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่าผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม

เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า

ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่

กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 804

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า

ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกันทางมารดาก็ดี ทาง

บิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่ สตรีผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ จีวร ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์

กำหนดแห่งผ้าต้องวิกัปเป็นอย่างต่ำ.

บทว่า นอกจากสมัย คือ ยกเว้นสมัย

ที่ชื่อว่า เป็นผู้มีจีวรถูกชิงเอาไป ได้แก่ จีวรของภิกษุผู้ถูกชิงเอา

ไป คือ ถูกพวกราชาก็ดี พวกโจรก็ดี พวกนักเลงก็ดี หรือพวกใด

พวกหนึ่ง ชิงเอาไป

ที่ชื่อว่า มีจีวรฉิบหาย คือ จีวรของภิกษุถูกไฟไหม้ก็ดี ถูกน้ำพัด

ไปก็ดี ถูกหนูหรือปลวกกัดก็ดี เก่าเพราะใช้สอยก็ดี

ภิกษุขอ นอกจากสมัย เป็นทุกกฏในประโยคที่ขอ เป็นนิสสัคคีย์

ด้วยได้จีวรมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 805

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่

ญาติ นอกจากสมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่

แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิ

ใช่ญาติ นอกจากสมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่

ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 806

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่

ญาติ นอกจากสมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๕๖] พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร

นอกจากสมัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร นอกจากสมัย เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ขอจีวร นอกจาก

สมัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

พ่อเจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร...ต้องอาบัติ

ทุกกฏ พ่อเจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร... ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

พ่อเจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ... ไม่ต้องอาบัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 807

อนาปัตติวาร

[๕๗] ภิกษุขอในสมัย ๑ ภิกษุขอต่อญาติ ๑ ภิกษุขอต่อคน

ปวารณา ๑ ภิกษุขอเพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์

ของตน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๖

พรรณนาอัญญาตกวิญญัตติสิกขาบท

อัญญาตกวิญญัตติสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้า

จะกล่าวต่อไป:- ในอญัญาตกวิญญัตติสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อ

ไปนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระอุปนันทศากยบุตร]

สองบทว่า อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต ได้แก่ บรรดาภิกษุผู้บวช

จากศากยตระกูลประมาณแปดหมื่นรูป พระอุปนันทศากยบุตรเป็นภิกษุ

เลวทราม มีชาติโลเล.

บทว่า ปฏฺโ ได้แก่ เป็นผู้ฉลาด สามารถ เฉียบแหลมถึงพร้อม

ด้วยเสียง คือประกอบด้วยความเป็นผู้มีลูกคอไพเราะ.

บทว่า กิสฺมึ วิย มีความว่า ดูเหมือนกระไรอยู่ ดูเป็นผู้มี

ความเศร้าหมอง คือเป็นดุจจะสะทกสะท้าน ดุจจะหวาดสะดุ้งด้วยอำนาจ

หิริและโอตัปปะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 808

บทว่า อทฺธานมคฺค มีความว่า ทางยาว กล่าวคือทางไกลไม่ใช่

ทางถนนในเมือง.

คำว่า เต ภิกูขู อจฺฉินฺทึสุ มีความว่า ได้ปล้น คือได้แย่งชิง

เอาบาตรและจีวรของภิกษุเหล่านั้นไป.

บทว่า อนุยุญฺชาหิ ความว่า ท่านโปรดสอบถาม เพื่อต้องการ

ทราบความเป็นภิกษุ.

บทว่า อนุยุญฺชิยมานา ความว่า ภิกษุเหล่านั้นถูกท่านพระอุบาลี

สอบสวนถึงการบรรพชา อุปสมบท การอธิษฐานบาตรและจีวรเป็นต้น

อยู่.

ข้อว่า เอตมตฺถ อาโรเจสุ มีความว่า ทูลให้ทราบว่าเป็นภิกษุ

แล้ว ได้กราบทูลเรื่องที่ภิกษุเหล่านั้นกล่าว โดยนัยเป็นต้นว่า เป็นผู้

เดินทางไกลจากเมืองสาเกตสู่พระนครสาวัตถี.

[เมื่อถูกโจรชิงเอาจีวรไปห้ามเปลือยกายเดินทาง]

ในคำว่า อญฺาตก คหปตึ วา เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงทราบ

อนุปุพพีกถา ตั้งต้นแต่คำที่ตรัสไว้ข้างหน้าว่า ปกปิดแล้วด้วยหญ้าหรือ

ด้วยใบไม้ เป็นต้น โดยนัยดังจะกล่าวต่อไปอย่างนั้น:-

ถ้าพวกภิกษุหนุ่มเห็นพวกโจรแล้วถือเอาบาตรและจีวรหนีไป, พวก

โจรชิงเอาเพียงผ้านุ่งและผ้าห่มของพระเถระทั้งหลายเท่านั้นไป, พระเถระ

ทั้งหลายยังไม่ควรให้ขอจีวรทีเดียวก่อน, ยังไม่ควรจะหักกิ่งไม้และเด็ด

ใบไม้. ถ้าพวกภิกษุหนุ่มทิ้งห่อของทั้งหมดหนีไป, พวกโจรชิงเอาผ้านุ่ง

และผ้าห่มของพระเถระและห่อสิ่งของนั้นไป, พวกภิกษุหนุ่มมาแล้ว ยัง

ไม่ควรให้ผ้านุ่งและผ้าห่มของตนแก่พระเถระทั้งหลายก่อน. เพราะว่าพวก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 809

ภิกษุผู้มิได้ถูกโจรชิงเอาจีวรไป ย่อมไม่ได้เพื่อจะหักกิ่งไม้และใบไม้เพื่อ

ประโยชน์แก่ตน, แต่ย่อมได้ (เพื่อจะหักกิ่งไม้และใบไม้) เพื่อประโยชน์

แก่พวกภิกษุผู้ถูกโจรชิงเอาจีวรไป. และพวกภิกษุผู้ถูกโจรชิงเอาจีวรไป

ย่อมได้ (เพื่อหักกิ่งไม้และใบไม้) เพื่อประโยชน์ทั้งแก่ตนเองทั้งแก่คนอื่น.

เพราะฉะนั้น พระเถระทั้งหลายพึงหักกิ่งไม้และใบไม้เอาปอเป็นต้นถักแล้ว

พึงให้แก่พวกภิกษุหนุ่ม หรือพวกภิกษุหนุ่มหักเพื่อประโยชน์แก่พระ-

เถระทั้งหลาย ถักแล้วให้แก่พระเถระเหล่านั้นที่มือ หรือไม่ให้ ตนนุ่ง

เสียเอง แล้วให้ผ้านุ่งและผ้าห่มของตนแก่พระเถระทั้งหลาย. ไม่เป็น

ปาจิตตีย์ เพราะพรากภูตคามเลย. ไม่เป็นทุกกฏ เพราะทรงผ้าธงชัยของ

พวกเดียรถีย์นั้น.

ถ้าในระหว่างทางมีลานของพวกช่างย้อม หรือพบเห็นชาวบ้าน

เหล่าอื่นผู้เช่นนั้นเข้า, พึงให้ขอจีวร. และพวกชาวบ้านที่ถูกขอเหล่านั้น

หรือชาวบ้านพวกอื่น เห็นพวกภิกษุนุ่งกิ่งไม้และใบไม้แล้วเกิดความ

อุตสาหะถวายผ้าเหล่าใดแก่ภิกษุเหล่านั้น. ผ้าเหล่านั้นจะมีชายหรือไม่มีชาย

ก็ตาม มีสีต่าง ๆ เช่นสีเขียวเป็นต้นก็ตาม เป็นกัปปิยะบ้าง เป็นอกัปปิยะ

บ้าง, ทั้งหมด ภิกษุเหล่านั้นควรนุ่งและควรห่มได้ทั้งนั้น เพราะพวกเธอ

ตั้งอยู่ในฐานผู้ถูกโจรชิงจีวร. จริงอยู่ แม้ในคัมภีร์ปริวาร ท่านก็กล่าว

คำนี้ไว้ว่า

ผ้าที่ไม่ได้ทำกัปปะ ทั้งไม้ได้ย้อมด้วยน้ำย้อม

ภิกษุพึงนุ่งห่มไปได้ตามปรารถนา และเธอไม่ต้อง

อาบัติ, ก็ธรรมนั้น อันพระสุคตเจ้าทรงแสดงแล้ว,

ปัญหาข้อนี้ ท่านผู้ฉลาดทั้งหลายคิดกันแล้ว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 810

จริงอยู่ ปัญหาข้อนี้ ท่านกล่าวหมายถึงภิกษุผู้ถูกโจรชิงจีวร.

ก็ถ้าว่า ภิกษุทั้งหลายสมาคมกับพวกเดียรถีย์ และพวกเดียรถีย์นั้นถวาย

จีวรคากรอง เปลือกไม้กรอง และผลไม้กรอง, แม้ผ้าเหล่านั้นควรที่ภิกษุ

จะนุ่งห่มได้ไม่รับเอาลัทธิ คือ แม้นุ่งห่มแล้ว ก็ไม่พึงถือลัทธิ (ของเขา).

บัดนี้ บัณฑิตพึงทราบสันนิษฐาน ในคำว่า ภิกษุเดินไปถึงวัด

ใดก่อน, ถ้าจีวรสำหรับวิหาร หรือของสงฆ์ในวัดนั้น มีอยู่ เป็นต้นว่า

ที่ชื่อว่า จีวรสำหรับวิหาร คือ จีวรที่พวกชาวบ้านให้สร้างวัดแล้ว เตรียม

จีวรไว้ด้วยกล่าวว่า ปัจจัย ๔ เป็นของส่วนตัวของพวกเราเท่านั้น จงถึง

การใช้สอย แล้วตั้งไว้ในวัดที่ตนให้สร้าง จีวรนี้ ชื่อว่า จีวรสำหรับวิหาร.

เครื่องปูลาดบนเตียง ท่านเรียกว่า เครื่องลาดข้างบน.

เครื่องปูลาดที่ทำด้วยเศษผ้า เพื่อต้องการจะรักษาพื้นที่ทำบริกรรม

ท่านเรียกว่า ผ้าลาดพื้น. ภิกษุทั้งหลายลาดเสื่ออ่อนบนเครื่องลาดนั้น

แล้ว เดินจงกรม.

เปลือก (ปลอก) ฟูกรองเตียง หรือฟูกรองตั่ง ชื่อว่า เปลือกฟูก.

ถ้าเปลือกฟูกเขายัดไว้เต็ม, แม้จะรื้อออกแล้วถือเอา ก็ควร. บรรดาจีวร

สำหรับวิหารเป็นต้นเหล่านี้ ดังกล่าวมาอย่างนี้ จีวรทีมีอยู่ในวัดนั้น พวก

ภิกษุที่ถูกโจรชิงเอาไป แม้ไม่ขออนุญาตจะถือเอานุ่งหรือห่มก็ได้. ก็แล

การนุ่งหรือการห่มนั้น ย่อมได้ด้วยความประสงค์ว่า เราได้ (ผ้านุ่งหรือ

ผ้าห่มแล้ว ) จักตั้งลงไว้ คือ จักเก็บไว้อย่างเดิม, ย่อมไม่ได้ โดยการ

ขาดมูลค่า (การถือเอาเป็นกรรมสิทธิ์ของตน). ก็แล ครั้นได้ (ผ้านุ่งหรือ

ผ้าห่ม) จากญาติ หรือจากอุปัฏฐาก หรือแม้จากที่แห่งใดแห่งหนึ่งอื่นแล้ว

พึงกระทำให้กลับเป็นปกติเดิมทีเดียว. ภิกษุไปยังต่างถิ่นแล้ว พึงเก็บไว้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 811

ในอาวาสของสงฆ์แห่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การใช้สอย โดยการใช้สอย

เป็นของสงฆ์. ถ้าจีวรสำหรับวิหารนั้น ชำรุด หรือหายไป โดยการใช้สอย

ของภิกษุนั้น ไม่เป็นสินใช้. แต่ถ้าว่า ภิกษุไม่ได้ผ้าอะไร ๆ บรรดา

ผ้าเหล่านี้ มีผ้าของคฤหัสถ์เป็นต้น มีเปลือกฟูกเป็นที่สุด มีประการ

ดังกล่าวแล้ว, เธอพึงเอาหญ้า หรือใบไม้ปกปิดเเล้วมาเถิด ฉะนี้แล.

จีวรแม้ที่อาจารย์และอุปัชฌาย์ ผู้ถูกโจรชิงจีวรไป ขอกะชนเหล่า

อื่นว่า นำจีวรมาเถิด อาวุโส ! แล้วถือเอาไป หรือถือเอาไปด้วยวิสาสะ

ย่อมควรเพื่อจะกล่าวว่า ถึงการสงเคราะห์เข้า ในคำว่า เกหิจิ วา

อจฺฉินฺน (ถูกใคร ๆ ชิงเอาไปก็ดี) นี้.

อนึ่ง แม้จีวรที่พวกนิสิตปกปิดด้วยหญ้า และใบไม้ด้วยตนเองแล้ว

ถวายแก่ภิกษุมีอาจารย์และอุปัชฌาย์เป็นต้น ผู้ถูกโจรชิงจีวรย่อมควร

เพื่อจะกล่าวว่า ถึงการสงเคราะห์เข้า ในคำว่า ปริโภคชิณฺณ วา

(ใช้สอยเก่าไปก็ดี) นี้. จริงอยู่ เมื่อมีเนื้อความที่ควรกล่าวอย่างนั้น ภิกษุ

เหล่านั้นจักเป็นผู้ตั้งอยู่ในฐานเป็นผู้ถูกชิงจีวร และในฐานเป็นผู้มีจีวรหาย

แท้. เพราะฉะนั้น อนาบัติในเพราะวิญญัตติ และในเพราะบริโภคอกัป-

ปิยจีวร จักเป็นของสมควรแก่ภิกษุเหล่านั้นแล.

ในคำว่า าติกาน ปวาริตาน นี้ บัณฑิตพึงเห็นความอย่างนี้

ว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ออกปากขอ คือ ผู้อ้อนวอนขอกะญาติและคน

ปวารณาว่า พวกท่านจงถวายของตน แก่ภิกษุเหล่านี้, แท้จริง ไม่มี

อาบัติหรืออนาบัติ แก่ภิกษุทั้งหลายที่พวกญาติปวารณาเเล้ว.*

แม้ในคำว่า อตฺตโน ธเนน นี้ บัณฑิตก็พึงเห็นความอย่างนี้ว่า

* แปลตามอัตถโยชนา ๑/๕๔๑. ญาตกาน ปวาริตานนฺติ ญาตเกหิ ปริวาริตาน ภกฺขูน-ผู้ชำระ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 812

ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ออกปากขอ คือผู้สั่งให้จ่าย หรือสั่งให้แลกเปลี่ยน

ด้วยกัปปิยภัณฑ์ของตน โดยกัปปิยโวหารเท่านั้น.

อนึ่ง ในคำว่า ปวาริตาน นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:- ในปัจจัยทั้งหลาย

ที่เขาปวารณาไว้ด้วยอำนาจแห่งสงฆ์ ควรขอแต่พอประมาณเท่านั้น. ใน

การปวารณาเฉพาะบุคคล ควรขอแต่เฉพาะสิ่งของที่เขาปวารณาเหมือนกัน .

แท้จริง คนใดปวารณาด้วยจตุปัจจัยกำหนดไว้เองทีเดียว แล้วถวาย

สิ่งของที่ต้องการโดยอาการอย่างนั้น คือ ย่อมถวายจีวรตามสมควรแก่กาล

ย่อมถวายอาหารมีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้นทุก ๆ วัน, กิจที่จะต้องออก

ปากขอกะคนเช่นนั้น ไม่มี. ส่วนบุคคลใดปวารณาแล้ว ย่อมไม่ให้ เพราะ

เป็นผู้เขลา หรือเพราะหลงลืมสติ, บุคคลนั้น อันภิกษุควรขอ. บุคคล

กล่าวว่า ผมปวารณาเรือนของผม, ภิกษุพึงไปสู่เรือนของบุคคลนั้นแล้ว

พึงนั่ง พึงนอน ตามสบาย ไม่พึงรับเอาอะไร ๆ. ส่วนบุคคลใด กล่าวว่า

ผมขอปวารณาสิ่งของที่มีอยู่ในเรือนของผม ดังนี้, พึงขอสิ่งของที่เป็น

กัปปิยะซึ่งมีอยู่ในเรือนของบุคคลนั้น. ในกุรุนทีกล่าวว่า แต่ภิกษุจะนั่ง

หรือจะนอนในเรือน ไม่ได้.

ในคำว่า อญฺสฺสตฺถาย นี้ มีอรรถอย่างหนึ่ง ดังนี้ว่า ไม่เป็น

อาบัติแก่ภิกษุผู้ขอกะญาติและคนปวารณาของตน เพื่อประโยชน์แก่ตนเอง

อย่างเดียวหามิได้ โดยที่แท้ ขอเพื่อประโยชน์แก่ภิกษุอื่น ก็ไม่เป็นอาบัติ.

ส่วนอรรถอย่างที่สองในบทว่า อญฺสฺส นี้ ดังต่อไปนี้ว่า ไม่เป็น

อาบัติแก่ภิกษุผู้ออกปากขอกะญาติและคนปวารณาของภิกษุอื่น เพื่อประ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 813

โยชน์แก่ภิกษุนั้นนั่นเอง คือ พระพุทธรักขิต ซึ่งได้โวหารว่า ผู้อื่น*.

คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

บรรดาปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทแม้นี้ก็มีสมุฏฐาน ๖

เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม

มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาอัญญาตกวิญญัตติสิกขาบทที่ ๖ จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๗

เรื่องของพระฉัพพัคคีย์

[๕๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระฉัพพัคคีย์เข้าไปหาภิกษุทั้งหลายผู้มีจีวรถูกชิงไป แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า

อาวุโสทั้งหลาย การขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือนหรือแม่เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุผู้มีจีวรถูกชิงไป หรือผู้มีจีวร

ฉิบหายแล้ว ท่านทั้งหลายจงขอจีวรเถิด

ภิกษุเหล่านั้นกล่าวว่า พอแล้ว ขอรับ พวกผมได้จีวรมาแล้ว

ฉ. พวกผมจะขอเพื่อประโยชน์ของพวกท่าน

ภิ. จงขอเถิด ขอรับ

* อตฺถโยชนา ๑/๕๔๒/ กำหนดให้แปลว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ขอปัจจัยทั้งหลายที่พวก

ญาติของพวกภิกษุอื่นปวารณาไว้ เพื่อประโยชน์แก่พระพุทธรักขิต หรือพระธรรมรักขิต

นั้นนั่นแล-ผู้ได้โวหารว่า "ภิกษุอื่น" - ผู้ชำระ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 814

ลำดับนั้น พระฉัพพัคคีย์เข้าไปหาพวกพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ แล้ว

กล่าวคำนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกภิกษุที่มีจีวรถูกชิงไปมาแล้ว ขอท่าน

ทั้งหลายจงถวายจีวรแก่พวกเธอ ดังนี้แล้ว ขอจีวรได้มาเป็นอันมาก

ครั้งนั้น บุรุษหนึ่ง นั่งอยู่ในที่ชุมชน พูดกะบุรุษอีกผู้หนึ่งว่า

พระคุณเจ้าทั้งหลาย ผู้มีจีวรถูกชิงไปมาแล้ว ข้าพเจ้าได้ถวายจีวรแก่ท่าน

เหล่านั้นแล้ว แม้บุรุษอีกผู้หนึ่งนั้นก็กล่าวอย่างนี้ว่า แม้ข้าพเจ้าก็ได้ถวาย

ไปแล้ว แม้บุรุษอื่นอีกก็กล่าวอย่างนี้ว่า แม้ข้าพเจ้าก็ได้ถวายไปแล้ว

บุรุษเหล่านั้นจึงพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระ-

สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงไม่รู้จักประมาณ ขอจีวรมามากมายเล่า

พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จักทำการค้าผ้าหรือจักตั้งร้านขายผ้า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนา

อยู่ บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์

จึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอจีวรมามากมายเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็น

เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์ว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอไม่รู้จักประมาณ ขอจีวรมาไว้

มากมาย จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 815

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงไม่รู้จักประมาณ ขอ

จีวรมาไว้มากมายเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไป

เพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์ โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 816

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจะบังเกิดในอนาคต

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุนชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๒๖. ๗. ถ้าพ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติปวารณา

ต่อภิกษุนั้น ด้วยจีวรเป็นอันมาก เพื่อนำไปได้ตามใจ ภิกษุนั้นพึง

ยินดีจีวร มีอุตราสงค์กับอันตรวาสกเป็นอย่างมาก จากจีวรเหล่านั้น ถ้า

ยินดียิ่งกว่านั้น เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๕๙] บทว่า ถ้า...ต่อภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้มีจีวรถูกชิงไป.

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือไม่ใช่คนเนื่องถึงกันทางมารดาก็ดี ทาง

บิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก.

ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน.

ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่ สตรีผู้ครอบครองเรือน.

บทว่า ด้วยจีวรเป็นอันมาก คือ จีวรหลายผืน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 817

บทว่า ปวารณา...เพื่อนำไปได้ตามใจ คือ ปวารณาว่า ท่านต้อง

การจีวรเท่าใด ก็จงรับไปเท่านั้นเถิด

คำว่า ภิกษุนั้นพึงยินดีจีวรมีอุตราสงค์กับอันตรวาสกเป็นอย่าง

มาก จากจีวรเหล่านั้น ความว่า ถ้าจีวรหาย ๓ ผืน เธอพึงยินดีเพียง

๒ ผืน หาย ๒ ผืน พึงยินดีเพียงผืนเดียว หายผืนเดียวอย่าพึงยินดีเลย

คำว่า ถ้ายินดียิ่งกว่านั้น ความว่า ขอมาได้มากกว่านั้น เป็น

ทุกกฏในประโยคที่ยินดีเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา ต้องเสีย

สละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล ภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนดต่อเจ้า

เรือนผู้มิใช่ญาติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 818

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนดต่อเจ้าเรือน

ผู้มิใช่ญาติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงพึงข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนดต่อเจ้าเรือน

ผู้มิใช่ญาติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๖๐] เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวรเกิน

กำหนด เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 819

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวรเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ขอจีวรเกินกำหนด

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร... ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ...ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๖๑] ภิกษุนำเอาไปด้วยคิดว่า จักนำจีวรที่เหลือมาคืน ๑ เจ้าเรือน

ถวายบอกว่า จีวรที่เหลือจงเป็นของท่านรูปเดียว ๑ เจ้าเรือนไม่ได้ถวาย

เพราะเหตุจีวรถูกชิงไป ๑ เจ้าเรือนไม่ได้ถวายเพราะเหตุจีวรหาย ๑ ภิกษุ

ขอต่อญาติ ๑ ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน ๑

ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๗ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 820

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๗

พรรณนาตทุตตริสิกขาบท

ตทุตตริสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในตทุตตริสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องปวารณาเพื่อนำไป]

ศัพท์ว่า อภิ ในคำว่า อภิหฏฺฐุ เป็นอุปสรรค. มีอรรถว่า เพื่อ

นำไป. มีคำอธิบายว่า เพื่อถือเอา.

บทว่า ปวาเรยฺย มีความว่า พึงให้ปรารถนา คือ ให้เกิดความ

ปรารถนา ความพอใจ, อธิบายว่า พึงบอก คือ พึงนิมนต์. เพื่อทรง

แสดงอาการที่ผู้ปวารณาเพื่อให้นำไปจะพึงกล่าว พระผู้มีพระภาคเจ้า จึง

ตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า อภิหฏฺฐุ ไว้อย่างนี้ว่า ท่านต้องการจีวรเท่าใด

ก็จงรับไปเท่านั้นเถิด. อีกอย่างหนึ่ง ในบาทคาถานี้ว่า เนกฺขมฺม หฏฺฐุ-

เขมโต มีอรรถว่า ทิสฺวา (เห็นแล้ว) ฉันใด, สองบทว่า อภิหฏฺฐุ

ปวาเรยฺย แม้ในสิกขาบทนี้ ก็มีอรรถว่า เขานำมาแล้วปวารณา ฉันนั้น.

การนำมาในคำว่า อภิหริตฺวา นั้น มี ๒ อย่างคือ การนำมาด้วย

กายอย่าง ๑ การนำนาด้วยวาจาอย่าง ๑. พ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี

ผู้มิใช่ญาติ นำผ้าทั้งหลายมาด้วยกายแล้ววางไว้ที่ใกล้เท้า พึงปวารณา

กล่าวว่า ท่านต้องการจีวรเท่าใด ก็จงรับไปเท่านั้นเถิด. อนึ่ง พึงกล่าว

ปวารณาด้วยวาจาว่า เรือนคลังผ้าของพวกข้าพเจ้า เต็มบริบูรณ์, ท่าน

ต้องการจีวรเท่าใด ก็จงรับไปเท่านั้นเถิด. ก็เพราะรวมการนำมาทั้งสอง

นั้นเข้าเป็นอันเดียวกัน ตรัสเรียกว่า ปวารณาเพื่อนำไป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 821

บทว่า สนฺตรุตฺตรปรม มีวิเคราะห์ว่า ผ้าอุตราสงค์ กับอันตร-

วาสก เป็นอย่างยิ่งแห่งจีวรนั้น; เหตุนั้น จีวรนั้น จึงชื่อว่า มีอุตราสงค์

กับอันตรวาสกเป็นอย่างยิ่ง. มีคำอธิบายว่า ผ้าห่มกับผ้านุ่ง เป็นกำหนด

อย่างสูงแห่งจีวรนั้น.

หลายบทว่า ตโต จีวร สาทิตพฺพ มีความว่า ภิกษุพึงถือเอาจีวร

มีประมาณเท่านี้ จากจีวรที่คฤหบดี หรือ คฤหปตานี ผู้มิใช่ญาตินำมา

ให้นั้น, อธิบายว่า ไม่ควรรับเกินกว่านี้. ก็เพราะว่าภิกษุผู้มีเพียงไตรจีวร

เท่านั้น ถูกโจรชิงเอาจีวรไปหมด ควรปฏิบัติอย่างนี้, ภิกษุอื่นควร

ปฏิบัติแม้อย่างอื่น; ฉะนั้น เพื่อจะทรงแสดงวิภาคนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า

จึงตรัสบทภาชนะเเห่งบทว่า ตโต จีวร สาทิตพฺพ นั้น โดยนัยมีว่า สเจ

ตีณิ นฏฺานิ โหนฺติ เป็นต้น.

วินิจฉัยในคำว่า สเจ ตีณิ นฏฺานิ เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้:-

ถ้าภิกษุใดมีจีวรหาย ๓ ผืน, ภิกษุนั้น พึงยินดี ๒ ผืน. คือจักนุ่ง

ผืนหนึ่ง ห่มผืนหนึ่ง แล้วแสวงหาอีกผืนหนึ่งจากที่แห่งภิกษุผู้เป็นสภาค

กัน . ภิกษุใด มีจีวรหาย ๒ ผืน ภิกษุนั้น พึงยินดีผืนเดียว. ถ้าภิกษุ

เที่ยวไปโดยปกติด้วยอุตราสงค์กับอันตรวาสก พึงยินดี ๒ ผืน. เมื่อยินดี

เช่นนั้น จักเป็นผู้เสมอกับภิกษุผู้ยินดีผืนเดียวนั่นเอง. หายผืนเดียว ไม่

พึงยินดี. ภิกษุใดมีจีวรหายไปผืนเดียวในบรรดาจีวร ๓ ผืน, ภิกษุนั้น

ไม่ควรยินดี. แต่บรรดาจีวร ๒ ผืน ของภิกษุใดหายผืนเดียว, เธอพึง

ยินดีผืนเดียว. แต่ของภิกษุใด มีผืนเดียวเท่านั้น และจีวรผืนนั้นหาย,

ภิกษุนั้น พึงยินดี ๒ ผืน. แต่สำหรับภิกษุนี้ เมื่อหายไปทั้ง ๕ ผืน พึง

ยินดี ๒ ผืน. เมื่อหาย ๔ ผืน พึงยินดีผืนเดียว. เมื่อหาย ๓ ผืน ไม่พึง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 822

ยินดีอะไร ๆ เลย. ก็ในจีวรที่หายไป ๒ ผืน หรือ ๑ ผืน จะต้องกล่าว

ไปทำไมเล่า ? จริงอยู่ ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง พึงตั้งอยู่ในความเป็นผู้มี

อุตราสงค์กับอันตรวาสกเป็นอย่างยิ่ง. ยิ่งกว่านั้นไปย่อมไม่ได้, คำดังกล่าว

มานี้ เป็นลักษณะในข้อนี้.

สองบทว่า เสสก อาหริสฺสามิ มีความว่า ข้าพเจ้า จักทำจีวร

สองผืนแล้ว จักนำผ้าที่เหลือมาคืนให้.

บทว่า น อจฺฉินฺนการณา มีความว่า พวกทายกถวายด้วยอำนาจ

แห่งคุณมีความเป็นพหูสูตเป็นต้น.

ในบทว่า าตกน เป็นต้น มีความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้

ยินดีจีวรของพวกญาติถวาย ผู้ยินดีของพวกคนปวารณาถวาย ผู้ยินดี

(จีวรที่จ่ายมา) ด้วยทรัพย์ของตน.

อนึ่ง ในอรรถกถาทั้งหลาย ท่านกล่าวว่า ตามปกตินั่นแลจะขอ

จีวรแม้มากในที่แห่งญาติและคนปวารณา ก็ควร, เพราะเหตุที่ถูกโจร

เป็นต้นชิงไป ควรจะขอแต่พอประมาณเท่านั้น. คำนั้นไม่สมด้วยพระ-

บาลี. ก็เพราะสิกขาบทนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ ในเพราะเรื่อง

ขอเพื่อประโยชน์แก่คนอื่นเท่านั้น; เพราะฉะนั้น ในสิกขาบทนี้ พระองค์

จึงไม่ตรัสว่า เพื่อประโยชน์แก่คนอื่น. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น .

บรรดาปกิณกะมีสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทแม้นี้ ก็มีสมุฏฐาน ๖

เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจี-

กรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาตทุตตริสิกขาบทที่ ๗ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 823

จีวรวรรค สิกขายทที่ ๘

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๖๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชต-

วัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นบุรุษ

ผู้หนึ่งได้กล่าวคำนี้กะภรรยาว่า ฉันจักยังท่านพระอุปนันทะให้ครองจีวร

ภิกษุรูปหนึ่งผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ได้ยินบุรุษนั้นกล่าว

คำนี้ จึงเข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตร ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรว่า อาวุโส อุปนันทะ ท่านเป็นผู้มีบุญมาก ใน

สถานที่โน้น บุรุษผู้หนึ่งได้กล่าวคำนี้กะภรรยาว่า ฉันจักยังท่านพระ-

อุปนันทะให้ครองจีวร

ท่านพระอุปนันทะกล่าวรับรองว่า มีขอรับ เขาเป็นอุปัฏฐากของผม

ครั้นแล้วท่านพระอุปนันทศากยบุตร ได้เข้าไปหาบุรุษนั้นแล้วสอบถาม

เขาว่า จริงหรือ ข่าวว่า ท่านประสงค์จะให้อาตมาครองจีวร

บุ. ความจริง ผมตั้งใจไว้อย่างนี้ว่า จักยังท่านพระอุปนันทะให้

ครองจีวร

อุ. ถ้าท่านประสงค์จะให้อาตมาครองจีวร ก็จงให้ครองจีวรชนิดนี้

เถิด เพราะจีวรที่อาตมาไม่ใช้ แม้ครองแล้วจักทำอะไรได้

บุรุษนั้นจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาขึ้นในขณะนั้นว่า พระ-

สมณะเชื้อสายพระะศากยบุตรเหล่านี้ เป็นคนมักมาก ไม่สันโดษ จะให้

ครองจีวรก็ทำได้ไม่ง่าย ไฉนพระคุณเจ้าอุปนันทะ อันเราไม่ได้ปวารณา

ไว้ก่อนจึงได้เข้ามาหา แล้วถึงการกำหนดในจีวรเล่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 824

ภิกษุทั้งหลาย ได้ยินบุรุษนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตร อันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน จึงได้เข้าไปหาพ่อเจ้าเรือน ถึง

การกำหนดในจีวรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็น

เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธออันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ได้เข้าไปหาพ่อเจ้าเรือนแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร จริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนอุปนันทะ เขาเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ คนที่มิใช่ญาติย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร

หรือไม่สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มี ของคนที่มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น

เธออันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ยังเข้าไปหาพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ

แล้วถึงการกำหนดในจีวรได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 825

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง

อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตร โดย

อเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็น

คนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ

คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความ

เป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร

โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือเพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 826

พระบัญญัติ

๒๗. ๘. อนึ่ง มีพ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติตระ-

เตรียมทรัพย์ สำหรับจ่ายจีวรเฉพาะภิกษุไว้ว่า เราจักจ่ายจีวรด้วย

ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้แล้ว ยังภิกษุชื่อนี้ให้ครองจีวร ถ้าภิกษุนั้นเขา

ไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาแล้ว ถึงการกำหนดในจีวรในสำนัก

ของเขาว่า ดีละ ท่านจงจ่ายจีวรเช่นนั้น หรือเช่นนี้ ด้วยทรัพย์

สำหรับจ่ายจีวรนี้ แล้วยังรูปให้ครองเถิด เป็นนิสสัคติยปาจิตตีย์ ถือ

เอาความเป็นผู้ใคร่ในจีวรดี.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๖๓] บทว่า อนึ่ง...เฉพาะภิกษุ ความว่า เพื่อประโยชน์ของ

ภิกษุ คือทำภิกษุให้เป็นอารมณ์แล้วใคร่จะให้ภิกษุครอง

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี

ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่ สตรีผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร ได้แก่ เงิน ทอง แก้วมณี แก้ว

มุกดา แก้วลาย แก้วผลึก ผ้า ด้าย หรือฝ้าย.

บทว่า ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้ คือ ด้วยทรัพย์ที่เขาจัดหาไว้

เฉพาะ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 827

บทว่า จ่าย คือ แลกเปลี่ยน.

บทว่า ให้ครอง คือ จักถวาย

คำว่า ถ้าภิกษุนั้น...ในสำนักของเขา ได้แก่ ภิกษุที่เขาตระเตรียม

ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไว้ถวายเฉพาะ.

บทว่า เขาไม่ได้ปวารณาก่อน คือ เป็นผู้อันเขาไม่ได้บอกไว้

ก่อนว่า ท่านเจ้าข้า ท่านจะต้องการจีวรเช่นไร ผมจักจ่ายจีวรเช่นไร

ถวายท่าน.

บทว่า เข้าไปหาแล้ว คือ ไปถึงเรือนแล้ว เข้าไปหาในที่แห่งใด

แห่งหนึ่ง.

บทว่า ถึงการกำหนดในจีวร คือ กำหนดว่า ขอให้ยาว ขอให้

กว้าง ขอให้เนื้อแน่น หรือขอให้เนื้อละเอียด.

บทว่า ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้ คือ ด้วยทรัพย์ที่เขาจัดหาไว้

เฉพาะ.

บทว่า เช่นนั้นหรือเช่นนี้ คือ ยาวหรือกว้าง เนื้อแน่นหรือเนื้อ

ละเอียด.

บทว่า จ่าย คือ แลกเปลี่ยน.

บทว่า ยังรูปให้ครองเถิด คือ จงให้.

บทว่า ถือเอาความเป็นผู้ใคร่ในจีวรดี คือ มีความประสงค์ผ้าที่ดี

ต้องการผ้าที่มีราคาแพง

เขาจ่ายจีวรยาวก็ดี กว้างก็ดี เนื้อแน่นก็ดี เนื้อละเอียดก็ดี ตาม

คำของเธอ เป็นทุกกฏในประโยคที่เขาจ่าย เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา

ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล ภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 828

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุ

ผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าเข้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ถึงการกำหนดในจีวร เป็นของ

จำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าเข้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ถึงการกำหนดในจีวร เป็นของ

จำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 829

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้ .

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ข้าพเจ้า

เข้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ถึงการกำหนดในจีวร เป็นของจำจะสละ

ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคติยปาจิตตีย์

[๖๔] เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ เขาไม่ได้

ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาเจ้าเรือนแล้ว ถึงการกำหนดในจีวรเป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไป

หาเจ้าเรือนแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ เขาไม่ได้ปวารณาไว้

ก่อน เข้าไปหาเจ้าเรือนแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 830

ทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ...ต้องอาบัติทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ...ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๖๕] ภิกษุขอต่อเจ้าเรือนผู้เป็นญาติ ๑ ภิกษุขอต่อเจ้าเรือนผู้

ปวารณาไว้ ๑ ภิกษุขอเพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วย

ทรัพย์ของตน ๑ เจ้าเรือนใคร่จะจ่ายจีวรมีราคาแพง ภิกษุให้เขาจ่ายจีวร

มีราคาถูก ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๘ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๘

พรรณนาปฐมอุปักขฏสิกขาบท

อุปักขฏสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในอุปักขฏสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

[แก้อรรถมูลเหตุปฐมบัญญัติ]

ในคำว่า อตฺถาวุโส ม โส อุฏฺาโก นี้ มีความอย่างนี้ว่า ท่าน

ผู้มีอายุ ! บุรุษที่ท่านพูดถึง เห็นปานนี้นั้น เป็นอุปัฏฐากของผม มีอยู่.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 831

คำว่า อปิมยฺยา เอว โหติ มีความว่า ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า !

ความจริง ผมตั้งใจไว้อย่างนั้น. ปาฐะว่า อปิ เมยฺยา เอว โหติ แปลว่า

ข้าแด่พระคุณเจ้า ! ถึงผมก็มีความคิดอย่างนี้ ดังนี้ ก็มี.

บทว่า อุทฺทิสฺส ที่มีอยู่ในคำว่า ภิกฺขุ ปเนว อุทฺทิสฺส นี้ มี

อรรถว่า อ้างถึง คือ ปรารภถึง. ก็เพราะทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรที่พ่อ

เจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ตระเตรียมไว้เฉพาะภิกษุใด จัดว่าเป็นอัน

เขาตระเตรียมแล้ว เพื่อประโยชน์แก่ภิกษุนั้น; ฉะนั้น ในบทภาชนะแห่ง

บทว่า ภิกฺขุ ปเนว อุทฺทสฺส นั้น ท่านพระอุบาลี จึงกล่าวว่า เพื่อ

ประโยชน์แก่ภิกษุ.

[แก้อรรถสิกขาบทวิภังค์ว่าด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร]

คำว่า ภิกฺขุ อารมฺมณ กริตฺวา ได้แก่ กระทำภิกษุให้เป็นปัจจัย.

จริงอยู่ ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรที่พ่อเจ้าเรือน หรือแม่เจ้าเรือนตระ-

เตรียมไว้เฉพาะภิกษุใด ย่อมชื่อว่าเป็นอันเขาทำภิกษุนั้นให้เป็นปัจจัย

ตระเตรียมไว้โดยแน่นอนทีเดียว. เพราะเหตุนั้น จึงกล่าวว่า ทำภิกษุให้

เป็นอารมณ์. ความจริง แม้ปัจจัย ก็มาแล้วโดยชื่อว่า อารมณ์ ในคำว่า

ลภติ มาโร อารมฺมณ แปลว่า มารย่อมได้ปัจจัย ดังนี้เป็นต้น .

บัดนี้ เพื่อแสดงอาการของกัตตา (ผู้ทำ) ในบทว่า อุทฺทิสฺส นี้

พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ประสงค์จะให้ภิกษุครอง. จริงอยู่ คฤหบดี

ผู้ประสงค์จะให้ภิกษุครองนั้น ตระเตรียมไว้เฉพาะภิกษุนั้น, มิใช่ (ตระ-

เตรียม) เพราะเหตุอื่น. เพราะเหตุนี้ คฤหบดีนั้น จึงชื่อว่า เป็นผู้ประสงค์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 832

จะให้ครอง ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสคำว่า ผู้ประสงค์

จะให้ภิกษุครอง.

สองบทว่า อญฺาตกสฺส คหปติสฺส วา มีอรรถว่า อันคฤหบดี

ผู้มิใช่ญาติ ก็ดี. แท้จริง คำนี้ เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ลงในอรรถแห่งตติยา-

วิภัตติ. แต่ในบทภาชนะ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อจะไม่วิจารณ์พยัญชนะ

แสดงแต่อรรถอย่างเดียว จึงตรัสคำมีอาทิว่า อญฺาตโก นาม ฯ เป ฯ

คหปติ นาม ดังนี้.

บทว่า จีวรเจตาปน แปลว่า มูลค่าแห่งจีวรม, ก็เพราะมูลค่าแห่ง

จีวรนั้น ย่อมเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในบรรดาทรัพย์มีเงินเป็นต้น; ฉะนั้น

ในบทภาชนะ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า หิรญฺ วา เป็นต้น.

สองบทว่า อุปกฺขฏ โหติ ได้แก่ เป็นทรัพย์ที่เขาตระเตรียมไว้ คือ

รวบรวมไว้แล้ว. ก็เพราะด้วยคำว่า หิรญฺ วา เป็นต้นนี้ ย่อมเป็นอัน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงความที่มูลค่าจีวรนั้น เป็นของอันคฤหบดีนั้น

ตระเตรียมไว้แล้ว; ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงไม่ทรงยกบทว่า

อุปกฺขฏ นาม ขึ้นแล้วตรัสบทภาชนะแยกไว้ต่างหาก. พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงหมายถึงทรัพย์ ที่เขาตระเตรียมไว้ จึงตรัสว่า อิมินา เป็นต้น.

เพราะเหตุนั้นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า อิมินา นั้น จึงตรัสว่า ปจฺจุ-

ปฏฺิเตน แปลว่า ด้วยทรัพย์ที่เขาจัดไว้เฉพาะ. จริงอยู่ มูลค่าแห่งจีวร

ที่คฤหบดี ตระเตรียมไว้ คือรวบรวมไว้แล้ว ชื่อว่า เป็นทรัพย์ที่เขาจัด

หาไว้เฉพาะ ฉะนี้แล.

คำว่า อจฺฉาเทสฺสามิ นี้ เป็นคำสำนวน. แต่ความหมาย ในคำว่า

อจฺฉาเทสฺสามิ นี้ ดังนี้ว่า ข้าพเจ้าจักถวายแก่ภิกษุ ผู้มีชื่อนี้. เพราะ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 833

เหตุนั้นนั่นแล แม้ในบทภาชนะแห่งบทว่า อจฺฉาเทสฺสามิ นั้น พระองค์

จึงตรัสว่า ทสฺสามิ แปลว่า เราจักถวาย.

ในคำว่า ตตฺร เจ โส ภิกฺขุ นี้ มีการเชื่อมบทอย่างนี้ว่า ถ้าภิกษุ

นั้น เขามิได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร ใน

สำนักของเจ้าพ่อเรือน หรือแม่เจ้าเรือนนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น เมื่ออรรถแห่งบทว่า อุปสงฺกมิตฺวา แปลว่า

เข้าไปหาแล้ว นี้สำเร็จด้วยบทว่า คนฺตฺวา แปลว่า ไปแล้ว นี้แล พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สู่เรือน ดังนี้ ด้วยอำนาจโวหารข้างมาก. เนื้อ

ความในบทว่า คนฺตฺวา นี้ อย่างนี้ว่า ก็ทายกนั้นอยู่ ณ ที่ใด ไปแล้ว

ณ ที่นั้น. เพราะฉะนั้น จึงตรัสซ้ำอีกว่า เข้าไปหาแล้ว ณ ที่แห่งใด

แห่งหนึ่ง.

สองบทว่า วิกปฺป อาปชฺเชยฺย มีความว่า พึงถึงความกำหนด

พิเศษยิ่ง คือ การจัดแจงอย่างยิ่ง. แต่ในบทภาชนะ เพื่อแสดงเหตุเป็น

เครื่องให้ถึงความกำหนดเท่านั้น จึงตรัสว่า อายต วา เป็นต้น.

ศัพท์ว่า สาธุ เป็นนิบาตลงในความอ้อนวอน.

ศัพท์ว่า วต เป็นนิบาตเป็นไปในความรำพึง.

ภิกษุย่อมอ้างตนเอง ด้วยบทว่า ม (ยังรูป).

ย่อมร้อง คือ ย่อมเรียก ผู้อื่นว่า อายสฺมา (ท่าน).

ก็คำทั้งหมดนี้ เป็นเพียงสักว่าพยัญชนะ มีอรรถตื้นทั้งนั้น; เพราะ-

ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงไม่ตรัสอธิบายไว้ในบทภาชนะแห่งบทว่า

สาธุ เป็นต้นนั้น.

สองบทว่า กลฺยาณกมฺยต อุปาทาย มีความว่า ถือเอาความเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 834

ผู้ใคร่ในจีวรที่ดี คือ ความเป็นผู้ปรารถนาจีวรที่วิเศษยิ่งด้วยจิต. บทว่า

อุปาทาย นั้น เชื่อมความกับบทว่า อาปชฺเชยฺย เจ นี้. อนึ่ง เพราะเหตุ

ที่ภิกษุใด ถือเอาความเป็นผู้ใคร่ในจีวรดี ย่อมถึงความกำหนด, ภิกษุนั้น

ย่อมเป็นผู้มีความต้องการจีวรดี คือ มีความต้องการด้วยจีวรที่มีค่ามาก;

ฉะนั้น ในบทภาชนะแห่งบทว่า กลฺยาณกมฺยต อุปาทาย นั้น จึงทรง

ละพยัญชนะเสีย ตรัสคำนั้นเท่านั้น เพื่อแสดงเฉพาะอรรถที่ต้องการ.

แต่เพราะอาบัติ ยังไม่ถึงที่สุดด้วยเหตุสักว่า การถึงความกำหนดจีวรนี้

เท่านั้น; ฉะนั้น จึงตรัสคำว่า ตสฺส วจเนน แปลว่า ตามคำของภิกษุ

นั้น เป็นต้น.

ในคำว่า อนาปตฺติ าตกาน เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงเห็นอรรถอย่างนี้

ว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ถึงความกำหนดในจีวรของพวกญาติ.

คำว่า มหคฺฆ เจตาเปตุกามสฺส อปฺปคฺฆ เจตาเปติ มีความว่า

ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้กล่าวแก่คฤหบดี ผู้ใคร่จะให้จ่ายจีวรมีราคา ๒๐ บาท

ว่า อย่าเลย ด้วยจีวรมีราคา ๒๐ นี้ แก่รูป, จงถวายจีวรมีค่า ๑๐ บาท

หรือ ๘ บาท เถิด.

คำว่า อปฺปคฺฆ นี้ ตรัสไว้ เพื่อป้องกันราคาที่มากเกินไปนั่นเอง.

แต่แม้ในจีวรที่เสมอกัน (มีราคาเท่ากัน ) ก็ไม่เป็นอาบัติ. ก็แล จีวรนั้น

เสมอกัน (เท่ากัน ) ด้วยอำนาจแห่งราคาเท่านั้น ไม่ใช่ด้วยอำนาจประมาณ

(ขนาด). จริงอยู่ สิกขาบทนี้ มีการให้เพิ่มราคา; เพราะฉะนั้น แม้จะ

พูดกะคฤหบดี ผู้ใคร่จะให้จ่ายอันตรวาสกมีราคา ๒๐ ว่า จงถวายจีวรมี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 835

ราคาเพียงเท่านี้แหละ ดังนี้ ก็ควร. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น. แม้

สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเช่นกับตทุตตริสิกขาบทนั่นแล.

พรรณนาปฐมอุปักขฏสิกขาบทที่ ๘ จบ

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๙

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๖๖] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

บุรุษผู้หนึ่งได้กล่าวคำนี้กะบุรุษผู้หนึ่งว่า ผมจักยังท่านพระอุปนันทะให้

ครองจีวร แม้บุรุษอีกผู้หนึ่งนั้น ก็กล่าวอย่างนี้ว่า แม้ผมก็จักยังท่าน

พระอุปนันทะให้ครองจีวร

ภิกษุรูปหนึ่งถือการเที่ยวบิณฑบาต ได้ยินถ้อยคำที่เจรจากันนี้ของ

บุรุษทั้งสองนั้น จึงเข้าไปหาพระอุปนันทศากยบุตร ครั้นแล้วได้กล่าว

คำนี้กะท่านพระอุปนันทศากยบุตรว่า อาวุโสอุปนันทะ ท่านเป็นผู้มีบุญ

มาก ในสถานที่โน้น บุรุษผู้หนึ่งได้กล่าวคำนี้กะบุรุษอีกผู้หนึ่งว่า ผม

จักยังท่านพระอุปนันทะให้ครองจีวร แม้บุรุษอีกผู้หนึ่งนั้นได้กล่าวอย่างนี้

ว่า แม้ผมก็จักยังท่านพระอุปนันทะให้ครองจีวร

ท่านพระอุปนันทะกล่าวรับรองว่า มีขอรับ เขาทั้งสองนั้นเป็น

อุปัฏฐากของผม ครั้นแล้วท่านพระอุปนันทศากยบุตร ได้เข้าไปหาบุรุษ

ทั้งสองคนนั้น แล้วสอบถามเขาว่า จริงหรือ ท่านทั้งหลาย ข่าวว่า

ท่านทั้งสองประสงค์จะให้อาตมาครองจีวร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 836

บุ. ความจริง พวกผมได้พูดกันไว้อย่างนี้ว่า จักยังท่านพระ-

อุปนันทะให้ครองจีวร

อุ. ถ้าท่านทั้งสองประสงค์จะให้อาตมาครองจีวร ก็จงให้ครองจีวร

ชนิดนี้เถิด เพราะจีวรทั้งหลายที่อาตมาไม่ใช้ แม้ครองแล้วจักทำอะไรได้

บุรุษทั้งสองคนนั้น จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาขึ้นในขณะ

นั้นว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นคนมักมาก ไม่

สันโดษ จะให้ครองจีวรก็ทำได้ไม่ง่าย ไฉนพระคุณเจ้าอุปนันทะอันพวก

เราไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน จึงได้เข้ามาหาแล้วถึงการกำหนดในจีวรเล่า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินบุรุษทั้งสองนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนา

อยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้

ใคร่ต่อสิกขาต่างก็เพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรอันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน จึงได้เข้าไปหาพ่อเจ้าเรือนทั้งหลาย

แล้วถึงการกำหนดในจีวรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็น

เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธออันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ได้เข้าไปหาพ่อเจ้าเรือนทั้งหลายแล้วถึงการกำหนดในจีวร จริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนอุปนันทะ เขาเหล่านั้นเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 837

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่

ได้ ไม่ควรทำ คนที่ไม่ใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควรหรือ

ไม่ควร ของที่มีอยู่ หรือไม่มี ของคนที่ไม่ใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น

เธออันเขาทั้งหลายไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ยังเข้าไปหาพ่อเจ้าเรือน

ทั้งหลายผู้มิใช่ญาติ แล้วถึงการกำหนดในจีวรได้ การกระทำของเธอ

นั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อ

ความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของ

เธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และ

เพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตร โดย

อเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็น

คนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน

ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมัก

น้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส

การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำ

ธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย

แล้วรับสั่งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 838

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้ :-

พระบัญญัติ

๒๘. ๙. อนึ่ง มีพ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติ

สองคน ตระเตรียมทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรเฉพาะผืน ๆ ไว้เฉพาะภิกษุ

ว่า เราทั้งหลายจักจ่ายจีวรเฉพาะผืน ๆ ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร

เฉพาะผืน ๆ เหล่านี้แล้ว ยังภิกษุชื่อนี้ให้ครองจีวรหลายผืนด้วยกัน

ถ้าภิกษุนั้นเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาแล้วถึงการกำหนดใน

จีวรในสำนักของเขาว่า ดีละ ขอท่านทั้งหลายจงจ่ายจีวรเช่นนั้น หรือ

เช่นนี้ ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรเฉพาะผืน ๆ เหล่านี้แล้ว ทั้งสองคน

รวมกัน ยังรูปให้ครองจีวรผู้ผืนเดียวเถิด เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ถือ

เอาความเป็นผู้ใคร่ในจีวรดี.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 839

สิกขาบทวิภังค์

[๖๗] บทว่า อนึ่ง...เฉพาะภิกษุ ความว่า เพื่อประโยชน์ของ

ภิกษุ คือทำภิกษุให้เป็นอารมณ์แล้วใคร่จะให้ภิกษุครอง.

บทว่า สองคน คือ สองคนด้วยกัน

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี

ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่ สตรีผู้ครอบครองเรือน

ที่ชื่อว่า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร ได้แก่ เงิน ทอง แก้วมณี แก้ว

มุกดา แก้วลาย แก้วผลึก ผ้า ด้าย หรือฝ่าย.

บทว่า ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรเหล่านี้ คือ ด้วยทรัพย์ที่เขาจัด

หาไว้เฉพาะ.

บทว่า จ่าย คือ แลกเปลี่ยน.

บทว่า ให้ครอง คือ จักถวาย

คำว่า ถ้าภิกษุนั้น...ในสำนักของเขา ได้แก่ ภิกษุที่เขาทั้งสองคน

ตระเตรียมทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไว้ถวายเฉพาะ.

บทว่า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน คือ เป็นผู้อันเขาไม่ได้บอกไว้

ก่อนว่า ท่านเจ้าข้า ท่านจะต้องการจีวรเช่นไร ผมจักจ่ายจีวรเช่นไร

ถวายท่าน.

บทว่า เข้าไปหาแล้ว คือ ไปถึงเรือนแล้ว เข้าไปหาในที่แห่งใด

แห่งหนึ่ง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 840

บทว่า ถึงการกำหนดในจีวร คือ กำหนดว่า ขอให้ยาว ขอให้

กว้าง ขอให้เนื้อแน่น หรือขอให้เนื้อละเอียด.

บทว่า ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรเหล่านี้ คือ ด้วยทรัพย์ที่เขาจัด

หาไว้เฉพาะ.

บทว่า เช่นนั้นหรือเช่นนี้ คือ ยาวหรือกว้าง เนื้อแน่นหรือเนื้อ

ละเอียด.

บทว่า จ่าย คือ แลกเปลี่ยน.

บทว่า ยังรูปให้ครอง คือ จงให้.

บทว่า ทั้งสองคนรวมกัน คือ รวมทรัพย์ทั้งสองรายเข้าเป็นราย

เดียวกัน.

บทว่า ถือเอาความเป็นผู้ใคร่ในจีวรดี คือ มีความประสงค์ผ้าที่ดี

ต้องการผ้าที่มีราคาแพง.

เขาจ่ายจีวรยาวก็ดี กว้างก็ดี เนื้อแน่นก็ดี เนื้อละเอียดก็ดี ตาม

คำของเธอ เป็นทุกกฏในประโยคที่เขาจ่าย เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา

ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล ภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 841

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าเข้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติทั้งหลาย ถึงการกำหนดในจีวร

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่:-

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าเข้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติทั้งหลาย ถึงการกำหนดในจีวร

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้ แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 842

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ข้าพเจ้า

เจ้าไปหาเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติทั้งหลาย ถึงการกำหนดในจีวร เป็นของ

จำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละแล้วให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๖๘] เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ เขาไม่ได้ปวารณา

ไว้ก่อน เข้าไปหาเจ้าเรือนทั้งหลายแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไป

หาเจ้าเรือนทั้งหลายแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ เขาไม่ได้ปวารณาไว้

ก่อน เข้าไปหาเจ้าเรือนทั้งหลายแล้ว ถึงการกำหนดในจีวร เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ... ต้องอาบัติทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 843

ไม่ต้องอาบัติ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่า เป็นญาติ...ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๖๙] ภิกษุขอต่อเจ้าเรือนผู้เป็นญาติ ๑ ภิกษุขอต่อเจ้าเรือนผู้

ปวารณาไว้ ๑ ภิกษุขอเพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วย

ทรัพย์ของตน ๑ เจ้าเรือนใคร่จะจ่ายจีวรมีราคาแพง ภิกษุให้เขาจ่ายจีวร

มีราคาถูก ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๙ จบ

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๙

พรรณนาทุติยอุปักขฏสิกขาบท

บัณฑิตพึงทราบเนื้อความในทุติยอุปักขฏสิกขาบทโดยนัยนี้แล.

เพราะว่า สิกขาบทแรกนั้น เช่นเดียวกับอนุปัตติแห่งสิกขาบทที่สองนี้.

ในสิกขาบทก่อน ภิกษุเพียงทำความเบียดเบียนแก่คน ๆ เดียวเท่านั้น ใน

สิกขาบทที่ ๒ กระทำแก่คน ๒ คน. นี้เป็นความแปลกกันในสิกขาบทนี้.

คำที่เหลือทั้งหมดเช่นเดียวกับสิกขาบทก่อนทั้งนั้น. และผู้ศึกษาพึงทราบว่า

เป็นอาบัติ แม้แก่ภิกษุผู้กระทำความเบียดเบียนแก่คนมากคนถือเอา เหมือน

ทำแก่คน ๒ คน ถือเอาฉะนั้น.

พรรณนาทุติยอุปักขฏสิกขาบทที่ ๙ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 844

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑๐

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๗๐] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

มหาอำมาตย์ผู้อุปัฏฐากของท่านพระอุปนันทศากยบุตร ส่งทรัพย์สำหรับ

จ่ายจีวรไปกับทูต ถวายแก่ท่านพระอุปนันทศากยบุตรสั่งว่า เจ้าจงจ่าย

จีวรด้วยทรัพย์จ่ายจีวรนี้ แล้วให้ท่านพระอุปนันทะครองจีวร จึงทูตนั้น

เข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตร ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรว่า ท่านเจ้าข้า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้แล กระผมนำ

มาถวายเฉพาะพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงรับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร

เมื่อทูลนั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้ตอบ

คำนี้ กะทูตนั้นว่า พวกเรารับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไม่ได้ รับได้แต่จีวร

อันเป็นของควรโดยกาลเท่านั้น

เมื่อท่านตอบอย่างนั้นแล้ว ทูตนั้นได้ถามท่านว่า ก็ใคร ๆ ผู้เป็น

ไวยาจักรของท่านมีหรือ

ขณะนั้น อุบาสกผู้หนึ่งได้เดินทางไปสู่อารามด้วยกรณียะบางอย่าง

จึงท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้กล่าวคำนี้กะทูตนั้นว่า อุบาสกนั้นแล

เป็นไวยาจักรของภิกษุทั้งหลาย

จึงทูตนั้น สั่งอุบาสกนั้นให้เข้าใจแล้ว กลับเข้าไปหาท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรแจ้งว่า ท่านเจ้าข้า อุบาสกที่พระคุณเจ้าแสดงเป็น

ไวยาวัจกรนั้น กระผมสั่งให้เข้าใจแล้ว ขอพระคุณเจ้าจงเข้าไปหา เขา

จักให้ท่านครองจีวรตามกาล

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 845

ขณะนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรไม่ได้พูดอะไรกะอุบาสกนั้น

แม้ครั้งที่สองแล ท่านมหาอำมาตย์นั้น ก็ได้ส่งทูตไปในสำนักท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ขอพระคุณเจ้าจงใช้สอยจีวรนั้น ข้าพเจ้าต้อง

การจะให้พระคุณเจ้าใช้จีวรนั้น แม้ครั้งที่สอง ท่านพระอุปนันทศากยบุตร

ก็มิได้พูดอะไรกะอุบาสกนั้น

แม้ครั้งที่สามแล ท่านมหาอำมาตย์นั้น ก็ได้ส่งทูตไปในสำนักท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ขอพระคุณเจ้าจงใช้สอยจีวรนั้น ข้าพเจ้าต้อง

การจะให้พระคุณเจ้าใช้จีวรนั้น

ก็สมัยนั้น เป็นคราวประชุมของชาวนิคม และชาวนิคมได้ตั้งกติกา

กันไว้ว่า ผู้ใดมาภายหลัง ต้องถูกปรับ ๕๐ กหาปณะ

คราวนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเข้าไปหาอุบาสกนั้น ครั้น

แล้วได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ฉันต้องการจีวร

อุบายสกนั้นขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า โปรดรอสักวันหนึ่งก่อน วันนี้

เป็นสมัยประชุมของชาวนิคม และชาวนิคมได้ตั้งกติกาไว้ว่า ผู้ใดมาภาย

หลัง ต้องถูกปรับ ๕๐ กหาปณะ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้กล่าวคาดคั้นว่า ท่านจงให้จีวรแก่

ฉันในวันนี้แหละ แล้วยึดชาพกไว้

ครั้น อุบาสกนั้นถูกคาดคั้น จึงจ่ายจีวรถวายท่านพระอุปนันทศากย-

บุตร แล้วจึงได้ไปภายหลัง คนทั้งหลายพากันถามอุบาสกนั้นว่า เหตุไร

ท่านจึงได้มาภายหลัง ท่านต้องเสียเงิน ๔๐ กหาปณะ จึงอุบาสกนั้นได้

เล่าเรื่องนั้นให้คนเหล่านั้นฟัง คนทั้งหลายพากัน เพ่งโทษ ติเตียน

โพนทะเนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นคนมักมาก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 846

ไม่สันโดษ จะทำการช่วยเหลือคนเหล่านี้บ้าง ก็ทำไม่ได้ง่าย ไฉนพระ-

อุปนันทศากยบุตร เมื่ออุบาสกขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กรุณารอสักวันหนึ่ง

ก่อน ก็รอไม่ได้

ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตร เมื่ออุบาสกขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กรุณารอสักวันหนึ่งก่อน ก็

รอไม่ได้ แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็น

เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธออันอุบาสกขอผัดว่า ท่าน

เจ้าข้า กรุณารอสักวันหนึ่งก่อน ก็รอไม่ได้ ดังนี้ จริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโฆษบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่

ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอเมื่ออุบาสกขอผัดว่า กรุณารอสักวันหนึ่ง จึง

ไม่รอเล่า การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของ

ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 847

โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่นเป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุม-

ชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อม-

ใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตรโดยอเนก

ปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคน

บำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุก-

คลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็น

คนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนก

ปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่อความอยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกัน

อาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดใน

อนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระ-

สัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนั้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 848

พระบัญญัติ

๒๙. ๑๐. อนึ่ง พระราชาก็ดี ราชอำมาตย์ก็ดี พราหมณ์ก็ดี

คหบดีก็ดี ส่งทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไปด้วยทูตเฉพาะภิกษุว่า เจ้าจงจ่าย

จีวรด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้แล้วยังภิกษุชื่อนี้ให้ครองจีวร ถ้าทูตนั้น

เข้าไปหาภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้นำมาเฉพาะ

ท่าน ขอท่านจงรับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร ภิกษุนั้นพึงกล่าวต่อทูตนั้น

อย่างนี้ว่า พวกเราหาได้รับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไม่ พวกเรารับแต่

จีวรอันเป็นของควรโดยกาล ถ้าทูตนั้นกล่าวต่อภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า ก็

ใคร ๆ ผู้เป็นไวยาวัจกรของท่านมีหรือ ภิกษุผู้ต้องการจีวรพึงแสดง

ชนผู้ทำการในอารามหรืออุบาสกให้เป็นไวยาจักร ด้วยคำว่า คนนั้น

แลเป็นไวยาวัจกรของภิกษุทั้งหลาย ถ้าทูตนั้นสั่งไวยาวัจกรนั้นให้เข้า

ใจแล้ว เข้าไปหาภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า คนที่ท่านแสดงเป็นไวยา-

วัจกรนั้น ข้าพเจ้าสั่งให้เข้าใจแล้ว ท่านจงเข้าไปหา เขาจักให้ท่าน

ครองจีวรตามกาล ภิกษุผู้ต้องการจีวรเข้าไปหาไวยาวัจกรแล้ว พึงทวง

พึงเตือนสองสามครั้งว่า รูปต้องการจีวร ภิกษุทวงอยู่ เตือนอยู่ สอง

สามครั้ง ยังไวยาจักรนั้น ให้จัดจีวรสำเร็จได้ การให้สำเร็จได้ด้วย

อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าให้สำเร็จไม่ได้ พึงยืนต่อหน้า ๔ ครั้ง

๕ ครั้ง ๖ ครั้ง เป็นอย่างมาก เธอยืนนิ่งต่อหน้า ๔ ครั้ง ๕ ครั้ง ๖ ครั้ง

เป็นอย่างมาก ยังไวยาวัจกรนั้นให้จัดจีวรสำเร็จได้ การให้สำเร็จได้

ด้วยอย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าให้สำเร็จไม่ได้ ถ้าเธอพยายามให้ยิ่ง

กว่านั้น ยังจีวรนั้นให้สำเร็จ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ถ้าให้สำเร็จไม่ได้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 849

พึงไปเองทรัพย์ก็ได้ ส่งทูตไปก็ได้ ในสำนักที่ส่งทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร

มาเพื่อเธอ บอกว่า ท่านส่งทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไปเฉพาะภิกษุใด

ทรัพย์นั้นหาสำเร็จประโยชน์น้อยหนึ่งแก่ภิกษุนั้นไม่ ท่านจงทวงเอา

ทรัพย์ของท่านคืน ทรัพย์ของท่านอย่างได้ฉิบหายเสียหาย นี้เป็น

สามีจิกรรมในเรื่องนั้น.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๗๑] บทว่า อนึ่ง...เฉพาะภิกษุ ความว่า เพื่อประโยชน์ของ

ภิกษุ คือทำภิกษุให้เป็นอารมณ์ใคร่จะให้ภิกษุครอง

ที่ชื่อว่า พระราชา ได้แก่ ผู้ทรงราชย์

ที่ชื่อว่า ราชอำมาตย์ ได้แก่ ข้าราชการผู้ได้รับความชุบเลี้ยง

ของพระราชา

ที่ชื่อว่า พราหมณ์ ได้แก่ พราหมณ์ โดยกำเนิด

ที่ชื่อว่า คหบดี ได้แก่ เจ้าเรือน ยกพระราชา ราชอำมาตย์

พราหมณ์ นอกนั้นชื่อว่าคหบดี

ที่ชื่อว่า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร ได้แก่ เงิน ทอง แก้วมณี แก้ว

มุกดา แก้วลาย หรือแก้วผลึก.

บทว่า ด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนี้ คือ ด้วยทรัพย์ที่เขาจัดหาไว้

เฉพาะ.

บทว่า จ่าย คือ แลกเปลี่ยน.

บทว่า ให้ครอง คือ จงถวาย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 850

ถ้าทูตนั้นเข้าไปหาภิกษุนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ทรัพย์สำหรับจ่าย

จีวรนี้ นำมาเฉพาะท่าน ขอท่านจงรับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวร ภิกษุนั้น

พึงกล่าวต่อทูตนั้นอย่างนี้ว่า พวกเราหาได้รับทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไม่

พวกเรารับแต่จีวรอันเป็นของควรโดยกาล ถ้าทูตนั้นกล่าวต่อภิกษุนั้น

อย่างนี้ว่า ก็ใคร ๆ ผู้เป็นไวยาจักรของท่านมีหรือ ภิกษุผู้ต้องการจีวร

พึงแสดงชนผู้ทำการในอาราม หรืออุบายสกให้เป็นไวยาจักรด้วยคำว่า

คนนั้นแลเป็นไวยาจักรของภิกษุทั้งหลาย ไม่ควรกล่าวว่า จงให้แก่คุณ

นั้น หรือว่านั้นจักเก็บไว้ หรือว่าคนนั้นจักแลก หรือว่าคนนั้น

จักจ่าย ถ้าทูตนั้นสั่งไวยาจักรนั้นให้เข้าใจแล้ว เข้าไปหาภิกษุนั้น

กล่าวอย่างนี้ว่า คนที่ท่านแสดงเป็นไวยาจักรนั้น ข้าพเจ้าสั่งให้เข้าใจ

แล้ว ท่านจงเข้าไปหา เขาจักให้ท่านครองจีวรตามกาล ภิกษุผู้ต้อง

การจีวรเข้าไปหาไวยาจักรแล้วพึงทวง พึงเตือนสองสามครั้งว่า รูป

ต้องการจีวร อย่าพูดว่า จงให้จีวรแก่รูป จงนำจีวรมาให้รูป จงแลก

จีวรให้รูป จงจ่ายจีวรให้รูป พึงพูดได้แม้ครั้งที่สอง พึงพูดได้แม้

ครั้งที่สาม ถ้าให้จัดสำเร็จได้ การให้สำเร็จได้ด้วยอย่างนี้ นั่นเป็น

การดี ถ้าให้จัดสำเร็จไม่ได้ พึงไปยืนนิ่งต่อหน้าในที่ใกล้ไวยาจักร

นั้น ไม่พึงนั่งบนอาสนะ ไม่พึงรับอามิส ไม่พึงกล่าวธรรม เมื่อเขา

ถามว่า มาธุระอะไร พึงกล่าวว่า รู้เอาเองเถิด ถ้านั่งบนอาสนะก็ดี

รับอามิสก็ดี กล่าวธรรมก็ดี ชื่อว่าหักการยืนเสีย พึงยืนได้ครั้งที่สอง

พึงยืนได้แม้ครั้งที่สาม ทั้ง ๔ ครั้งแล้ว พึงยืนได้ ๔ ครั้ง ทวง ๕ ครั้ง

แล้ว พึงยืนได้ ๒ ครั้ง ทวง ๖ ครั้งแล้ว จะพึงยืนไม่ได้ ถ้าเธอ

พยายามให้ยิ่งกว่านั้นยังจีวรนั้นให้สำเร็จ เป็นทุกกฏในประโยคที่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 851

พยายาม เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ

หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้สำเร็จด้วยทวงเกิน ๓ ครั้ง

ด้วยยืนเกิน ๖ ครั้ง เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึง

ที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้าให้สำเร็จด้วยทวงเกิน ๓ ครั้ง

ด้วยยืนเกิน ๖ ครั้ง เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ทั้งหลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 852

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ ของข้าพเจ้า ให้สำเร็จด้วยทวงเกิน ๓ ครั้ง

ด้วยยืนเกิน ๖ ครั้ง เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ดังนี้.

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละแล้วให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้

ในประโยคว่า ถ้าให้สำเร็จไม่ได้ พึงไปเองก็ได้ ส่งทูตไปก็ได้

ในสำนักที่ส่งทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรมาเพื่อเธอ บอกว่า ท่านส่งทรัพย์

สำหรับจ่ายจีวรไปเฉพาะภิกษุใด ทรัพย์นั้นหาสำเร็จประโยชน์น้อย

หนึ่งแก่ภิกษุนั้นไม่ ท่านจงทวงเอาทรัพย์ของท่านคืน ทรัพย์ของท่าน

อย่าได้ฉิบหายเสียเลย นี้เป็นสามีจิกรรมในเรื่องนั้น ดังนี้ ความว่า

นี้เป็นความถูกยิ่งในเรื่องนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 853

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๗๒] ทวงเกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน ๖ ครั้ง ภิกษุสำคัญว่าเกิน ยัง

จีวรนั้นให้สำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทวงเกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน ๖ ครั้ง ภิกษุสงสัย ยังจีวรนั้นให้สำเร็จ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทวงเกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน ๖ ครั้ง ภิกษุสำคัญว่าไม่ถึง ยังจีวรนั้น

ให้สำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ทวงไม่ถึง ๓ ครั้ง ยืนไม่ถึง ๖ ครั้ง ภิกษุสำคัญว่าเกิน ยังจีวรนั้น

ให้สำเร็จ ต้องอาบัติทุกกฏ

ทวงไม่ถึง ๓ ครั้ง ยืนไม่ถึง ๖ ครั้ง ภิกษุสงสัย ยังจีวรนั้นให้สำเร็จ

ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ทวงไม่ถึง ๓ ครั้ง ยืนไม่ถึง ๖ ครั้ง ภิกษุสำคัญว่าไม่ถึง ยังจีวร

นั้นให้สำเร็จ ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๗๓] ภิกษุทวง ๓ ครั้ง ยืน ๖ ครั้ง ภิกษุทวงไม่ถึง ๓ ครั้ง

ยืนไม่ถึง ๖ ครั้ง ๑ ภิกษุไม่ได้ทวง ไวยาจักรถวายเอง ๑ เจ้าของทวง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 854

เอามาถวาย ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑๐ จบ

นิสสัคคีย์ปาจิตตีย์ วรรคที่ ๑ จบ

หัวข้อประจำเรื่อง

๑. ทสาหปรมสิกขาบท ว่าด้วยการทรงอติเรกจีวรไว้ได้ ๑๐ วัน

เป็นอย่างยิ่ง

๒. เอกรัตติสิกขาบท ว่าด้วยการอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้ราตรี

หนึ่ง

๓. มาสปรมสิกขาบท ว่าด้วยการเก็บจีวรไว้ได้เดือนหนึ่งเป็น

อย่างยิ่ง

๔. ปุราณจีวรโธวาปนสิกขาบท ว่าด้วยการให้ภิกษุณีซักจีวรเก่า

๕. จีวรปฏิคคหณสิกขาบท ว่าด้วยการรับจีวรจากมือภิกษุณี

๖. อัญญาตกวิญญัตติสิกขาบท ว่าด้วยการขอจีวรต่อเจ้าเรือน

ผู้มิใช่ญาติ

๗. ตทุตตริสิกขาบท ว่าด้วยการขอจีวรเกินกำหนด

๘. อุททิสสิกขาบท ว่าด้วยมูลค่าจีวรของเจ้าทรัพย์รายเดียว

๙. อุภินนอุททิสสิกขาบท ว่าด้วยมูลค่าจีวรของเจ้าทรัพย์สองราย

๑๐. ทูตสิกขาบท ว่าด้วยมูลค่าจีวรที่เจ้าทรัพย์ส่งมาถวาย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 855

จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๑๐

พรรณนาราชสิกขาบท

ราชสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในราชสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

[แก้อรรถมูลเหตุปฐมบัญญัติ]

สองบทว่า อุปาสก สญฺาเปตฺวา ได้แก่ ให้อุบาสกเข้าใจแล้ว.

อธิบายว่า กล่าวแล้วอย่างนี้ว่า ท่านจงซื้อจีวรด้วยมูลค่านี้แล้ว ถวาย

พระเถระ.

บทว่า ปญฺาสพนฺโธ มีคำอธิบายว่า ถูกปรับ ๕๐ กหาปณะ.

ปาฐะว่า ปญฺาสมฺพนฺโธ ก็มี.

หลายบทว่า อชฺชุณฺโห ภนฺเต อาคเมหิ มีความว่า ท่านขอรับ !

วันนี้ โปรดหยุด คือ ยับยั้ง ให้กระผมสักวันหนึ่ง.

บทว่า ปรามสิ แปลว่า ได้ยืดไว้.

บทว่า ชิโนสิ มีความว่า ท่านถูกพวกเราชนะ คือ ชนะท่าน

๕๐ กหาปณะ อธิบายว่า ท่านจะต้องเสียให้ ๕๐ กหาปณะ.

บทว่า ราชโภคโค มีวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าราชอำมาตย์ เพราะมี

เบี้ยเลี้ยงจะพึงบริโภค หรือพึงใช้สอย จากพระราชา. ปาฐะว่า ราชโภโค

ก็มี. ความว่า ผู้มีโภคะ (ความเป็นใหญ่) จากพระราชา.

บทว่า ปหิเณยฺย แปลว่า พึงส่งไป. แต่เพราะมีอรรถตื้น

พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงมิได้ตรัสบทภาชนะแห่งบทว่า ปหิเณยฺย นั้นไว้.

ก็บทว่า ปหิเณยฺย นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสบทภาชนะไว้ฉันใด,

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 856

แม้บทว่า จีวร อิตฺถนฺนาม ภิกฺขุ เป็นต้น ก็ฉันนั้น บัณฑิตพึงทราบว่า

ไม่ได้ตรัสบทภาชนะไว้ เพราะมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

บทว่า อาภฏ แปลว่า นำมาแล้ว .

สองบทว่า กาเลน กปฺปิย คือ โดยกาลอันถึงความสมควร.

ความว่า พวกเราจะรับจีวรที่ควรในเวลาพวกเรามีความต้องการ.

บทว่า เวยฺยาวจฺจกโร ได้แก่ ผู้ทำกิจ, ความว่า กัปปิยการก

(ผู้ทำของให้สมควร).

ข้อว่า สญฺตฺโต โส มยา มีความว่า คนที่ท่านแสดงเป็น

ไวยาจักรนั้น ข้าพเจ้าสั่งให้เข้าใจแล้ว คือ สั่งโดยประการที่เมื่อท่านมี

ความต้องการด้วยจีวรเขาจะถวายจีวรแก่ท่าน.

คำว่า อตฺโถ เม อาวุโส จีวเรน นี้ เป็นคำแสดงลักษณะแห่ง

การทวง (ด้วยวาจา). จริงอยู่ คำสำนวนนี้ ควรกล่าว, อีกอย่างหนึ่ง

อรรถแห่งคำว่า อาวุโส ! รูปมีความต้องการด้วยจีวรนั้น ควรกล่าวด้วย

ภาษาหนึ่ง. ลักษณะนี้ ชื่อว่าลักษณะแห่งการทวง. ส่วนคำว่า จงให้

จีวรแก่รูป เป็นต้น ตรัสไว้เพื่อแสดงอาการที่ไม่ควรกล่าว. จริงอยู่

คำเหล่านี้ หรือเนื้อความของคำเหล่านี้ไม่ควรกล่าวด้วยภาษาใดภาษาหนึ่ง.

ข้อว่า ทุติยปิ วตฺตพฺโพ ตติยปิ วตฺตพฺโพ มีความว่า ไวยาวัจกร

นั้น อันภิกษุพึงกล่าวคำนี้แลถึง ๓ ครั้งว่า อาวุโส ! รูปมีความต้อง

การจีวร.

พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงกำหนดการทวง ที่ยกขึ้นแสดง

ในคำว่า พึงทวงพึงเตือนสองสามครั้ง อย่างนี้แล้ว บัดนี้เมื่อจะทรง

แสดงใจความโดยสังเขปแห่งบทเหล่านี้ว่า ทฺวิตฺติกฺขตฺตุ โจทยมาโน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 857

สารยมาโน ต จีวร อภินิปฺผาเทยฺย อิจฺเจต กุสล จึงตรัสว่า ถ้าภิกษุ

สั่งไวยาวัจกรนั้นให้จัดสำเร็จ การให้จัดสำเร็จได้อย่างนี้นั้น เป็นการดี.

เมื่อทวงถึง ๓ ครั้ง อย่างนั้น ถ้าจัดจีวรนั้นให้สำเร็จได้ คือ ย่อมอาจเพื่อ

ให้สำเร็จ ด้วยอำนาจ (ทำ) ให้ตนได้มา. การจัดการให้สำเร็จได้อย่างนี้

นั่นเป็นการดี คือ ให้สำเร็จประโยชน์ ดี งาม.

คำว่า จตุกฺขตฺตุ ปญฺจกขตตุ ฉกฺขตฺตุปรม ตุณฺหีภูเตน อุทฺทิสฺส

าตพฺพ นี้ เป็นการแสดงลักษณะแห่งการยืน. ก็คำว่า ฉกฺขตฺตุปรม นี้

บอกภาวนปุงสกลิงค์. จริงอยู่ ภิกษุนี้ พึงยืนนิ่งเฉพาะจีวร ๖ ครั้งเป็น

อย่างมาก. ไม่พึงกระทำกิจอะไร ๆ อื่น. นี้เป็นลักษณะแห่งการยืน.

เพื่อจะทรงแสดงความเป็นผู้นิ่ง (ที่ตรัส) ไว้ในบทว่า ตุณฺหีภูเตน นั้น

ซึ่งเป็นสาธารณะแก่การยืนทุก ๆ ครั้งก่อน พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า

ตตฺถ คนฺตฺวา ตุณฺหีภูเตน เป็นต้น ในบทภาชนะ.

[อธิบายการทวงการยืน]

บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า น อาสเน นิสีทิตพฺพ มีความว่า

ภิกษุแม้อันไวยาจักรกล่าวว่า โปรดนั่งที่นี้เถิด ขอรับ ! ก็ไม่ควรนั่ง.

สองบทว่า น อามิส ปฏิคฺคเหตพฺพ ความว่า แม้อันเขา

อ้อนวอนอยู่ว่า โปรดรับอามิสต่างโดยยาคูและของเคี้ยวเป็นต้น สักเล็ก

น้อย ขอรับ ! ก็ไม่ควรรับ.

สองบทว่า น ธมฺโม ภาสิตพฺโพ มีความว่า แม้ถูกเขาอ้อนวอน

อยู่ว่า โปรดกล่าวมงคล หรืออนุโมทนาเถิด ก็ไม่ควรกล่าวอะไรเลย

เมื่อถูกเขาถามอย่างเดียวว่า ท่านมาเพราะเหตุอะไร ? พึงบอบเขาว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 858

จงรู้เอาเองเถิด ผู้มีอายุ ! จริงอยู่ คำว่า ปุจฺฉิยมาโน นี้ เป็นปฐมา-

วิภัตติลงในอรรถแห่งตติยาวิภัตติ. อีกอย่างหนึ่ง ผู้ศึกษาพึงเห็นใจความใน

บทว่า ปุจฉิยมาโน นี้ แม้อย่างนี้ว่า ถูกเขาตั้งปัญหาถาม. จริงอยู่

บุคคลใด ย่อมตั้งปัญหาถาม, ภิกษุควรตอบบุคคลนั้นเท่านี้แล.

สองบทว่า าน ภญฺชติ คือ ย่อมหักซึ่งเหตุแห่งการมา.

บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อทรงแสดงการเพิ่ม และการลดใน

การทวง ๓ ครั้ง และการยืน ๖ ครั้ง ที่พระองค์ตรัสไว้แล้ว จึงตรัสคำ

เป็นต้นว่า จตุกฺขตฺตุ โจเทตฺวา เป็นต้น. อนึ่ง ในพระบาลีนี้ตรัสให้ลด

การยืน ๒ ครั้ง โดยเพิ่มการทวงครั้งหนึ่ง; เพราะฉะนั้น จึงเป็นอันทรง

แสดงลักษณะว่า การทวงหนึ่งครั้งเท่ากับการยืนสองครั้ง. มีคำอธิบายว่า

โดยลักษณะดังกล่าวมานี้ ภิกษุทวง ๓ ครั้ง พึงยืนได้ ๖ ครั้ง, ทวง

๒ ครั้ง พึงยืนได้ ๘ ครั้ง, ทวงครั้งเดียว พึงยืนได้ ๑๐ ครั้ง, เหมือน

อย่างที่ท่านกล่าวไว้ว่า ทวง ๖ ครั้งแล้ว ไม่พึงยืน ฉันใด ยืน ๑๒ ครั้ง

แล้ว ก็ไม่พึงทวง ฉันนั้น ดังนี้ก็มีเหมือนกัน.

เพราะฉะนั้น บัณฑิต พึงทราบวินิจฉัยในการทวง และการยืน

ทั้งสองนั่นอย่างนี้ว่า ถ้าภิกษุทวงอย่างเดียว ไม่ยืน ย่อมได้การทวง ๖ ครั้ง.

ถ้ายืนอย่างเดียว ไม่ทวง ย่อมได้การยืน ๑๒ ครั้ง. ถ้าทวงบ้าง ยืนบ้าง

พึงลดการยืน ๒ ครั้ง ต่อการทวงครั้ง ๑, บรรดาการทวงและการยืนนั้น

ภิกษุใด ไปทวงบ่อย ๆ วันเดียวเท่านั้นถึง ๖ ครั้ง, หรือว่าไปเพียงครั้ง

เดียว แต่พูด ๖ ครั้งว่า ผู้มีอายุ รูปต้องการจีวร, อนึ่ง ไปยืนบ่อย ๆ

วันเดียวเท่านั้นถึง ๑๒ ครั้ง, หรือว่าไปเพียงครั้งเดียว แต่ยืนในที่นั้น ๆ

๑๒ ครั้ง, ภิกษุแม้นั้นย่อมหักการทวงทั้งหมด และการยืนทั้งหมด ก็จะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 859

ป่วยกล่าวไปไย ในเรื่องหักการทวงและการยืน ของภิกษุผู้กระทำอย่างนี้

ในต่างวันกันเล่า ?

ข้อว่า ยตสฺส จีวรเจตาปน อาภฏ มีความว่า ทรัพย์สำหรับ

จ่ายจีวร ที่เขานำมาเพื่อภิกษุนั้น จากพระราชา หรือจากราชอำมาตย์ใด.

ปาฐะว่า ยตฺราสฺส ก็มี เนื้อความอย่างนี้เหมือนกัน. อาจารย์บางพวก

สวดว่า ยตฺถสฺส ก็มี และกล่าวอรรถว่า ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรอันเขา

ส่งมาเพื่อภิกษุนั้นในที่โด. แต่ว่า พยัญชนะไม่สมกัน.

บทว่า ตตฺถ มีความว่า ในสำนักแห่งพระราชา หรือว่าราชอำมาตย์

นั้น. จริงอยู่ คำว่า ตตฺถ นี้ เป็นสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถว่าใกล้.

ข้อว่า น ต ตสฺส ภิกฺขุโน กิญฺจ อตฺถ อนุโภติ มีความว่า

ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรนั้น ไม่ให้สำเร็จกรรมน้อยหนึ่ง คือ แม้มีประมาณ

เล็กน้อย แก่ภิกษุนั้น.

ข้อว่า ยุญฺชนฺตายสฺมนฺโต สก มีความว่า ท่านทั้งหลายจงทวง

เอาทรัพย์ของตน คือ จงตามเอาทรัพย์นั่นคืนไปเสีย.

ข้อว่า มา โว สก วินสฺส มีความว่า ทรัพย์ส่วนตัวของท่าน

จงอย่าสูญหายไปเลย, อนึ่ง ภิกษุใด ย่อมไม่ไปเอง ทั้งไม่ส่งทูตไป

ภิกษุนั้น ย่อมต้องทุกกฏ เพราะละเลยวัตร.

[ว่าด้วยกัปปิยการกและไวยาวัจกร]

ถามว่า ก็ในกัปปิยการกทั้งปวง จะพึงปฏิบัติอย่างนี้หรือ ?

แก้ว่า ไม่ต้องปฏิบัติ (อย่างนี้เสมอไป).

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 860

แท้จริง ชื่อว่า กัปปิยการกนี้ โดยสังเขปมี ๒ อย่าง คือ ผู้ที่ถูก

แสดง ๑ ผู้ที่มิได้ถูกแสดง ๑, ใน ๒ พวกนั้น กัปปิยการกผู้ที่ถูกแสดง

มี ๒ คือ ผู้ที่ภิกษุแสดงอย่างหนึ่ง ผู้ที่ทูตแสดงอย่างหนึ่ง. แม้กัปปิยการกที่

ไม่ถูกแสดงก็มี ๒ อย่าง คือ กัปปิยการกผู้ออกปากเป็นเองต่อหน้า ๑

กัปปิการกลับหลัง ๑. บรรดากัปปิยการก ที่ภิกษุแสดงเป็นต้นนั้น

กัปปิยการกที่ภิกษุแสดง มี ๔ อย่าง ด้วยอำนาจต่อหน้าและลับหลัง.

กัปปิยการกที่ทูตแสดงก็เช่นเดียวกันแล.

อย่างไร ? คือบุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมส่งอกัปปิยวัตถุไปด้วย

ทูต เพื่อประโยชน์แก่จีวรสำหรับภิกษุ. ทูตเข้าไปหาภิกษุรูปนั้น กล่าวว่า

ท่านขอรับ ! ท่านผู้มีชื่ออย่างนี้ ส่งอกัปปิยวัตถุนี้มาเพื่อประโยชน์แก่จีวร

สำหรับท่าน, ขอท่านจงรับอกัปปิยวัตถุนั้น. ภิกษุห้ามว่า อกัปปิยวัตถุนี้

ไม่สมควร. ทูตถามว่า ท่านขอรับ ! ก็ไวยาวัจกรของท่านมีอยู่หรือ ? และ

ไวยาวัจกรทั้งหลายที่พวกอุบาสก ผู้ต้องการบุญสั่งไว้ว่า พวกท่านจงทำ

การรับใช้แก่ภิกษุทั้งหลาย หรือไวยาวัจกรบางพวกเป็นเพื่อนเคยเห็น

เคยคบกันมา ของภิกษุทั้งหลายมีอยู่. บรรดาไวยาวัจกรเหล่านั้น คนใด

คนหนึ่ง นั่งอยู่ในสำนักของภิกษุ ในขณะนั้น. ภิกษุแสดงเขาว่า ผู้นี้

เป็นไวยาวัจกรของภิกษุทั้งหลาย ดังนี้. ทูตมอบอกัปปิยวัตถุไว้ในมือของ

ไวยาวัจกรนั้น สั่งว่า ท่านจงซื้อจีวรถวายพระเถระ ดังนี้ แล้วไป. นี้

ชื่อว่าไวยาวัจกรที่ภิกษุแสดงต่อหน้า.

ถ้าไวยาวัจกร มิได้นั่งอยู่ในสำนักของภิกษุ, อนึ่งแล ภิกษุย่อม

แสดงขึ้นว่า คนชื่อนี้ ในบ้านชื่อโน้น เป็นไวยาวัจกรของภิกษุทั้งหลาย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 861

ทูตนั้นไปมอบอกัปปิยวัตถุไว้ในมือของไวยาวัจกรนั้นสั่งว่า ท่านพึงซื้อ

จีวรถวายพระเถระ มาบอกแก่ภิกษุแล้วจึงไป. ไวยาวัจกรนี้ ชื่อว่า

ผู้อันภิกษุแสดงไม่พร้อมหน้า อย่างหนึ่ง.

ก็แล ทูตนั้นมิได้มาบอกด้วยตนเองเลย แต่กลับวานผู้อื่นไปบอกว่า

ท่านขอรับ ! ทรัพย์สำหรับจ่ายค่าจีวร ผมได้มอบไว้ในมือผู้นั้น, ขอท่าน

พึงรับเอาจีวรเถิด. ไวยาวัจกรนี้ ชื่อว่าผู้อันภิกษุแสดงไม่พร้อมหน้า

อย่างที่สอง.

ทูตนั้น มิได้วานคนอื่นไปเลย, แต่ไปบอกภิกษุเสียเองแลว่า ผม

จักมอบทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไว้ในมือแห่งผู้นั้น, ขอท่านพึงรับเอาจีวรเถิด.

ผู้นี้ชื่อว่า ไวยาวัจกรที่ภิกษุแสดงไม่พร้อมหน้า อย่างที่สาม. ด้วยประการ

ดังกล่าวมานี้ ไวยาวัจกร ๔ จำพวกเหล่านี้ คือ ผู้ที่ภิกษุแสดงต่อหน้า

จำพวกหนึ่ง ผู้ที่ภิกษุแสดงไม่พร้อมหน้า ๓ จำพวก ชื่อว่าไวยาวัจกรที่

ภิกษุแสดง. ในไวยาวัจกร ๔ จำพวกนี้ ภิกษุพึงปฏิบัติ โดยนัยที่

พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ในราชสิกขาบทนี้แล.

ภิกษุอีกรูปหนึ่งถูกทูตถามแล้ว โดยนัยก่อนนั่นแล เพราะไวยาวัจกร

ไม่มี หรือเพราะไม่อยากจะจัดการ จึงกล่าวว่า พวกเรา ไม่มีกัปปิยการก

และในขณะนั้นมีคนบางคนผ่านมา, ทูตจึงมอบอกัปปิยวัตถุไว้ในมือของ

เขา แล้วกล่าวว่า ท่านพึงรับเอาจีวรจากมือของผู้นี้เถิด แล้วไปเสีย,

ไวยาวัจกรนี้ ชื่อว่าผู้อันทูตแสดงต่อหน้า.

ยังมีทูตอื่นอีกเข้าไปยังบ้านแล้ว มอบอกัปปิยวัตถุไว้ในมือของผู้ใด

ผู้หนึ่ง ที่ชอบพอกับตน แล้วมาบอก หรือวานผู้อื่นไปบอกโดยนัยก่อน

นั่นแล หรือกล่าวว่า ผมจักให้ทรัพย์สำหรับจ่ายจีวรไว้ในมือของคนชื่อ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 862

โน้น, ท่านพึงรับเอาจีวรเถิด ดังนี้ แล้วไปเสีย. ไวยาวัจกรที่ ๓ นี้ชื่อว่า

ผู้ที่ทูตแสดงไม่พร้อมหน้า ด้วยประการดังกล่าวมานี้ ไวยาจักร ๔ จำพวก

เหล่านี้ คือไวยาวัจกรที่ทูตแสดงต่อหน้าจำพวกหนึ่ง ไวยาวัจกรที่ทูตแสดง

ไม่พร้อมหน้า ๓ จำพวก ชื่อว่าไวยาวัจกรที่ทูตแสดง. ในไวยาจักร ๔

จำพวกเหล่านี้ ภิกษุพึงปฏิบัติ โดยนัยดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน

เมณฑกสิกขาบทนั่นแล.

สมจริงดังคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ภิกษุทั้งหลาย มีอยู่

พวกมนุษย์ที่มีศรัทธาเลื่อมใส, มนุษย์เหล่านั้น ย่อมมอบหมายเงิน และ

ทองไว้ในมือแห่งกัปปิยการกทั้งหลายสั่งว่า พวกท่านจงจัดของที่ควร

ถวายแก่พระผู้เป็นเจ้า ด้วยเงินและทองนี้ ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาต

ให้ยินดี สิ่งของซึ่งเป็นกัปปิยะจากเงินและทองนั้น, ภิกษุทั้งหลาย ! แต่

เราหากล่าวไม่เลยว่า ภิกษุพึงยินดี พึงแสวงหาทองและเงิน โดยปริยาย

ไร ๆ.

ในอธิการแห่งไวยาวัจกร ๔ จำพวกที่ทูตแสดงนี้ ไม่มีกำหนดการ

ทวง. การที่ภิกษุผู้ไม่ยินดีมูลค่า ยินดีแต่กัปปิยภัณฑ์โดยการทวงหรือการ

ยืน แม้ตั้งพันครั้ง ก็ควร. ถ้าไวยาวัจกรนั้นไม่ให้, แม้จะพึงตั้งกัปปิย-

การกอื่น ให้นำมาก็ได้. ถ้ากัปปิยการกอื่นปรารถนาจะนำมา, ภิกษุพึง

บอกแม้แก่เจ้าของเดิม. ถ้าไม่ปรารถนา, ก็ไม่ต้องบอก.

ภิกษุอีกรูปหนึ่ง ถูกทูตถามโดยนัยก่อนเหมือนกัน กล่าวว่า พวก

เราไม่มีกัปปิยการก. คนอื่นจากทูตนั้น ยืนอยู่ใกล้ ๆ ได้ยินจึงกล่าวว่า

ผู้เจริญ ! โปรดนำมาเถิด, ผมจักจ่ายจีวรถวายพระคุณเจ้า ดังนี้. ทูตกล่าว

ว่า เชิญเถิด ท่านผู้เจริญ ! ท่านพึงถวาย แล้วมอบไว้ในมือของผู้นั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 863

ไม่บอกแก่ภิกษุเลย ไปเสีย. นี้ชื่อว่ากัปปิยการกผู้ออกปากเป็นเองต่อหน้า.

ทูตอีกคนหนึ่งมอบอกัปปิยวัตถุไว้ในมืออุปัฏฐากของภิกษุ หรือคน

อื่นสั่งว่า ท่านพึงถวายจีวรแก่พระเถระ แล้วหลีกไปจากที่นั่นทีเดียว. นี้

ชื่อว่า กัปปิยการกลับหลัง ; ฉะนั้น กัปปิยการกทั้งสองนี้จึงชื่อว่า กัปปิย-

การกที่ทูตไม่ได้แสดง. ในกัปปิยการกทั้ง ๒ นี้ พึงปฏิบัติเหมือนในอัญญา-

ตกสิกขาบท และอัปปวาริตสิกขาบทฉะนั้น. ถ้ากัปปิยการกที่ทูตมิได้

แสดงทั้งหลาย นำจีวรมาถวายเอง ภิกษุพึงรับ, ถ้าไม่ได้นำมาถวาย,

อย่าพึงพูดคำอะไร ๆ.

ก็คำว่า ทูเตน จีวรเจตาปน ปหิเณยฺย นี้ สักว่าเป็นเทศนาเท่านั้น.

ถึงในพวกกัปปิยการกแม้ผู้นำอกัปปิยวัตถุมาถวาย เพื่อประโยชน์แก่

บิณฑบาตเป็นต้นด้วยตนเอง ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ภิกษุจะรับเพื่อ

ประโยชน์แก่ตนเองอย่างเดียวเท่านั้น ไม่สมควร.

[วิธีปฏิบัติในเรื่องเงินและทองที่มีผู้ถวาย]

ถ้าใคร ๆ นำเอาทองและเงินมากล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายทองและเงิน

นี้แก่สงฆ์, ท่านทั้งหลายจงสร้างอาราม วิหาร เจดีย์ หรือหอฉันเป็นต้น

อย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม, จะรับทองและเงินแม้นี้ไม่ควร. ในมหาปัจจรี

ท่านกล่าวไว้ว่า ด้วยว่าเป็นทุกกฏแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งผู้รับเพื่อประโยชน์

แก่ผู้อื่น. ก็ถ้าเมื่อภิกษุปฎิเสธว่า ภิกษุทั้งหลายจะรับทองและเงินนี้ ไม่

สมควร. เขากล่าวว่า ทองและเงินจักอยู่ในมือของพวกช่างไม้ หรือพวก

กรรมกร, ท่านทั้งหลายจงรับทราบการงานที่เขาทำดี และไม่ดีอย่างเดียว

ดังนี้แล้ว มอบไว้ในมือพวกช่างไม้ หรือพวกกรรมกรเหล่านั้นจึงหลีกไป,

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 864

จะรับก็ควร, ถ้าแม้น เขากล่าวว่า ทองและเงินจักอยู่ในมือของพวกคน

ของผมเอง, หรือว่าจักอยู่ในมือของผมเอง, ท่านพึงส่งข่าวไปเพื่อ

ประโยชน์แก่บุคคลผู้ที่เราจะต้องให้ทองและเงินเขาอย่างเดียว, แม้อย่างนี้

ก็ควร.

ก็ถ้าว่าพวกเขาไม่ระบุสงฆ์ คณะ หรือบุคคล กล่าวว่า ข้าพเจ้า

ทั้งหลายถวายเงิน และทองนี้แก่เจดีย์, ถวายแก่วิหาร, ถวายเพื่อนวกรรม

ดังนี้ จะปฏิเสธไม่สมควร. พึงบอกแก่พวกกัปปิยการกว่า ชนพวกนี้กล่าว

คำนี้. แต่เมื่อเขากล่าวว่า ท่านทั้งหลายจงรับเก็บไว้เพื่อประโยชน์แก่เจดีย์

เป็นต้นเถิด พึงปฏิเสธว่า การที่พวกเรารับไว้ไม่สมควร.

แต่ถ้าคนบางคนนำเอาเงิน และทองมามากกล่าวว่า ข้าพเจ้าขอ

ถวายเงินและทองนี้แก่สงฆ์, ท่านทั้งหลายจงบริโภคปัจจัย ๔ เถิด, ถ้า

สงฆ์รับเงินและทองนั้น เป็นอาบัติทั้งเพราะรับ ทั้งเพราะบริโภค. ถ้า

บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุรูปหนึ่งปฏิเสธว่า สิ่งนี้ไม่ควร. และอุบาสก

กล่าวว่า ถ้าไม่ควรจักเป็นของผมเสียเอง ดังนี้แล้วไป, ภิกษุนั้นอันภิกษุ

บางรูปไม่พึงกล่าวคำอะไร ๆ ว่า เธอทำอันตรายลาภของสงฆ์, เพราะ

ภิกษุใดโจทเธอ, ภิกษุนั่นเองเป็นผู้มีอาบัติติดตัว. แต่เธอรูปเดียวกระทำ

ภิกษุเป็นอันมากไม่ให้เป็นอาบัติ. ก็ถ้าว่า เมื่อภิกษุทั้งหลายปฏิเสธว่า

ไม่ควร เขากล่าวว่า จักอยู่ในมือของพวกกัปปิยการก หรือจักอยู่ในมือ

ของพวกคนของผม หรือในมือของผม, ท่านทั้งหลาย จงบริโภคปัจจัย

อย่างเดียวเท่านั้น ดังนี้, สมควรอยู่.

อนึ่ง เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่จตุปัจจัย พึงน้อมไปเพื่อปัจจัย

ที่ต้องการ. เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่จีวร พึงน้อมไปในจีวรเท่านั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 865

ถ้าว่าไม่มีความต้องการจีวรนั้น, สงฆ์ลำบากด้วยปัจจัยมีบิณฑบาตเป็นต้น

พึงอปโลกน์เพื่อความเห็นดีแห่งสงฆ์แล้วน้อมไป แม้เพื่อประโยชน์แก่

บิณฑบาตเป็นต้น. แม้ในอกัปปิยวัตถุที่เขาถวาย เพื่อประโยชน์แก่

บิณฑบาตและคิลานปัจจัย ก็นัยนี้.

อนึ่ง อกัปปิยวัตถุที่เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ พึงน้อม

ไปในเสนาสนะเท่านั้น เพราะเสนาสนะเป็นครุภัณฑ์. ก็ถ้าว่า เมื่อพวก

ภิกษุละทิ้งเสนาสนะไป เสนาสนะจะเสียหาย, ในกาลเช่นนี้พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุทั้งหลาย แม้จำหน่ายเสนาสนะแล้วบริโภค

(ปัจจัย) ได้.

เพราะฉะนั้น เพื่อรักษาเสนาสนะไว้ ภิกษุอย่ากระทำให้ขาดมูลค่า

พึงบริโภคพอยังอัตภาพให้เป็นไป. และมิใช่แต่เงินทองอย่างเดียวเท่านั้น,

แม้อกัปปิยวัตถุอื่นมีนาและสวนเป็นต้น อันภิกษุไม่ควรรับ.

[วิธีปฏิบัติในบึงและสระน้ำเป็นต้นที่มีผู้ถวาย]

ถ้าใคร ๆ กล่าวว่า บึงใหญ่ให้สำเร็จข้าวกล้า ๓ ครั้ง ของข้าพเจ้า

มีอยู่, ข้าพเจ้าขอถวายบึงใหญ่นั้นแก่สงฆ์, ถ้าสงฆ์รับบึงใหญ่นั้น เป็น

อาบัติทั้งในการรับ ทั้งในการบริโภคเหมือนกัน. แต่ภิกษุใดปฏิเสธ

บึงใหญ่นั้น, ภิกษุนั้นอันภิกษุบางรูปไม่ควรว่ากล่าวอะไร ๆ โดยนัยก่อน

เหมือนกัน. เพราะว่าภิกษุใดโจทเธอ, ภิกษุนั่นเองมีอาบัติติดตัว. แต่

เธอรูปเดียวได้ทำให้ภิกษุมากรูปไม่ต้องอาบัติ.

อนึ่ง ผู้ใดแม้กล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายบึงใหญ่เช่นนั้นเหมือนกัน ถูก

พวกภิกษุปฏิเสธว่า ไม่ควร, ถ้ายังกล่าวว่า บึงโน้นและบึงโน้นของสงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 866

มีอยู่, บึงนั้นย่อมควรได้ อย่างไร ? พึงบอกเขาว่า เขาจักทำให้เป็น

กัปปิยะแล้วถวายกระมัง ? เขาถามว่า ถวายอย่างไร จึงจะเป็นกัปปิยะ ?

พึงกล่าวว่า เขากล่าวถวายว่า ท่านทั้งหลาย จงบริโภคปัจจัย ๔ เถิด

ดังนี้. ถ้าเขากล่าวว่า ดีละขอรับ ! ขอท่านทั้งหลายจงบริโภคปัจจัย ๔ เถิด

ดังนี้, ควรอยู่.

ถ้าแม้น เขากล่าวว่า ขอท่านทั้งหลายจงรับบังเถิด ถูกพวกภิกษุ

ทั้งหลายห้ามว่า ไม่ควร แล้วถามว่า กัปปิยการกมีอยู่หรือ ? เมื่อภิกษุตอบว่า

ไม่มี จึงกล่าวว่า คนชื่อโน้นจักจัดการบึงนี้, หรือว่า จักอยู่ในความ

ดูแลของคนโน้น หรือในความดูแลของข้าพเจ้า, ขอสงฆ์จงบริโภคกัปปิย-

ภัณฑ์เถิด ดังนี้, จะรับควรอยู่. ถ้าแม้นว่า ทายกนั้นถูกภิกษุปฏิเสธว่า

ไม่ควร แล้วกล่าวว่า คนทั้งหลายจักบริโภคน้ำ จักซักล้างสิ่งของ,

พวกเนื้อและนกจักดมกิน, แม้การกล่าวอย่างนี้ ก็สมควร.

ถ้าแม้นว่า ทายกถูกภิกษุปฏิเสธว่า ไม่ควร แล้วยังกล่าวว่า ขอท่าน

ทั้งหลายจงรับโดยมุ่งถึงของสมควรเป็นใหญ่เถิด, ภิกษุจะกล่าวว่า ดีละ

อุบาสก ! สงฆ์จักดื่มน้ำ จักซักล้างสิ่งของ พวกเนื้อและนกจักดื่มกิน

ดังนี้ แล้วบริโภค ควรอยู่. แม้หากว่า เมื่อทายกกล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายบึง

หรือสระโบกขรณีแก่สงฆ์ ภิกษุจะกล่าวคำเป็นต้นว่า ดีละ อุบาสก !

สงฆ์จักดื่มน้ำ แล้วบริโภคใช้สอย สมควรเหมือนกัน.

ก็ถ้า พวกภิกษุขอหัตถกรรม และขุดกัปปิยปฐพีด้วยมือของตนเอง

ให้สร้างสระน้ำเพื่อต้องการใช้น้ำ, ถ้าพวกชาวบ้านอาศัยสระนั้นทำข้าว

กล้าให้สำเร็จแล้วถวายกัปปิยภัณฑ์ในวิหาร ควรอยู่. ถ้าแม้นว่า พวกชาว

บ้านนั่นแหละ ขุดพื้นที่ของสงฆ์เพื่อต้องการอุปการะแก่สงฆ์ แล้วถวาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 867

กัปปิยภัณฑ์จากกล้าที่อาศัยสระน้ำนั้นสำเร็จแล้ว, กัปปิยภัณฑ์แม้นี้ ก็

สมควร. ก็เมื่อเขากล่าวว่า ท่านทั้งหลาย จงตั้งกัปปิยการกให้พวกผม

คนหนึ่ง แม้ภิกษุจะตั้งก็ได้.

อนึ่ง ถ้าพวกชาวบ้านนั้น ถูกราชพลีรบกวนพากันหนีไป, ชาว

บ้านอื่นจักทำอยู่, และไม่ถวายอะไร ๆ แก่ภิกษุทั้งหลาย, พวกภิกษุ

หวงห้ามน้ำก็ได้. ก็แลการหวงน้ำนั้น ย่อมได้ในฤดูทำนาเท่านั้น ไม่ใช่

ในฤดูข้าวกล้า (สำเร็จแล้ว). ถ้าพวกชาวบ้านกล่าวว่า ท่านขอรับ ! แม้

เมื่อก่อนพวกชาวบ้านได้อาศัยน้ำนี้ทำข้าวกล้ามิใช่หรือ ? เมื่อนั้นพึงบอก

พวกเขาว่า พวกนั้นเขาได้กระทำอุปการะอย่างนี้ และอย่างนี้แก่สงฆ์,

และได้ถวายแม้กัปปิยภัณฑ์ อย่างนั้น. ถ้าว่า พวกเขากล่าวว่า แม้พวก

ข้าพเจ้า ก็จักถวาย ดังนี้,. อย่างนี้ก็ควร.

ก็ถ้าว่า ภิกษุบางรูปไม่เข้าใจ รับสระหรือให้สร้างสระโดยอกัปปิย-

โวหาร, สระนั้นพวกภิกษุไม่ควรบริโภคใช้สอย. แม้กัปปิยภัณฑ์ที่อาศัย

สระนั้นได้มา ก็เป็นอกัปปิยะเหมือนกัน. ถ้าเจ้าของ (สระ) บุตรและ

ธิดาของเขา หรือใคร ๆ อื่นผู้เกิดในสกุลวงศ์ของเขา ทราบว่า ภิกษุ

ทั้งหลายสละแล้ว จึงถวายด้วยกัปปิยโวหารใหม่, สระนั้น ควร. เมื่อ

สกุลวงศ์ของเขาขาดสูญ ผู้ใดเป็นเจ้าของชนบทนั้น, ผู้นั้นริบเอาแล้ว

ถวายคืน เหมือนราชมเหสีนามว่า อนุฬา ทรงริบเอาฝายน้ำที่ภิกษุใน

จิตตลดาบรรพตชักมาแล้ว ถวายคืนฉะนั้น, แม้อย่างนี้ก็ควร.

จะทำการโกยดินขึ้น และกั้นคันสระใหม่ ในสระที่รับไว้ด้วยอำนาจ

แห่งน้ำ แม้เป็นกัปปิยโวหาร ย่อมควรแก่ภิกษุผู้มีจิตบริสุทธิ์. แต่การ

ที่ภิกษุเห็นพวกชาวบ้านอาศัยสระนั้น กระทำข้าวกล้าอยู่ จะตั้งกัปปิยการก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 868

ไม่ควร. ถ้าพวกเขาถวายกัปปิยภัณฑ์เสียเอง. ควรรับ, ถ้าพวกเขาไม่ถวาย,

ไม่ควรทวงไม่ควรเตือน. การที่จะตั้งกัปปิยการกในสระที่รับไว้ด้วยอำนาจ

แห่งปัจจัย ควรอยู่. แต่จะทำการโกยดินขึ้นและกั้นคันสระเป็นต้น ไม่

ควร, ถ้าพวกกัปปิยการก กระทำเองเท่านั้น, จึงควร. เมื่อลัชชีภิกษุ

ผู้ฉลาดใช้พวกกัปปิยการกทำการโกยดินขึ้นเป็นต้น สระน้ำจะเป็นกัปปิยะ

ในเพราะการรับ แม้ก็จริง, ถึงอย่างนั้นก็เป็นการบริโภคไม่ดี ดุจ

บิณฑบาตที่เจือยาพิษ และดุจโภชนะที่เจืออกัปปิยมังสะฉะนั้น เพราะ

กัปปิยภัณฑ์ที่เจือด้วยสิ่งของอันเกิดจากประโยคของภิกษุเป็นปัจจัย เป็น

อกัปปิยะแก่พวกภิกษุทั่วไปเหมือนกัน .

แต่ถ้ายังมีโอกาสเพื่อน้ำ ภิกษุจะจัดการเฉพาะน้ำเท่านั้นอย่างนี้ว่า

ท่านจงทำโดยประการที่คันของสระจะมั่นคง จุน้ำได้มาก คือ จงทำให้

น้ำเอ่อขึ้นปริ่มฝั่ง ดังนี้ ควรอยู่.

[วิธีปฏิบัติในพืชผลที่ได้เพราะอาศัยสระน้ำของวัดเป็นต้น]

ชนทั้งหลายกำลังดับไฟที่เตาไฟ จะกล่าวว่า พวกท่านจงได้อุทก-

กรรมก่อนเถิด อุบาสก ดังนี้ ก็ควร. แต่จะกล่าวว่า ท่านจงกระทำข้าวกล้า

แล้วนำมา ไม่ควร. ก็ถ้าว่า ภิกษุเห็นน้ำในสระมากเกินไป ให้ชักเหมือง

ออกจากด้านข้าง หรือด้านหลัง ให้ถางป่า ให้ทำคันนาทั้งหลาย ไม่ถือ

ส่วนปกติในคันนาเดิม ถือเอาส่วนที่เกิน, กะเกณฑ์เอากหาปณะว่า ท่าน

ทั้งหลายจงให้กหาปณะประมาณเท่านี้ ในข้าวกล้านอกฤดูกาล หรือใน

ข้าวกล้าใหม่ซึ่งไม่ได้กำหนดไว้, เป็นอกัปปิยะแก่ภิกษุทุกรูป.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 869

อนึ่ง ภิกษุใด ไม่ได้กล่าวว่า พวกท่านจงไถ จงหว่าน กะพื้น

ที่อย่างนี้ว่า สำหรับฟื้นที่เท่านี้ มีส่วนชื่อประมาณเท่านี้ก็ดี เมื่อพวก

ชาวนา กล่าวว่า พวกผมกระทำข้าวกล้าในส่วนฟื้นที่เท่านี้, ท่านทั้งหลาย

จงถือเอาส่วนชื่อประมาณเท่านี้ เอาเชือก หรือไม้เท้าวัดเพื่อกำหนด

ประมาณพื้นที่ก็ดี ยืนรักษาอยู่ที่ลานก็ดี ให้ขนออกจากลานไปก็ดี ให้เก็บ

ไว้ในฉางก็ดี ผลที่เกิดขึ้นจากพื้นที่นั้น เป็นอกัปปิยะ แก่ภิกษุรูปนั้น

เท่านั้น.

ถ้าชาวนาทั้งหลายนำกหาปณะมากล่าวว่า กหาปณะเหล่านี้พวกผม

นำมาเพื่อสงฆ์, และภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง กล่าวว่า ท่านจงนำผ้ามาด้วย

กหาปณะเท่านี้, จงจัดข้าวยาคูเป็นต้นด้วยกหาปณะประมาณเท่านี้ ด้วย

ความสำคัญว่า สงฆ์ไม่รับกหาปณะ สิ่งของที่พวกเขานำมา เป็นอกัปปิยะ

แก่พวกภิกษุทั่วไป. ถามว่า เพราะเหตุไร ตอบว่า เพราะภิกษุจัดการ

กหาปณะ.

ถ้าพวกชาวนานำข้าวเปลือกมากล่าวว่า ข้าวเปลือกนี้ พวกผมนำมา

เพื่อสงฆ์, และภิกษุรูปใดรูปหนึ่งกล่าวว่า พวกท่านจงนำเอาสิ่งนี้และ

สิ่งนี้มาด้วยข้าวเปลือกประมาณเท่านี้ โดยนัยก่อนนั่นแล สิ่งของที่พวก

เขานำมา เป็นอกัปปิยะเฉพาะแก่ภิกษุนั้นเท่านั้น. เพราะเหตุไร ? เพราะ

ภิกษุจัดการข้าวเปลือก.

ถ้าพวกเขานำเอาข้าวสาร หรืออปรัณชาติมากล่าวว่า พวกผมนำ

สิ่งของนี้มาเพื่อสงฆ์. และภิกษุรูปใดรูปหนึ่งกล่าวว่า พวกท่านจงนำเอา

สิ่งนี้ และสิ่งนี้มาด้วยข้าวสารมีประมาณเท่านี้ โดยนัยก่อนนั่นแล, สิ่งของ

ที่พวกเขานำมา เป็นกัปปิยะแก่ภิกษุทั้งหมด. เพราะเหตุไร ? เพราะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 870

ภิกษุจัดการข้าวสารเป็นต้นที่เป็นกัปปิยะ. ไม่เป็นอาบัติแม้ในเพราะซื้อขาย

เพราะบอกกัปปิยการก.

แต่ในครั้งก่อน ภิกษุรูปหนึ่งที่จิตตลดาบรรพต ได้กระทำมณฑล

(รูปดวงจันทร์) ไว้ ที่พื้นดิน ใกล้ประตูศาลา ๔ มุข เพื่อให้เกิดความ

เข้าใจแก่พวกคนวัดโดยรำพึงว่า โอหนอ ! พวกคนวัดพึงทอดขนม

ประมาณเท่านี้ เพื่อสงฆ์ในวันพรุ่งนี้. อารามิกชนผู้ฉลาด เห็นมณฑล

นั้น (รูปดวงจันทร์) แล้ว ได้ทำอย่างนั้น ในวันที่สอง เมื่อพวกเขา

ตีกลองประชุมสงฆ์แล้ว จึงถือขนมไปเรียนพระสังฆเถระว่า ท่านขอรับ !

ในกาลก่อนนี้ พวกผมไม่เคยได้ยินบิดามารดา ไม่เคยได้ฟังปู่ย่าตายาย

(บอกเล่าเหตุการณ์) อย่างนี้เลย, พระคุณเจ้ารูปหนึ่งได้ทำเครื่องหมาย

ที่ประตูศาลา ๔ มุข เพื่อประโยชน์แก่ขนม, บัดนี้จำเดิมแต่นี้ไป พระ-

คุณเจ้าทั้งหลาย จงบอกตามความพอใจของตน ๆ เถิด, แม้พวกผมก็จัก

อยู่เป็นผาสุก. พระมหาเถระกลับจากที่นั้นทันที. แม้ภิกษุรูปหนึ่งก็ไม่

รับขนมเลย. ในกาลก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมไม่ฉันแม้ขนมที่เกิดขึ้นใน

อารามนั้น อย่างนี้; เพราะฉะนั้น

ภิกษุ ผู้ไม่ประมาท ไม่ละการปฏิบัติขัดเกลา

ไม่พึงกระทำความโลเล เพื่อประโยชน์แก่อามิส

แม้ในสั่งที่เป็นกัปปิยะ ฉะนี้แล.

อนึ่ง แม้ในสระโบกขรณี ฝายและเหมืองเป็นต้น ก็มีนัยดังนี้

ที่กล่าวไว้แล้วในสระนี้เหมือนกัน. แม้เมื่อทายกกล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายนา

หรือว่าสวน อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่เพาะปลูกบุพพัณชาติ

อปรัณชาติ อ้อยและมะพร้าวเป็นต้น ภิกษุพึงปฏิเสธว่า ไม่ควร แล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 871

ปฏิบัติโดยนัยดังกล่าวแล้วในสระนั่นแล. ในเวลาเขากล่าวด้วยกัปปิย-

โวหารว่า ข้าพเจ้าถวายเพื่อประโยชน์แก่การบริโภคปัจจัย ๔ ภิกษุควรรับ,

ก็เมื่อเขากล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายสวน, ถวายป่า ควรจะรับไว้.

ถ้าพวกชาวบ้านมิได้ถูกภิกษุบังคับเลย ตัดต้นไม้ ในป่านั้น ยัง

อปรัณชาติเป็นต้น ให้ถึงพร้อมแล้ว ถวายสวนแก่ภิกษุทั้งหลาย,

จะรับก็ควร. พวกเขาไม่ถวาย, ไม่ควรทวง ไม่ควรเตือน.

ถ้าเมื่อพวกเขาพากันอพยพไป เพราะอันตรายบางอย่าง. คน

พวกอื่นทำ และไม่ถวายอะไร ๆ เลยแก่ภิกษุทั้งหลาย, พึงห้ามชนเหล่า

นั้น. ถ้าพวกเขากล่าวว่า แม้เมื่อก่อน พวกชาวบ้านได้กระทำข้าวกล้า

ในที่นี้มิใช่หรือ ขอรับ ! ลำดับนั้น พึงบอกเขาว่า พวกนั้นเขาได้ให้

กัปปิยภัณฑ์อย่างนี้ ๆ แก่สงฆ์. ถ้าพวกเขากล่าวว่า แม้พวกผมก็จักถวาย.

อย่างนี้ ควรอยู่.

พวกเขากล่าวหมายถึงภูมิประเทศที่เพาะปลูกข้าวกล้า บางแห่งว่า

ข้าพเจ้าจะถวายเขตแดน ควรอยู่. แต่ภิกษุทั้งหลาย ไม่ควรปักเสาหรือวาง

หิน เพื่อกำหนดเขตแดนเอง. เพราะเหตุไร ? เพราะธรรมดาว่า แผ่นดิน

มีค่านับไม่ได้, ภิกษุจะพึงเป็นปาราชิก แม้ด้วยเหตุเล็กน้อย. แต่พึงบอก

พวกอารามิกชนว่า เขตของพวกเราไปถึงที่นี้. ก็ถ้าแม้นว่าพวกเขาถือ

เอาเกินไปไม่เป็นอาบัติ เพราะกล่าวโดยปริยาย. ก็ถ้าว่าพระราชาและ

ราชอำมาตย์เป็นต้น ให้ปักเสาเองแล้วถวายว่า ขอท่านทั้งหลายจงบริโภค

ปัจจัย ๔ เถิด การถวายนั้น ควรเหมือนกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 872

ถ้าใคร ๆ ขุดสระภายในเขตแดนสีมา หรือไขเหมืองไปโดยท่าม

กลางวัด ย่อมทำลายลานพระเจดีย์และลานโพธิ์เป็นต้น, พึงห้าม. ถ้าสงฆ์

ได้อะไร ๆ บางอย่างแล้ว ไม่ห้าม เพราะหนักในอามิส, ภิกษุรูปหนึ่งห้าม,

ภิกษุรูปนั้นเท่านั้น เป็นใหญ่. ถ้าภิกษุรูปหนึ่งกล่าวว่า พวกท่านจงไขไป

ไม่ห้าม คือ เป็นพรรคพวกของชาวบ้านเหล่านั้นนั่นแล, สงฆ์ห้าม,

สงฆ์เท่านั้น เป็นใหญ่. จริงอยู่ ในกรรมอัน เป็นของสงฆ์ ภิกษุรูปใด

ทำกรรมเป็นธรรม. ภิกษุรูปนั้น เป็นใหญ่. ถ้าแม้บุคคลที่ถูกภิกษุห้าม

อยู่ ยังขืนกระทำ, พึงกลบดินร่วนที่เขาคุ้ยไว้ข้างล่างถมข้างล่าง กลบดิน

ร่วนที่เขาคุ้ยไว้ข้างบนถมข้างบนให้เต็ม.

พระมหาสุมเถระกล่าวว่า ถ้าใคร ๆ ประสงค์จะถวายอ้อย หรือ

อปรัณชาติ หรือผลไม้เถา มีน้ำเต้าและฟักเป็นต้น ตามที่เกิด

แล้วนั่นแหละ กล่าวว่า ข้าพเจ้าจะถวายไร่อ้อย ไร่อปรัณชาติ หลุม

(เพาะปลูก) ผลไม้เถาทั้งหมดนี้ ดังนี้, ไม่ควร เพราะเขาระบุพร้อมวัตถุ

(ไร่). ส่วนพระมหาปทุมเถระ กล่าวว่า นั่นเป็นแต่เพียงโวหาร, เพราะ

ภูมิภาคนั่น ยังเป็นของพวกเจ้าของอยู่นั่นเอง; เพราะเหตุนั้น จึงควร.

[วิธีปฏิบัติในทาส คนวัด และปศุสัตว์ที่มีผู้ถวาย]

ทายกกล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายทาส การถวายนั้น ไม่ควร. เมื่อเขา

กล่าวว่า ข้าพเจ้าถวายคนวัด, ถวายไวยาวัจกร ถวายกัปปิยการก ดังนี้

จึงควร. ถ้าอารามิกชนนั้น ทำการงานของสงฆ์เท่านั้นทั้งก่อนภัตและ

ภายหลังภัต, ภิกษุพึงกระทำแม้การพยาบาลด้วยยาทุกอย่างแก่เขาเหมือน

กับสามเณร, ถ้าเขาทำการงานของสงฆ์ก่อนภัตเวลาเดียว, ภายหลังภัตไป

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 873

กระทำการงานของตน ไม่พึงให้อาหาร ในเวลาเย็น. แม้ชนจำพวกใด

กระทำงานของสงฆ์ตามวาระ ๕ วัน หรือตามวาระปักษ์ ในเวลาที่เหลือ

ทำงานของตน พึ่งให้ภัตและอาหารแม้แก่บุคคลพวกนั้น ในเวลากระทำ

เท่านั้น. ถ้าการงานของสงฆ์ไม่มี, พวกเขากระทำงานของตนเองเลี้ยงชีพ,

ถ้าพวกเขานำเอามูลค่าหัตถกรรมมาถวาย พึงรับ. ถ้าพวกเขาไม่ถวาย

ก็อย่าพึงพูดอะไร ๆ เลย. การรับทาสย้อมผ้าก็ดี ทาสช่างหูกก็ดี อย่างใด

อย่างหนึ่ง โดยชื่อว่า อารามิกชน ควรอยู่.

ถ้าพวกทายกกล่าวว่า พวกข้าพเจ้าถวายโคทั้งหลาย ดังนี้, ภิกษุ

พึงห้ามพวกเขาว่า ไม่สมควร เมื่อมีพวกชาวบ้านถามว่า โคเหล่านี้ ท่าน

ได้มาจากไหน ? พึงบอกเขาว่า พวกบัณฑิตถวายไว้เพื่อประโยชน์แก่

การบริโภคปัญจโครส. เมื่อพวกเขากล่าวว่า แม้พวกผมก็ถวาย เพื่อ

ประโยชน์บริโภคปัญจโครส ดังนี้ ควรอยู่. แม้ในปศุสัตว์มีแม่แพะ

เป็นต้น ก็นัยนี้แหละ.

พวกชาวบ้านกล่าวว่า พวกข้าพเจ้าถวายช้าง, ถวายม้า, กระบือ,

ไก่, สุกร ดังนี้, จะรับไม่ควร. ถ้าพวกชาวบ้านบางหมู่กล่าวว่า ท่าน

ขอรับ ! ขอท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ขวนขวายน้อยเถิด, พวกผมจักรับสัตว์

เหล่านี้แล้ว ถวายกัปปิยภัณฑ์แก่ท่านทั้งหลาย แล้วรับไป, ย่อมควร.

จะปล่อยเสียในป่าด้วยกล่าวว่า ไก่และสุกรเหล่านี้ จงอยู่ตามสบายเถิด

ดังนี้ ก็ควร. เมื่อเขากล่าวว่า พวกข้าพเจ้าถวายสระนี้ นานี้ ไร่นี้

แก่วิหาร ภิกษุจะปฏิเสธไม่ได้ฉะนี้แล. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ มีอรรถ

ตื้นทั้งนั้น ดังนี้แล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 874

บรรดาสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทแม้นี้ ก็มีสมุฏฐาน ๖ เป็นกิริยา

โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓

มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาราชสิกขาบทในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

และจบวรรคที่ ๑

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๒

โกสิยวรรค สิกขายบทที่ ๑

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๗๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ อัค-

คาฬวเจดีย์ เขตพระนครอาฬวี ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์เข้าไปหาพวก

ช่างไหม กล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านต้มตัวไหมไว้เป็นอันมาก

จงให้พวกอาตมาบ้าง แม้พวกอาตมาก็ปรารถนาจะทำสันถัตเจือด้วยไหม

ช่างไหมเหล่านั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะ เชื้อสาย

พระศากยบุตรจึงได้เข้ามาหาพวกเรากล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวก

ท่านต้มตัวไหมไว้เป็นอันมาก จงให้แก่พวกอาตมาบ้าง แม้พวกอาตมา

ก็ปรารถนาจะทำสันถัตเจือด้วยไหม ดังนี้ แม้พวกเราผู้ซึ่งทำสัตว์ตัวเล็กๆ

มากมายให้วอดวาย เพราะเหตุแห่งอาชีพ เพราะเหตุแห่งบุตรและภริยา

ก็ยังชื่อว่าไม่ได้ลาภ หาได้ไม่สุจริต

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 875

ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกช่างไหมเหล่านั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนา

อยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขาต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงเข้า

ไปหาพวกช่างไหม แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านต้ม

ตัวไหมไว้เป็นอันมาก จงให้แก่พวกอาตมาบ้าง แม้พวกอาตมาก็ปรารถนา

จะทำสันถัตเจือด้วยไหม ดังนี้เล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมสงฆ์ ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์

ว่าดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอเข้าไปหาพวกช่างไหม แล้ว

กล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านต้มตัวไหมไว้เป็นอันมาก จง

ให้แก่พวกอาตมาบ้าง แม้พวกอาตมาก็ปรารถนาจะทำสันถัตเจือด้วย

ไหม ดังนี้ จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้เข้าไปหาพวกช่างไหม

แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านต้มตัวไหมไว้เป็นอันมาก

จงให้แก่พระพวกอาตมาบ้าง แม้พวกอาตมาก็ปรารถนาจะทำสันถัตเจือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 876

ด้วยไหม ดังนี้เล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไป

เพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์ โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 877

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๐. ๑. อนึ่ง ภิกษุใด ให้ทำสันถัตเจือด้วยไหม เป็นนิสสัคคิย-

ปาจิตตีย์.

สิกขาบทวิภังค์

[๗๕] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า พระพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 878

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.

ที่มีชื่อว่า สันถัต ได้แก่ ผ้ารองนั่งที่เขาหล่อ ไม่ใช่ทอ.

บทว่า ให้ทำ ความว่า ทำเองก็ดี ใช้ให้ทำก็ดี เจือด้วยไหม

แม้เส้นเดียว เป็นทุกกฏในประโยคที่ทำ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้สันถัตมา

ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละสันถัตนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตเจือด้วยไหมผืนนี้ ของข้าพเจ้าได้ทำแล้ว

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 879

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตเจือด้วยไหมผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำแล้ว

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตเจือด้วยผ้าไหมผืนนี้ ของข้าพเจ้าให้ทำแล้ว

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้สันถัตผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๗๖] สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 880

สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นให้ทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นให้ทำต่อจนสำเร็จ เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ภิกษุทำเองก็ดี ใช้ผู้อื่นทำก็ดี เพื่อใช้เป็นของอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุได้สันถัตที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ต้องอาบัติทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๗๗] ภิกษุทำเป็นเพดานก็ดี เป็นเครื่องลาดพื้นก็ดี เป็นม่านก็ดี

เป็นเปลือกฟูกก็ดี เป็นปลอกหมอนก็ดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิ-

กัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๑ จบ

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๑

พรรณนาโกสิยสิกขาบท

โกสิยสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในโกสิยสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 881

หลายบทว่า สนฺถริตฺวา กต โหติ มีความว่า สันถัตที่ลาด

เส้นไหมซ้อน ๆ กัน บนภาคพื้นที่เสมอแล้ว เอาน้ำข้าวเป็นต้นเทราดลงไป

แล้วหล่อ.

ในคำว่า เอเกนปิ โกสิยสุนา มิสฺสิตฺวา นี้ ผู้ศึกษาพึงทราบ

วินิจฉัยว่า สันถัตที่เจือ (ไหม) ด้วยอำนาจแห่งความชอบใจของตนจง

ยกไว้, ถ้าแม้นว่า ลมพัดเอาเส้นไหมเส้นเดียวไปตกลงในที่หล่อสันถัตนั้น

แม้อย่างนั้น ก็ชื่อว่า หล่อสันถัตเจือ (ด้วยไหม) เหมือนกัน. คำที่เหลือ

ทุก ๆ แห่ง มีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ เวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาโกสิยสิกขาบทที่ ๑ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๒

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๗๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา

ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลี ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์ให้เขาทำสันถัต

แห่งขนเจียมดำล้วน ชาวบ้านพากันมาเที่ยวชมวิหารได้แลเห็นแล้ว จึง

พากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

เหล่านี้ จึงได้ให้เขาทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วน เหมือนพวกคฤหัสถ์

ผู้บริโภคกามเล่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 882

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้ให้

เขาทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วนเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี-

พระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอให้เขาทำสันถัตแห่ง

ขนเจียมดำล้วน จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ให้เขาทำสันถัต

แห่งขนเจียมดำล้วนเล่า การกระทำของพวกเธอนั้น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่นเป็น

ไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 883

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วทรงรับส่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

พระบัญญัติ

๓๐. ๒. อนึ่ง ภิกษุใด ให้ทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วน เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 884

สิกขาบทวิภังค์

[๗๙] อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด

มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรม

เครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม

เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า พระพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ

ชื่อว่า ภิภษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วย

ญัตติจตุตถกรรมอันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่

สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรมอันไม่กำเริบ ควร

แก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.

ที่ชื่อว่า ดำ มี ๒ อย่าง คือ ดำเองโดยกำเนิดอย่างหนึ่ง ดำโดย

ย้อมอย่างหนึ่ง.

ที่ชื่อว่า สันถัต ได้แก่ ผ้ารองนั่งที่เขาหล่อ ไม่ใช่ทอ.

บทว่า ให้ทำ ความว่า ทำเองก็ดี ใช้ให้เขาทำก็ดี เป็นทุกกฏใน

ประโยคที่ทำ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้สันถัตมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ

หรือบุคคล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 885

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละสันถัตนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตแห่งขนเจียมดำล้วนผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำ

แล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุแก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตแห่งขนเจียมดำล้วนผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำ

แล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 886

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมี

ชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน สันถัตแห่งขนเจียมดำล้วนผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำแล้ว

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้สันถัตผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๘๐] สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัดคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 887

ทุกกฏ

ภิกษุทำเองก็ดี ใช้ผู้อื่นทำก็ดี เพื่อใช้เป็นของอื่น ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

ภิกษุได้สันถัตที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ต้องอาบัติทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๘๑] ภิกษุทำเป็นเพดานก็ดี เป็นเครื่องลาดพื้นก็ดี เป็นม่านก็ดี

เป็นเปลือกฟูกก็ดี เป็นปลอกหมอนก็ดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุ

อาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๒ จบ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๒

พรรณนาสุทธกาฬกสิกขาบท

สุทธกาฬกสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในสุทธกาฬกสิกขาบทนั้น บทว่า สุทฺธกาฬกาน ความว่า

ดำล้วน คือ ดำไม่เจือด้วยขนเจียมอย่างอื่น. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

แม้สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเช่นกับโกสิยสิกขาบทนั่นเอง.

พรรณนาสุทธกาฬกสิกขาบทที่ ๒ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 888

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๓

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๘๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามการกระทำสันถัตแห่ง

ขนเจียมดำล้วน จึงถือเอาขนเจียมขาวหน่อยหนึ่งปนไว้ที่ชายสันถัต แล้ว

ให้ทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วนเหมือนอย่างเดิมนั่นแหละ

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้

ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์

จึงได้ถือเอาขนเจียมขาวหน่อยหนึ่งปนไว้ที่ชายสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วน

เหมือนอย่างเดิมนั้นเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอถือเอาขนเจียมขาว

หน่อยหนึ่งปนไว้ที่ชายสันถัด แล้วให้ทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วน

เหมือนอย่างเดิมนั่นแหละ จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 889

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ถือเอาขนเจียมขาว

หน่อยหนึ่งปนไว้ที่ชายสันถัต แล้วให้ทำสันถัตแห่งขนเจียมดำล้วน

เหมือนอย่างเดิมนั้นเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็น

ไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่น ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนกปริยาย ทรง

กระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 890

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นเเห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๒. ๓. อนึ่ง ภิกษุผู้ให้ทำสันถัตใหม่ พึงถือเอาขนเจียมดำ

ล้วน ๒ ส่วน ขนเจียมขาวเป็นส่วนที่ ๓ ขนเจียมแดงเป็นส่วนที่ ๔

ถ้าภิกษุไม่ถือเอาขนเจียมดำล้วน ๒ ส่วน ขนเจียมขาวเป็นส่วนที่ ๓

ขนเจียมแดงเป็นส่วนที่ ๔ ให้ทำสันถัตใหม่ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๘๓] ที่ชื่อว่า ใหม่ ตรัสหมายการทำขึ้น.

ที่ชื่อว่า สันถัต ได้แก่ ผ้ารองนั่งที่เขาหล่อ ไม่ใช่ทอ.

บทว่า ผู้ให้ทำ คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม.

คำว่า พึงถือเอาขนเจียมดำล้วน ๒ ส่วน ความว่า พึงชั่งถือเอา

ขนเจียมดำล้วนน้ำหนัก ๒ ชั่ง.

บทว่า ขนเจียมขาวเป็นส่วนที่ ๓ คือ ขนเจียมขาวน้ำหนัก ๑ ชั่ง.

บทว่า ขนเจียมแดงเป็นส่วนที่ ๔ คือ ขนเจียมแดงน้ำหนัก ๑ ชั่ง.

คำว่า ถ้าภิกษุไม่ถือเอาขนเจียมดำล้วน ๒ ส่วน ขนเจียมขาว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 891

เป็นส่วนที่ ๓ ขนเจียมแดงเป็นส่วนที่ ๔ ความว่า ไม่ถือเอาขนเจียม

ขาว ๑ ชั่ง ขนเจียมแดง ๑ ชั่ง ทำเองก็ดี ให้เขาทำก็ดี ซึ่งสันถัตใหม่

เป็นทุกกฏในประโยคที่ทำ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้สันถัตมา ต้องเสียสละแก่

สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละสันถัตนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาขนเจียมขาว

๑ ชั่ง ขนเจียมแดง ๑ ชั่ง ให้ทำแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้า

สละสันถัตผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 892

ท่านเจ้าข้า สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาขนเจียมขาว

๑ ชั่ง ขนเจียมแดง ๑ ชั่ง ให้ทำแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้า

สละสันถัตผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมี

ชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่าน สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาขนเจียมขาว ๑ ชั่ง

ขนเจียมแดง ๑ ชั่ง ให้ทำแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัต

ผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้สันถัตผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๘๔] สันถัตทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 893

สันถัตทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ภิกษุทำเองก็ดี ใช้ผู้อื่นทำก็ดี เพื่อใช้เป็นของอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุได้สันถัตที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ต้องอาบัติทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๘๕] ภิกษุถือเอาขนเจียมขาว ๑ ชั่ง ขนเจียมแดง ๑ ชั่ง แล้ว

ทำ ๑ ภิกษุถือเอาขนเจียมขาวมากกว่า ขนเจียมแดงมากกว่า แล้วทำ ๑

ภิกษุถือเอาขนเจียมขาวล้วน ขนเจียมแดงล้วน แล้วทำ ๑ ภิกษุทำเป็น

เพดานก็ดี เป็นเครื่องลาดพื้นก็ดี เป็นม่านฟูกก็ดี เป็นเปลือกก็ดี เป็น

ปลอกหมอนก็ดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๓ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 894

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๓

พรรณนาเทวภาคสิกขาบท

เทวภาคสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในเทวภาคสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

สองบทว่า อนฺเต อาทิยิตฺวา มีความว่า ให้ติดขนเจียมขาวไว้ที่

ชายแห่งสันถัตดุจอนุวาตที่ชายผ้าฉะนั้น.

สองบทว่า เทฺว ภาคา แปลว่า ๒ ส่วน.

บทว่า อาทาตพฺพา แปลว่า พึงถือเอา.

บทว่า โคจริยาน แปลว่า มีสีแดง.

คำว่า เทฺว ตุลา อาทาตพฺพา ท่านกล่าวหมายเอาภิกษุผู้ประสงค์

จะให้ทำด้วยขนเจียม ๔ ส่วน. บัณฑิตพึงทราบสันนิษฐานว่า ก็โดยใจ

ความ เป็นอันทรงแสดงคำนี้ทีเดียวว่า ภิกษุมีความประสงค์จะทำด้วยขน

เจียม มีประมานเท่าใด, ในขนเจียมมีประมาณเท่านั้น ขนเจียมดำ ๒ ส่วน

ขนเจียมขาว ๑ ส่วน ขนเจียมแดง ๑ ส่วน. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

แม้สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเหมือนโกสิยสิกขาบทนั่นเอง. สิกขาบท

นี้ ผู้ศึกษาพึงทราบว่า เป็นกิริยาและอกิริยาอย่างเดียว เพราะถือเอาและ

ไม่ถือเอาทำ ฉะนี้แล.

พรรณนาเทวภาคสิกขาบทที่ ๓ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๔

เรื่องภิกษุหลายรูป

[๘๖] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 895

ภิกษุทั้งหลายให้เขาทำสันถัตใช้ทุก ๆ ปี พวกเธอวอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า

ท่านทั้งหลายจงให้ขนเจียม อาตมาต้องการขนเจียม ชาวบ้านพากันเพ่ง

โทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ จึง

ได้ขอให้เขาทำสันถัตใช้ทุก ๆ ปี วอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจง

ให้ขนเจียม อาตมาต้องการขนเจียม ส่วนสันถัตของพวกเราทำคราวเดียว

ถูกเด็ก ๆ ของพวกเราถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง หนูกัด

เสียบ้าง ก็ยังอยู่ได้ถึง ๕-๖ ปี ส่วนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

เหล่านี้ ขอให้ทำสันถัตใช้ทุก ๆ ปี วอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลาย

จงให้ขนเจียม อาตมาต้องการขนเจียม

ภิกษุทั้งหลาย ได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้ขอ

ให้เขาทำสันถัตใช้ทุก ๆ ปี วอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้

ขนเจียม อาตมาต้องการขนเจียม ดังนี้เล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแต่

พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลาย ขอให้เขาทำ

สันถัตใช้ทุก ๆ ปี วอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้ขนเจียม

อาตมาต้องการขนเจียม ดังนี้ จริงหรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 896

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การกระทำ

ของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้

ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้ให้เขาทำสันถัตใช้

ทุก ๆ ปี วอนขอเขาอยู่ร่ำไปว่า ท่านทั้งหลายจงให้ขนเจียม อาตมา

ต้องการขนเจียม ดังนี้เล่า การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่ง ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของ

พวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอี่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุทั้งหลายโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว

ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็น

คนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน

ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมัก

น้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส

การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำ

ธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย

แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 897

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแต่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้

ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๓. ๔. อนึ่ง ภิกษุให้ทำสันถัตใหม่แล้ว พึงทรงไว้ให้ได้ ๖

ฝน ถ้ายังหย่อนกว่า ๖ ฝน เธอสละเสียแล้วก็ดี ยังไม่สละแล้วก็ดี

ซึ่งสันถัตนั้น ให้ทำสันถัตอื่นใหม่ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้ว แก่

ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องภิกษุหลายรูป จบ

พระอนุบัญญัติ

เรื่องภิกษุอาพาธ

[๘๗] ก็สมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธอยู่ในพระนครโกสัมพี

พวกญาติส่งทูตไปในสำนักภิกษุรูปนั้นว่า นิมนต์ท่านมา พวกผมจัก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 898

พยาบาล แม้ภิกษุทั้งหลายก็ได้กล่าวอย่างนี้ว่า ไปเถิดอาวุโส พวกญาติ

จักได้พยาบาลท่าน

ภิกษุนั้นได้ตอบอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

บัญญัติสิกขาบทไว้ว่า อนึ่ง ภิกษุให้ทำสันถัตใหม่แล้ว พึงทรงไว้ให้ได้

๖ ฝน ก็ผมกำลังอาพาธ ไม่สามารถจะนำสันถัตไปด้วยได้ และผมเว้น

สันถัตแล้ว ไม่สบาย ผมจักไม่ไปละ

ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้สมมติสันถัต

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับส่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สมมติสันถัตแก่ภิกษุผู้อาพาธ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงให้สมมติสันถัตนั้น อย่างนี้:-

วิธีสมมติสันถัต

ภิกษุผู้อาพาธรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่กว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าอาพาธ ไม่สามารถจะนำสันถัตไปด้วยได้ ท่าน

เจ้าข้า ข้าพเจ้านั้นขอสมมติสันถัตต่อสงฆ์ พึงขอแม้ครั้งที่ ๒ พึงขอแม้

ครั้งที่ ๓ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติ-

ทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้อาพาธ ไม่สามารถ

จะนำสันถัตไปด้วยได้ เธอขอสมมติสันถัตต่อสงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สมมติสันถัตแก่ภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็นญัตติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 899

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อผู้นี้อาพาธ ไม่สามารถ

จะนำสันถัตไปด้วยได้ เธอขอสมมติสันถัตต่อสงฆ์ สงฆ์ให้สมมติสันถัต

แก่ภิกษุมีชื่อนี้ การให้สมมติสันถัตแก่ภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน

ผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด การสมมติสันถัต

อันสงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรง

ความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๓. ๔. ก. ภิกษุให้ทำสันถัตใหม่แล้ว พึงทรงไว้ให้ได้ ๖ ฝน

ถ้ายังหย่อนกว่า ๖ ฝน เธอสละเสียแล้วก็ดี ยังไม่สละแล้วก็ดี ซึ่ง

สันถัตนั้น ให้ทำสันถัตอื่นใหม่ เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมิต เป็นนิส-

สัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องภิกษุอาพาธ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๘๘] ที่ชื่อว่า ใหม่ ตรัสหมายการทำขึ้น.

ที่ชื่อว่า สันถัต ได้แก่ ผ้ารองนั่งที่เขาหล่อ ไม่ใช่ทอ.

บทว่า ให้ทำแล้ว คือ ทำเองก็ตาม ใช้ให้ขาทำก็ตาม

บทว่า พึงทรงไว้ให้ได้ ๖ ฝน คือ พึงทรงไว้ให้ได้ ๖ ฝนเป็น

อย่างเร็ว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 900

บทว่า ถ้ายังหย่อนกว่า ๖ ฝน คือ ยังไม่ถึง ๖ ฝน.

บทว่า สละเสียแล้วก็ดี...ซึ่งสันถัตนั้น คือ ให้แก่คนอื่นไป.

บทว่า ยังไม่สละแล้วก็ดี คือ ยังไม่ได้ให้แก่ใครๆ.

บทว่า เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ คือ ยกเว้น ภิกษุผู้ได้รับสมมติ

ภิกษุทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำก็ตาม ซึ่งสันถัตอื่นใหม่ เป็นทุกกฏ

ในประโยคที่ทำ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้สันถัตมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ

หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละสันถัตนั้น อย่างนี้:-

วิธีสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำหย่อนกว่า ๖ ฝน

เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้

แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 901

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำหย่อนกว่า ๖ ฝน

เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้

แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า สันถัตผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้สันถัตผืนนี้แก่ภิกษุมี

ชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน สันถัตผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ทำหย่อนกว่า ๖ ฝน เว้นไว้

แต่ภิกษุได้สมมติ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละสันถัตผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้สันถัตผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 902

บทภาชนีย์

จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๘๙] สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตตนทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตคนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

อนาปัตติวาร

[๙๐] ครบ ๖ ฝนแล้วภิกษุทำใหม่ ๑ เกิน ๖ ฝนแล้วภิกษุทำ

ใหม่ ๑ ภิกษุทำเองก็ดี ใช้ผู้อื่นทำก็ดี เพื่อใช้เป็นของอื่น ๑ ภิกษุได้

สันถัตที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ๑ ภิกษุทำเป็นเพดานก็ดี เป็นเครื่อง

ลาดพื้นก็ดี เป็นม่านก็ดี เป็นเปลือกฟูกก็ดี เป็นเปลือกหมอนก็ดี ๑

ภิกษุได้สมมติ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๔ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 903

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๔

พรรณนาฉัพพัสสสิกขาบท

ฉัพพัสสสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:-

สองบทว่า อูทหนฺติปิ อุมฺมิหนฺติปิ มีรูปความที่ท่านกล่าวไว้ว่า

พวกเด็ก ๆ ถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง เบื้องบนสันถัต

ทั้งหลาย.

พระปุสสเทวเถระกล่าวว่า ภิกษุผู้ได้รับสมมติอย่างนี้ว่า สันถัต

สมมิตสงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุชื่อนี้ ย่อมได้เพื่อทำสันถัตในที่ที่ตนไปถึงตลอด

เวลาที่โรคยังไม่หาย. ถ้าเธอหายโรคแล้ว กลับอาพาธอีกด้วยพยาธิเดิม

นั่นแล, บริหาร (การคุ้มครอง) นั้นนั่นแลยังอยู่, ไม่มีกิจที่จะต้อง

สมมติอีก.

ส่วนพระอุปติสสเถระกล่าวว่า อาพาธนั้นกำเริบขึ้นหรืออาพาธอื่น

ก็ตามที, เธอได้ชื่อว่า เป็นผู้อาพาธ คราวเดียว ก็เป็นอันได้แล้ว

นั่นเที่ยว, ไม่มีกิจที่จะต้องสมมติใหม่.

ข้อว่า โอเรน เจ ฉนฺน วสฺสาน ได้แก่ ส่วนร่วมใน คือ

ภายใน. แต่ในบทภาชนะ เพื่อจะแสดงแต่เพียงสังขยา จึงตรัสว่า ยังหย่อน

๖ ปี.

ข้อว่า อนาปตฺติ ฉพฺพสฺสานิ กโรติ มีความว่า ย่อมทำสันถัต

ในเวลาครบ ๖ ปีบริบูรณ์. แม้ในบทที่ ๒ พึงเห็นใจความอย่างนี้ว่า

ทำในเวลาเกิน ๖ ฝนไป. ความจริง ภิกษุนั้นจะทำคลอด ๖ ปี หามิได้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 904

แล. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น. สมุฏฐานเป็นต้น ก็เป็นเหมือนโกสิย-

สิกขาบทนั่นแล, แต่สิกขาบทนี้เป็นทั้งกิริยาและอกิริยาแล.

พรรณนาฉัพพัสสสิกขาบทที่ ๔ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๕

เรื่องพระอุปเสนวังคันตบุตร

[๙๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรา

ปรารถนาจะหลีกออกเร้นอยู่ตลอดไตรมาส ใคร ๆ อย่าเข้าไปหาเรา

นอกจากภิกษุผู้นำบิณฑบาตเข้ารูปให้รูปเดียว.

ภิกษุเหล่านั้นรับพระพุทธาณัติแล้ว ไม่มีใครไปเฝ้าพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าในพระวิหารนี้เลย นอกจากภิกษุผู้นำบิณฑบาตเข้าไปถวายรูปเดียว

โดยแท้ ถึงอย่างนั้น สงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถีก็ยังตั้งกติกากันไว้ว่า

อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระประสงค์จะเสด็จหลีกออกเร้นอยู่

ตลอดไตรมาส ใคร ๆ ไม่พึงเข้าไปเฝ้าพระองค์ นอกจากภิกษุผู้นำ

บิณฑบาตเข้าไปถวายรูปเดียว ภิกษุรูปใดเข้าไปเฝ้าพระองค์ ต้องให้

แสดงอาบัติปาจิตตีย์.

[๙๒] ครั้งนั้น ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตกับภิกษุบริษัทเข้าไป

เฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 905

พุทธประเพณี

อันการที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงปราศรัยกับพระ-

อาคันตุกะทั้งหลายนี้ นั่นเป็นพุทธประเพณี

ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรว่า

ดูก่อนอุปเสน พวกเธอพอทนได้ พอให้อัตภาพเป็นไปได้หรือ พวก

เธอเดินทางมาโดยได้รับความลำบากน้อยหรือ

ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรกราบทูลว่า พอทนได้ พอให้อัตภาพ

เป็นไปได้ พระพุทธเจ้าข้า อนึ่ง พวกข้าพระพุทธเจ้าเดินทางมาโดยได้รับ

ความลำบากเล็กน้อย พระพุทธเจ้าข้า

ก็แลขณะนั้น ภิกษุสัทธิวิหาริกของท่านพระอุปเสนวังคันตบุตร

นั่งเฝ้าอยู่ไม่ห่างพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามภิกษุ

รูปนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ผ้าบังสุกุลเป็นที่พอใจของเธอหรือ

ภิกษุรูปนั้นกราบทูลว่า ผ้าบังสุกุล มิได้เป็นที่พอใจของข้าพระ-

พุทธเจ้าเลย พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ก็ทำไมเธอจึงได้ทรงผ้าบังสุกุลเล่า ภิกษุ

ภิ. พระอุปัชฌายะของข้าพระพุทธเจ้าทรงผ้าบังสุกุล ข้าพระ-

พุทธเจ้าจึงต้องทรงผ้าบังสุกุลอย่างนั้นบ้าง พระพุทธเจ้าข้า

ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันต-

บุตรว่า ดูก่อนอุปเสน บริษัทของเธอนี้น่าเลื่อมใสนัก เธอแนะนำ

บริษัทอย่างไร

ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ผู้ใดขอ

อุปสมบทต่อข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าบอกกะเขาอย่างนี้ว่า อาวุโส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 906

ฉันเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร

ถ้าท่านจักถืออยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร

บ้าง ฉันก็จักให้ท่านอุปสมบทตามประสงค์ ถ้าเขารับคำของข้าพระ-

พุทธเจ้า ๆ จึงให้เขาอุปสมมท ถ้าเขาไม่รับคำของข้าพระพุทธเจ้า ๆ

ก็ไม่ให้เขาอุปสมบท ภิกษุใดขอนิสัยต่อข้าพระพุทธเจ้า ๆ บอกกะภิกษุนั้น

อย่างนี้ว่า อาวุโส เราเป็นผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร

ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ถ้าท่านจักถืออยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร

ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตรบ้างได้ เราก็จักให้นิสัยแก่ท่านตามความประสงค์

ถ้าภิกษุนั้นรับคำของข้าพระพุทธเจ้า ๆ จึงจะให้นิสัย ถ้าภิกษุนั้นรับคำ

ของข้าพระพุทธเจ้าไม่ได้ ข้าพระพุทธเจ้าก็ไม่ให้นิสัย ข้าพระพุทธเจ้า

แนะนำบริษัทอย่างนี้แล พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดีแล้ว ดีแล้ว อุปเสน เธอแนะนำบริษัทได้ดีจริง ๆ เออ

ก็เธอรู้กติกาของสงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถีไหม อุปเสน

อุ. ไม่ทราบเกล้า ฯ พระพุทธเจ้าข้า

ภ. ดูก่อนอุปเสน สงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถี ตั้งกติกากันไว้

ว่า ท่านทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระประสงค์จะเสด็จหลีกออก

เร้นอยู่ตลอดไตรมาส ใคร ๆ อย่าเข้าไปเฝ้าพระองค์ นอกจากภิกษุ

ผู้นำบิณฑบาตเข้าไปถวายรูปเดียว ภิกษุใดเข้าไปเฝ้าพระองค์ ต้องให้

แสดงอาบัติปาจิตตีย์

อุ. พระสงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถี จักทราบทั่วกันตามกติกาของ

ตน พวกข้าพระพุทธเจ้าจักไม่แต่งตั้งสิกขาบทที่พระองค์มิได้ทรงบัญญัติ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 907

และจักไม่เพิกถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้ จักสมาทานประพฤติใน

สิกขาบทตามที่ทรงบัญญัติไว้

ภ. ดีแล้ว ดีแล้ว อุปเสน ไม่ควรแต่งตั้งสิกขาบทที่เรายังมิได้

บัญญัติ หรือว่าไม่ควรเพิกถอนสิกขาบทที่เราบัญญัติ ควรสมาทาน

ประพฤติในสิกขาบทตามที่เราได้บัญญัติไว้ เราอนุญาตให้พวกภิกษุ

ผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร

เข้าหาเราได้ตามสะดวก

เวลานั้น ภิกษุหลายรูปกำลังรออยู่ที่นอกซุ้มประตูพระวิหาร ด้วย

ตั้งใจว่า พวกเราจักให้ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรแสดงอาบัติปาจิตตีย์

ครั้นท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรกับภิกษุบริษัทลุกจากอาสนะ ถวายบังคม

พระผู้มีพระภาคเจ้าทำประทักษิณหลีกไปแล้ว จึงภิกษุเหล่านั้นได้ถาม

ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรดังนี้ว่า อาวุโส อุปเสน ท่านทราบกติกา

ของสงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถีไหม

ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรตอบว่า อาวุโสทั้งหลาย แม้พระผู้มี-

พระภาคเจ้าก็รับสั่งถามกระผมอย่างนี้ว่า ดูก่อนอุปเสน เธอทราบกติกา

ของสงฆ์ในเขตพระนครสาวัตถีไหม กระผมกราบทูลว่า ไม่ทราบเกล้า ฯ

พระพุทธเจ้าข้า พระองค์รับสั่งต่อไปว่า ดูก่อนอุปเสน สงฆ์ในพระนคร

สาวัตถีได้ทั้งกติกากันไว้ว่า อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระ-

ประสงค์จะเสด็จหลีกออกเร้นอยู่ตลอดไตรมาส ใคร ๆ อย่าเข้าเฝ้า

พระองค์ นอกจากภิกษุผู้นำบิณฑบาตเข้าไปถวายรูปเดียว ภิกษุใดเข้า

เฝ้าพระองค์ ต้องให้แสดงอาบัติปาจิตตีย์ กระผมกราบทูลว่า พระสงฆ์

ในเขตพระนครสาวัตถีจักทราบทั่วกันตามกติกาของตน พวกข้าพระ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 908

พุทธเจ้าจักไม่แต่งตั้งสิกขาบทที่พระองค์มิได้ทรงบัญญัติ และจักไม่เพิก

ถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้ จักสมาทานประพฤติในสิกขาบทตามที่ทรง

บัญญัติไว้ ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยทรงอนุญาตให้บรรดาภิกษุผู้ถือ

การอยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร เข้า

เฝ้าได้ตามสะดวก ดังนี้

ภิกษุเหล่านั้นเห็นจริงด้วยในทันใดนั้นว่า ท่านพระอุปเสนวังคันต-

บุตรพูดถูกต้องจริงแท้ พระสงฆ์ไม่ควรแต่งตั้งสิกขาบทที่ยังมิได้ทรง

บัญญัติ หรือไม่ควรเพิกถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้ ควรสมาทาน

ประพฤติในสิกกาบทตามที่ทรงบัญญัติไว้.

[๙๓] ภิกษุทั้งหลายได้ทราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

อนุญาตให้ภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ทรงผ้า

บังสุกุลเป็นวัตร เข้าเฝ้าได้ตามสะดวก ภิกษุเหล่านั้นปรารถนาจะเข้าเฝ้า

พระผู้มีพระภาคเจ้า ต่างละทิ้งสันถัตพากันสมาทานอารัญญิกธุดงค์ บิณฑ-

ปาติกธุดงค์ ปังสุกูลิกธุดงค์

หลังจากนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยภิกษุเป็นอันมาก เสด็จ

เที่ยวประพาสตามเสนาสนะ ได้ทอดพระเนตรเห็นสันถัตซึ่งถูกทอดทิ้งไว้

ในที่นั้น ๆ ครั้นแล้วรับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

สันถัตเหล่านี้ของใคร ถูกทอดทิ้งไว้ในที่นั้น ๆ

จึงภิกษุเหล่านั้น ได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 909

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้:-

พระบัญญัติ

๓๔. ๕. อนึ่ง ภิกษุผู้ให้ทำสันถัตสำหรับนั่ง พึงถือเอาคืบสุคต

โดยรอบแห่งสันถัตว่า เพื่อทำให้เสียสี ถ้าภิกษุไม่ถือเอาคืบสุคตโดย

รอบแห่งสันถัตเก่า ให้ทำสันถัตสำหรับนั่งใหม่ เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุปเสนวังคันตบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๙๔] ที่ชื่อว่า สำหรับนั่ง ตรัสหมายผ้ามีชาย.

ที่ชื่อว่า สันถัต ได้แก่ ผ้ารองนั่งที่เขาหล่อ ไม่ใช่ทอ.

บทว่า ผู้ให้ทำ คือ ทำเองก็ตาม ให้เขาทำก็ตาม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 910

ที่ชื่อว่า สันถัตเก่า คือ ที่แม้นุ่ง* แล้วคราวเดียว แม้ห่ม* แล้ว

คราวเดียว.

คำว่า พึงถือเอาคืบสุคตโดยรอบ...เพื่อทำให้เสียสี คือ ตัดกลม ๆ

หรือสี่เหลี่ยมแล้วลาดในเอกเทศหนึ่ง หรือชีออกปนหล่อเพื่อความทน

คำว่า ถ้าภิกษุไม่ถือเอาคืบสุคตโดยรอบแห่งสันถัตเก่า ความว่า

ไม่ถือเอาสันถัตเก่า ๑ คืบสุคตโดยรอบแล้ว ทำเองก็ตาม ใช้ให้เขาทำ

ก็ตาม ซึ่งสันถัตสำหรับนั่งใหม่ เป็นทุกกฏในประโยคที่ทำ เป็นนิสสัคคีย์

ด้วยได้สันถัตมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละสันถัตสำหรับนั่งนั้น

อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาคืบ

สุคตโดยรอบแห่งสันถัตเก่าให้ทำแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้า

สละสันถัตสำหรับนั่งผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตสำหรับนั่งที่เสียสละ ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

*-* เห็นจะหลงมาจากจีวรเก่าในสิกขาบทที่ ๔ แห่งจีวรวรรค.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 911

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้ของ

ภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อม

พรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่านั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาคืบ

สุคตโดยรอบแห่งสันถัตเก่า ให้ทำแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้า

สละสันถัตสำหรับนั่งผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตสำหรับนั่งที่เสียสละให้ ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้ของภิกษุ

มีชื่อนี้เป็นของจำสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อม

พรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้สันถัตสำหรับนั่ง

ผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่าน สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้ของข้าพเจ้า ไม่ได้ถือเอาคืบสุคต

โดยรอบแห่งสันถัตเก่า ให้ทำแล้ว เป็นของจำสละ ข้าพเจ้าสละ

สันถัตสำหรับนั่งผืนนี้แก่ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 912

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนสันถัตสำหรับนั่งที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้สันถัตสำหรับ

นั่งผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๙๕] สันถัตสำหรับนั่ง ตนทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตสำหรับนั่ง ตนทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตสำหรับนั่ง คนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุทำต่อให้สำเร็จเอง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

สันถัตสำหรับนั่ง คนอื่นทำค้างไว้ ภิกษุใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ภิกษุทำเองก็ดี ใช้ผู้อื่นทำก็ดี เพื่อใช้เป็นของอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๙๖] ภิกษุถือเอาสันถัตเก่าหนึ่งคืบสุคตโดยรอบแล้วทำ ๑ ภิกษุ

ไม่ได้ถือเอาแต่น้อยแล้วทำ ๑ ภิกษุหาไม่ได้ ไม่ถือเอาเลยแล้วทำ ๑

ภิกษุได้สันถัตที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ๑ ภิกษุทำเป็นเพดานก็ดี เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 913

เครื่องลาดพื้นก็ดี เป็นม่านก็ดี เป็นเปลือกฟูกก็ดี เป็นปลอกหมอนก็ดี ๑

ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๕ จบ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๕

พรรณนานิสีทนสันถตสิกขาบท

นิสีทนสันถตสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในนิสีทนสันถตสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

สองบทว่า อิจฺฉามห ภิกฺขเว ความว่า ได้ยินว่า พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าไม่ทอดพระเนตรเห็นสัตว์ที่ควรให้ตรัสรู้ไร ๆ เลย ตลอดภายใน

ไตรมาสนั้น; เพราะเหตุนั้น จึงตรัสอย่างนี้. แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น

พระองค์ก็จะต้องทรงกระทำพระธรรมเทศนา ด้วยสามารถแห่งตันติ-

ประเพณี.

อนึ่ง เพราะพระองค์ได้ทรงมีรำพึงอย่างนี้ว่า เมื่อเราให้ทำโอกาส

หลีกเร้นอยู่ ภิกษุทั้งหลายจักกระทำกติกาวัตรอันไม่เป็นธรรม, อุปเสนะ

จักทำลายกติกาวัตรอันไม่เป็นธรรมนั้น, เราจักเลื่อมใส (ขอบใจ) เธอ

แล้วอนุญาตให้ภิกษุทั้งหลายเฝ้า, แต่นั้น พวกภิกษุผู้ประสงค์จะเยี่ยมเรา

เป็นอันมากจักสมาทานธุดงค์ทั้งหลาย และเราจักบัญญัติสิกขาบท เพราะ

สันถัตที่ภิกษุเหล่านั้นละทิ้งเป็นปัจจัย. ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส

อย่างนั้น. ก็ในการหลีกเร้นนี้ มีอานิสงส์มากอย่างนี้แล.

ข้อว่า สปริโส เยน ภควา เตนูปสงฺกมิ มีความว่า ได้ยินว่า

พระเถระได้รับการตำหนิในขันธกสิกขาบทนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย !

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 914

ภิกษุผู้มีพรรษาหย่อน ๑๐ ไม่พึงให้กุลบุตรบวช, ภิกษุใดพึงให้บวช,

ภิกษุนั้นต้องทุกกฏ โดยนัยมีอาทิอย่างนี้ว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ ! อย่างไร

กันน๊ะ เธอยังเป็นผู้ที่คนอื่นควรโอวาทควรพร่ำสอน จักสำคัญเพื่อจะ

โอวาท เพื่อจะพร่ำสอนผู้อื่น จึงคิดว่า พระศาสดาทรงอาศัยบริษัท

ของเราได้ทรงประทานการตำหนิแก่เรา, บัดนี้ เรานั้นจักยังพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าให้เปล่งพระสุรเสียงดุจพรหม ด้วยพระพักตร์อันบริบูรณ์ด้วย

อาการทุกอย่าง มีสิริดังพระจันทร์เพ็ญนั้นนั่นแล แล้วจักให้ประทาน

สาธุการ เพราะอาศัยบริษัทนั่นแหละ เป็นกุลบุตรผู้มีหทัยงามเดินทาง

ล่วงไปได้ ๑๐๐ กว่าโยชน์ ได้แนะนำบริษัท เป็นผู้อันภิกษุประมาณ

๕๐๐ รูปแวดล้อมแล้ว จึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าอีก. เพราะเหตุนั้น

พระธรรมสังคีติกาจารย์จงกล่าวว่า สปริโส เยน ภควา เตนูปสงฺกมิ

เป็นต้น. จริงอยู่ ใคร ๆ ไม่อาจจะให้พระพุทธเจ้าทั้งหลายโปรดปราน

ได้โดยประการอื่นนอกจากวัตรสมบัติ.

ข้อว่า ภควโต อวิทูเร นิสินฺโน มีความว่า ภิกษุนั้นเป็นผู้

หมดความระแวง เพราะเป็นผู้บริสุทธิ์ด้วยวัตรสมบัติ จึงนั่งในที่ไม่ไกล

พระผู้มีพระภาคเจ้า ดุจสีหะนั่งอยู่ใกล้ถ้ำแห่งภูเขาทองฉะนั้น.

บทว่า เอตทโวจ คือ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสคำนี้ เพื่อยก

เรื่องราวขึ้น.

ข้อว่า มนาปานิ เต ภิกฺขุ ปสุกูลานิ ความว่า ดูก่อนภิกษุ !

ผ้าบังสุกุลเหล่านี้เป็นที่ชอบใจของเธอหรือ ? คือ เธอถือตามความชอบใจ

ตามความพอใจของตนหรือ ?

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 915

ด้วยคำว่า น โข เม ภนฺเต มนาปานิ นี้ ภิกษุนั้นย่อมแสดง

ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระพุทธเจ้ามิได้ถือตามความชอบใจตาม

ความพอใจของตน คือ ข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้ถูกอุปัชฌาย์ให้ถือดุจบุคคล

ถูกบังคับให้ถือด้วยการบีบคอ และด้วยการตีที่กระหม่อมฉะนั้น.

บทว่า ปญฺายิสฺสติ มีความว่า จักเป็นผู้ปรากฏ คือ เป็นผู้มี

ชื่อเสียง. มีคำอธิบายว่า จักปรากฏในกติกานั้น.

ข้อว่า น มย อปฺปญฺตฺต ปญฺาเปสฺสาม มีความว่า เรา

ทั้งหลายชื่อว่าเป็นสาวก จักไม่บัญญัติข้อที่พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรง

บัญญัติไว้. จริงอยู่ วิสัย คือการบัญญัติสิกขาบทที่มิได้ทรงบัญญัติ หรือ

การถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว โดยนัยว่า ปาจิตตีย์ ทุกกฏ เป็นต้น

นี้เป็นพุทธวิสัย.

ด้วยบทว่า สมาทาย นี้ พระอุปเสนะ แสดงว่า เราทั้งหลาย

จักสมาทานสิกขาบทนั้น ๆ แล้วรับว่า ดีละ โดยดี ดังนี้แล้วจักศึกษาใน

สิกขาบททั้งปวง ตามที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้. พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงมีพระหฤทัยโปรดปรานแล้ว ได้ทรงกระทำสาธุการแม้อีก แก่พระ-

อุปเสนะนั้นว่า ดีละ ดีละ.

บทสนธิว่า อนุญฺาตาวโส ตัดบทว่า อนุญฺาต อาวุโส

แปลว่า (ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว).

บทว่า ปิหนฺตา แปลว่า กระหยิ่มอยู่.

สองบทว่า สนฺถตานิ อุชฺฌิตฺวา มีความว่า ละทิ้งสันถัตทั้งปวง

แล้ว เพราะเป็นผู้มีความสำคัญในสันถัตว่า เป็นจีวรผืนที่ ๕.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 916

ข้อว่า ธมฺมึ กถ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ มีความว่า พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้า ทอดพระเนตรเห็นสันถัตทั้งหลายเกลื่อนกลาด แล้วทรง

ดำริว่า ไม่มีเหตุในการที่จะยังศรัทธาไทยให้ตกไป, เราจักแสดงอุบายใน

การใช้สอย แก่ภิกษุเหล่านั้น แล้วทรงกระทำธรรมีกถาตรัสเตือนภิกษุ

ทั้งหลาย.

ข้อว่า สกึ นิวตฺถปิ สกึ ปารุตปิ ได้แก่ นั่งและนอนแล้ว

ครั้งเดียว.

บทว่า สามนฺตา มีความว่า พึงถือเอาโดยประการที่ที่ตนตัดเอา

เป็นวงกลม หรือเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัสจากชายข้างหนึ่ง จะมีประมาณคืบหนึ่ง.

แต่ภิกษุเมื่อจะลาดพึงลาดลงในเอกเทศ หรือชีออกแล้วลาดให้ผสมกัน

โดยนัยดังกล่าวในบาลีนั่นเทียว. สันถัตที่ภิกษุหล่อแล้วอย่างนี้ จะเป็น

ของมั่นคงยิ่งขึ้น. คำทีเหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้นแล. สมุฏฐานเป็นต้น แห่ง

สิกขาบทนี้ เป็นเช่นเดียวกับเทวภาคสิกขาบท เพราะเป็นทั้งกิริยา

ฉะนี้แล.

นิสีทนสันถตสิกขาบทที่ ๕ จบ

ก็ในสันถัต ๕ ชนิดเหล่านี้ สันถัต ๓ ชนิดข้างต้น ผู้ศึกษาพึงทราบ

ว่า กระทำวินัยกรรมแล้วได้มา ไม่ควรใช้สอย, ๒ ชนิดข้างหลังทำ

วินัยกรรมแล้วได้มา จะใช้สอย ควรอยู่.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 917

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๖

เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง

[๙๗] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ภิกษุรูปหนึ่งเดินทางไปสู่พระนครสาวัตถี แถบโกศลชนบท ขนเจียม

เกิดขึ้นแก่เธอในระหว่างทาง จึงภิกษุนั้นได้ผ้าเอาผ้าอุตราสงค์ห่อขนเจียม

เหล่านั้นเดินไป

ชาวบ้านเห็นภิกษุนั้นแล้วพูดสัพยอกว่า ท่านเจ้าข้า ท่านซื้อขนเจียม

มาด้วยราคาเท่าไร กำไรจักมีสักเท่าไร

ภิกษุรูปนั้นถูกชาวบ้านพูดสัพยอกได้เป็นผู้เก้อ ครั้นเธอไปถึง

พระนครสาวัตถีแล้ว ทั้ง ๆ ที่ยืนอยู่นั่นแล ได้โยนขนเจียมเหล่านั้น ลง

ภิกษุทั้งหลายจึงถามภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า อาวุโส ทำไมท่านจึงโยน

ขนเจียมเหล่านั้นลงทั้ง ๆ ที่ยังยืนอยู่เล่า

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า ก็เพราะผมถูกชาวบ้านพูดสัพยอก เหตุขนเจียม

เหล่านี้ขอรับ

ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ก็ท่านนำขนเจียมเหล่านี้มาจากที่ไกล

เท่าไรเล่า

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า เกินกว่า ๓ โยชน์ ขอรับ

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุจึงได้นำ

ขนเจียมมาไกลเกิน ๓โยชน์ แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 918

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุรูปนั้น

ว่า ดูก่อนภิกษุ ข่าวว่า เธอนำขนเจียมมาไกลเกิน ๓ โยชน์ จริงหรือ

ภิกษุรูปนั้นทูลว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้นำขนเจียมมาไกลเกิน ๓โยชน์ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เป็นเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือ

เพื่อความเลื่อมใสยิ่งขอองชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำ

ของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุรูปนั้น โดยอเนกปริยาย ดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี

ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคน

บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 919

อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนก

ปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลายแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่

ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุนชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๕. ๖. อนึ่ง ขนเจียมเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้เดินทางไกล ภิกษุต้อง

การพึงรับได้ ครั้นรับแล้ว เมื่อคนถือไม่มี พึงถือไปด้วยมือของตนเอง

ตลอดระยะทาง ๓ โยชน์เป็นอย่างมาก ถ้าเธอถือเอาไปยิ่งกว่านั้น แม้

คนถือไม่มี เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์.

เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 920

สิกขาบทวิภังค์

[๙๘] บทว่า แก่ภิกษุผู้เดินทางไกล ได้แก่ ภิกษุเดินทาง.

บทว่า ขนเจียมเกิดขึ้น คือ เกิดขึ้นแต่สงฆ์ก็ตาม แต่คณะ

ก็ตาม แต่ญาติก็ตาม แต่มิตรก็ตาม แต่ที่บังสุกุลก็ตาม แต่ทรัพย์ของ

ตนก็ตาม.

บทว่า ต้องการ คือ เมื่อปรารถนา ก็พึงรับได้.

คำว่า ครั้นรับแล้ว พึงถือไปด้วยมือของตนเอง ตลอดระยะทาง

๓โยชน์เป็นอย่างมาก คือ นำไปด้วยมือของตนเองได้ ชั่วระยะทาง

๓ โยชน์เป็นอย่างไกล.

บทว่า เมื่อคนถือไม่มี ความว่า คนอื่น คือสตรี หรือบุรุษ

คฤหัสถ์ หรือบรรพชิต สักคนหนึ่ง เป็นผู้ช่วยถือไปไม่มี.

คำว่า ถ้าเธอถือเอาไปยิ่งกว่านั้น แม้คนถือไม่มี อธิบายว่า เธอ

ก้าวเกิน ๓ โยชน์ เท้าแรกต้องอาบัติทุกกฏ เท้าที่สอง ขนเจียมเหล่านั้น

เป็นนิสสัคคีย์ เธอยืนอยู่ภายในระยะ ๓ โยชน์ โยนขนเจียมลงนอกระยะ

๓ โยชน์ก็เป็นนิสสัคคีย์ ซ่อนไว้ในยานพาหนะก็ตาม ในห่อถุงก็ตาม

ของคนอื่น ซึ่งเขาไม่รู้ ให้ล่วง ๓ โยชน์ไป ก็เป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของ

จำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละขนเจียมนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 921

ท่านเจ้าข้า ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้าให้ล่วงเลย ๓ โยชน์

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้ แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ขนเจียมเหล่านี้ของภิกษุนี้

ชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของ

สงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ขนเจียมเหล่านี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่กว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้าให้ล่วง ๓ โยชน์ เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า ขนเจียมเหล่านี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้ขนเจียมเหล่านี้แก่ภิกษุ

มีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 922

ท่าน ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้าให้ล่วงเลย ๓ โยชน์ เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้นพึงรับอาบัติ พึง

คืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้ขนเจียมเหล่านี้ แก่ท่าน

ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[ ๙๙] เกิน ๓ โยชน์ ภิกษุสำคัญว่าเกิน เดินเลย ๓ โยชน์ไป

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เกิน ๓ โยชน์ ภิกษุสงสัย เดินเลย ๓ โยชน์ไป เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เกิน ๓ โยชน์ ภิกษุสำคัญว่าหย่อน เดินเลย ๓ โยชน์ไป เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

หย่อน ๓ โยชน์ ภิกษุสำคัญว่าเกิน...ต้องอาบัติทุกกฏ

หย่อน ๓ โยชน์ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

หย่อน ๓ โยชน์ ภิกษุสำคัญว่าหย่อน...ไม่ต้องอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 923

อนาปัตติวาร

[๑๐๐] ภิกษุถือไปเพียงระยะ ๓ โยชน์ ๑ ภิกษุถือไปหย่อนระยะ

๓ โยชน์ ๑ ภิกษุถือไปก็ดี ถือกลับมาก็ดี เพียงระยะ ๓ โยชน์ ๑ ภิกษุ

ถือไปเพียง ๓ โยชน์ แล้วพักแรมเสีย รุ่งขึ้นต่อจากนั้นไปอีก ๑ ขนเจียม

ถูกโจรชิงไปแล้ว ภิกษุได้คืนมา ถือไปอีก ๑ ขนเจียมที่สละแล้ว ภิกษุ

ได้คืนมา ถือไปอีก ๑ ภิกษุให้คนอื่นช่วยถือไป ๑ ขนเจียมที่ทำเป็นสิ่ง

ของแล้วภิกษุถือไป ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๖ จบ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๖

พรรณนาเอฬกโลมสิกขาบท

เอฬกโลมสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในเอฬกโลมสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า อุปฺผณฺเฑสุ มีความว่า พวกชาวบ้านกล่าวคำสัพยอก

เป็นต้นว่า ท่านขอรับ (ขนเจียมนี้) ท่านซื้อมาด้วยราคาเท่าไร่ ?

สองบทว่า ิตโกว อาสุมฺภิ มีความว่า พวกชาวบ้านขนมัดฟืน

แบกใหญ่มาจากป่าเหน็ดเหนื่อยแล้วโยนลงไป ทั้ง ๆ ที่ยืนอยู่ฉันใด ภิกษุนี้

ได้โยน (ขนเจียม) ให้ตกลงไปฉันนั้น.

บทว่า สหคฺถา แปลว่า ด้วยมือตนเอง. มีคำอธิบายว่า นำไป

ด้วยตนเอง.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 924

สองบทว่า พหิติโยชน ปาเตติ มีความว่า โยนออกไปภายนอก

๓ โยชน์. เมื่อขนเจียมจะตกไปโดยไม่มีอันตราย พอพ้นจากมือ เป็น

นิสสัคคีย์ยปาจิตตีย์มากตัวตามจำนวนเส้นขน. ถ้าขนเจียมที่โยนไปนั้น

กระทบที่ต้นไม้ หรือเสาในภายนอก ๓ โยชน์แล้วตกลงภายใน (๓ โยชน์)

อีก ยังไม่ต้องอาบัติ. ถ้าห่อขนเจียม ตกลงฟื้นหยุดแล้วกลิ้งไป กลับ

เข้ามาภายใน ( ๓ โยชน์) อีก เป็นอาบัติแท้.

ภิกษุยืนข้างในเอามือ หรือเท้า หรือไม้เท้ากลิ้งไป, ห่อขนเจียม

จะหยุด หรือไม่หยุดก็ตาม กลิ้งออกไป, เป็นอาบัติเหมือนกัน. ภิกษุ

วางไว้ด้วยตั้งใจว่า คนอื่นจักนำไป, แม้เมื่อคนนั้นนำขนเจียมไปเป็น

อาบัติเหมือนกัน. ขนเจียมที่ภิกษุวางไว้ด้วยจิตบริสุทธิ์ลมพัดไปหรือคนอื่น

ให้ตกไป ในภายนอกโดยธรรมดาของตน เป็นอาบัติเหมือนกัน เพราะ

ภิกษุมีอุตสาหะ และเพราะสิกขาบทเป็นอจิตตกะ. แต่ในกุรุนทีเป็นต้น

ท่านกล่าวอนาบัติไว้ ในเพราะขนเจียมที่ถูกลมพัดไป หรือบุคคลอื่นให้

ตกไปภายนอกนี้, อนาบัติที่ท่านกล่าวไว้นั้น ไม่สมด้วยบาลีแห่งอนา-

ปัตติวาร.

ภิกษุกระทำห่อทั้งสองข้างให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน เมื่อวางไว้ให้

ห่อหนึ่งอยู่ภายในเขตแดน อีกห่อหนึ่งให้อยู่ในภายนอกเขตแดน, ยัง

รักษาอยู่ก่อน. แม้ในหาบที่เนื่องเป็นอัน เดียวกัน ก็มีนัยเหมือนกันนี้.

แต่ถ้าว่าขนเจียมเป็นเพียงแต่ภิกษุวางไว้ที่ปลายหาบมิได้ผูกเลย, ย่อมคุ้ม

อาบัติไม่ได้. เมื่อภิกษุสับเปลี่ยนแม้ขนเจียมที่เนื่องเป็นอันเดียวกันไปวาง

ไว้แทน ก็เป็นอาบัติเหมือนกัน.

ในคำว่า อญฺสฺส ยาเน วา นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุวางไว้บน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 925

ยาน หรือบนหลังช้างเป็นต้น ซึ่งกำลังไป ด้วยตั้งใจว่า เมื่อเจ้าของเขา

ไม่รู้เลย มันจักนำไปเอง, เมื่อยานนั้น ล่วงเลย ๓ โยชน์ ไปเป็นอาบัติ

ทันที. แม้ในยานที่จอดอยู่ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ก็ถ้าว่า ภิกษุวาง

ขนเจียมไว้บนยาน หรือบนหลังช้างเป็นต้นที่ไม่ไป แล้วขึ้นขับขี่ไป หรือ

ไปเตือนภายใต้ (ให้ไป) หรือเรียกให้ (จอดอยู่) ติดตามไป, ไม่เป็นอาบัติ

เพราะพระบาลีว่า ภิกษุให้คนอื่นช่วยนำไป. แต่ในกุรุนทีเป็นต้นท่าน

กล่าวว่า เป็นอาบัติ. คำนั้นไม่สมด้วยคำนี้ว่า ภิกษุให้คนอื่นช่วยนำไป.

ก็ในอทินนาทานเป็นอาบัติในเพราะสุงกฆาฏ (ตระบัดภาษี). แท้จริง

อาบัติใด ในอทินนาทานนั้น, อาบัตินั้น เป็นอนาบัติในสิกขาบทนี้,

อาบัติใดในสิกขาบทนี้, อาบัตินั้น เป็นอนาบัติในอทินนาทานนั้น.

ภิกษุไปถึงสถานที่นั้นส่งใจไปอื่น หรือถูกพวกโจรเป็นต้นรบกวน

เลยไปเสียก็ดี, เป็นอาบัติเหมือนกัน . พึงทราบจำนวนอาบัติ ตามจำนวน

เส้นขนในฐานะทั้งปวง.

หลายบทว่า ติโยชน วาสาธิปฺปาโย คนฺตฺวา ตโต ปร หรติ มี

ความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้นำไป แม้ตั้งร้อยโยชน์อย่างนี้ คือเพราะ

ไม่ได้อุเทศและปริปุจฉาเป็นต้น ในที่ที่คนไปแล้ว ภิกษุจึงไปในที่อื่นต่อ

จากที่นั้น, ไปในที่อื่นแม้จากที่นั้น.

สองบทว่า อจฺฉินฺน ปฏิลภิตฺวา มีความว่า พวกโจรชิงเอาขนเจียม

นั้นไป รู้ว่าไม่มีประโยชน์แล้วคืนให้, ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้นำขนเจียม

นั้นไป.

สองบทว่า นิสฺสฏฺ ปฏิลภิตฺวา มีความว่า ได้ขนเจียมที่ทำวินัย-

กรรมแล้วคืนมา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 926

บทว่า กตภณฺฑ มีความว่า ขนเจียมที่เขาทำเป็นสิ่งของ มีผ้า

กัมพล พรม และสันถัตเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่งโดยที่สุดแม้เพียงมัด

ด้วยเส้นด้าย. อนึ่ง ภิกษุใด สอดขนเจียมลงในระหว่างถลกบาตรบาง ๆ

ก็ดี ในหลืบผ้ารัดเข่า ผ้าอังสะ และประคดเอวเป็นต้นก็ดี ในฝักมีด เพื่อ

ป้องกันสนิมกรรไกรเป็นต้นก็ดี โดยที่สุดอาพาธเป็นลม ยอนขนเจียมไว้

แม้ในช่องหูแล้วเดินไปเป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้นเหมือนกัน, แต่ขนเจียมที่มัด

ด้วยด้ายใส่ไว้ (ในระหว่างรองเท้าและถลกบาตรเป็นต้น) ย่อมตั้งอยู่ใน

ฐานะแห่งขนเจียมที่ทำเป็นสิ่งของ. ภิกษุทำให้เป็นช้องผมแล้วนำไป, นี้

ชื่อว่าทางเลี่ยงเก็บ, เป็นอาบัติเหมือนกัน. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

บรรดาสมุฏฐานเป็นต้น เอฬกโลมสิกขาบทนี้ ชื่อว่าเอฬกโลม-

สมุฏฐาน (มีขนเจียมเป็นสมุฏฐาน) ย่อมเกิดขึ้น ทางกาย ๑ ทางกายกับ

จิต ๑ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม

มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

เอฬกโลมสิกขาบทที่ ๖ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๗

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๐๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ นิโคร-

ธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ แถบสักกชนบท ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์

ใช้ภิกษุณีซักบ้าง ย้อมบ้าง สางบ้าง ซึ่งขนเจียม ภิกษุณีทั้งหลายมัว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 927

สาละวนซัก ย้อม สาง ขนเจียมอยู่ จึงละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล

อธิจิต อธิปัญญา

ครั้งนั้นแล พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี เสด็จเข้าเฝ้าพระผู้มีพระ-

ภาคเจ้า ณ พุทธสำนัก ครั้นถวายบังคมแล้ว ได้ประทับยืน ณ ที่ควร

ส่วนข้างหนึ่ง

พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามพระมหาปชาบดีโคตมีเถรีผู้ประทับอยู่

ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแลว่า ดุก่อนพระโคตมี พวกภิกษุณียังเป็นผู้ไม่

ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่หรือ

พระนางกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ความไม่ประมาทของพวก

ภิกษุณีจักมีแต่ไหน เพราะพระผู้เป็นเจ้าเหล่าฉัพพัคคีย์ใช้ภิกษุณีซักบ้าง

ย้อมบ้าง สางบ้าง ซึ่งขนเจียม ภิกษุณีทั้งหลายมัวสาละวนซัก ย้อม สาง

ขนเจียมอยู่ จึงละเลยอุเทศ ปริปุจฉา อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา

ครั้นนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชี้แจงให้พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี

สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถาแล้ว พระนางถวายบังคม

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำประทักษิณ หลีกไปแล้ว

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ใน

เพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถาม

พระฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอใช้ภิกษุณีซักบ้าง

ย้อมบ้าง สางบ้าง ซึ่งขนเจียมจริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 928

พ. เขาเป็นญาติของพวกเธอ หรือมิใช่ญาติ

ฉ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ภิกษุผู้มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำที่

สมควรหรือไม่สมควร อาการที่น่าเลื่อมใสหรือไม่น่าเลื่อมใส ของ

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น พวกเธอยังใช้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ให้ซักบ้าง ย้อมบ้าง สางบ้าง ซึ่งขนเจียมได้ การกระทำของพวก

เธอนั้น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือ

เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำ

ของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุง

ง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการ

ที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 929

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๖. ๗. อนึ่ง ภิกษุใด ยังภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ให้ซักก็ดี ให้

ย้อมก็ดี ให้สางก็ดี ซึ่งขนเจียม เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๐๒] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 930

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตตถ-

กรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ใน

อรรถนี้

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี

ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ที่ชื่อว่า ภิกษุณี ได้แก่ สตรีผู้อุปสมบทแล้วในสงฆ์ ๒ ฝ่าย

ภิกษุสั่งว่า จงซัก ต้องอาบัติทุกกฏ ขนเจียมที่ซักแล้ว เป็น

นิสสัคคีย์

ภิกษุสั่งว่า จงย้อม ต้องอาบัติทุกกฏ ขนเจียมที่ย้อมแล้ว เป็น

นิสสัคคีย์

ภิกษุสั่งว่า จงสาง ต้องอาบัติทุกกฏ ขนเจียมที่สางแล้ว เป็น

นิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำต้องเสียสละะแก่สงฆ์ คณะ หรือบุศคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละขนเจียมนั้นอย่างนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 931

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้า ใช้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ซักแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ขนเจียมเหล่านี้ของภิกษุมี

ชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ขนเจียมเหล่านี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ-

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้า ใช้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ

ซักแล้ว เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้แก่ท่าน

ทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า ขนเจียมเหล่านี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 932

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้ขนเจียมเหล่านี้แก่ภิกษุ

มีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่าน ขนเจียมเหล่านี้ของข้าพเจ้า ใช้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักแล้ว

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละขนเจียมเหล่านี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนขนเจียมที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้ขนเจียมเหล่านี้แก่ท่าน

ดังนี้.

บทภาชนีย์

สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๑

[๑๐๓] ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ซึ่งขน

เจียมเป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้สาง ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ให้สาง

ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 933

สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้สาง ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กันนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้สาง ให้

ซัก ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้สาง ซึ่งขนเจียม

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้สาง ให้ซัก ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้สาง ให้ย้อม ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้สาง ให้ซัก ให้ย้อม

ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ซึ่งขนเจียม เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 934

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ชัก ให้สาง ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ให้สาง ซึ่งขนเจียม

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้สาง ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้สาง ให้ซัก ซึ่งขนเจียม

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สงสัย จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้สาง ซึ่งขนเจียม เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้สาง ให้ซัก ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 935

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้สาง ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม ต้อง

อาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้สาง ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม

ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๑

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ซึ่งขนเจียม

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้สาง ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ไห้สาง

ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๒

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ซึ่งขนเจียม

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้สาง ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งขน

เจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 936

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้สาง ให้ซัก

ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๓

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้สาง ซึ่งขนเจียม เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้สาง ให้ซัก ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้สาง ให้ย้อม ซึ่ง

ขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ กับนิสสัคคีย์

ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้สาง ให้ซัก ให้ย้อม

ซึ่งขนเจียม ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์

ทุกกฏ

ภิกษุ ใช้ภิกษุณี ซักขนเจียมของภิกษุอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุ ใช้ภิกษุณีผู้อุปสมบทแต่สงฆ์ฝ่ายเดียวซัก ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ...ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ...ไม่ต้องอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 937

อนาปัตติวาร

[๑๐๔] ภิกษุณีผู้เป็นญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติเป็นผู้ช่วย

เหลือ ๑ ภิกษุไม่ได้บอกใช้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุใช้ให้ซัก

ขนเจียม ที่ทำเป็นสิ่งของแล้วแต่ยังไม่ได้ใช้ ๑ ใช้สิกขมานาซัก ๑ ใช้

สามเณรีซัก ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๗ จบ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๗

พรรณาเอฬกโลมโธวาปนสิกขาบท

เอฬกโลมโธวาปนสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะ

กล่าวต่อไป:-

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ริญฺจนฺติ แปลว่า ย่อมละทิ้ง คือ

ย่อมสละเสีย. มีคำอธิบายว่า ย่อมไม่อาจเพื่อจะประกอบเนือง ๆ.

คำที่เหลือในเอฬกโลมโธวาปนสิกขาบทนี้ พร้อมทั้งสมุฏฐาน

เป็นต้น มีนัยดังกล่าวแล้วในปุราณจีวรสิกขาบทนั่นแล.

เอฬกโลมโธวาปนสิกขายบทที่ ๗ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๑๐๕] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 938

ครั้งนั้นท่านพระอุปนันทศากยบุตร เป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหาร

อยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น เขาย่อมแบ่งส่วน

ไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น

เขาจึงแบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร เด็กของสกุล

นั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้องอ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า บุรุษผู้สามี

จึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน

ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศายบุตร นุ่งอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร

เข้าไปสู่สกุลนั้น แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย

ทันใด บุรุษนั้นเข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตร กราบแล้ว

นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบเรียนว่า ท่านเจ้าข้า เมื่อเย็นวานนี้มี

มีเนื้อเกิดขึ้น ผมได้เก็บไว้ถวายพระคุณเจ้าส่วนหนึ่ง จากนั้นเด็กคนนี้

ตื่นขึ้นแต่เช้ามืดร้องอ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า ผมจึงได้ให้เนื้อ

ส่วนของพระคุณเจ้าแก่เด็ก พระคุณเจ้าจะให้ผมจัดหาอะไรมาถวายด้วย

ทรัพย์กหาปณะหนึ่ง ขอรับ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรถามว่า เธอบริจาคทรัพย์กหาปณะหนึ่ง

แก่เราแล้วหรือ

บุ. ขอรับ ผมบริจาคแล้ว

อุ. เธอจงให้กหาปณะนั้นแหละแก่เรา

บุรุษนั้นได้ถวายกหาปณะแก่ท่านพระอุปนันทศากยบุตร ในทันใด

นั้นเองแล้วเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระ-

ศากบุตรเหล่านี้ รับรูปิยะเหมือนพวกเรา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 939

ภิกษุทั้งหลายได้ยินบุรุษนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดา

ภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อ

สิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรจึงได้รับรูปิยะเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่าเธอรับรูปิยะจริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้รับรูปิยะเล่า การกระทำของเธอนั่น ไมเป็น

ไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใส

ยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไป

เพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตร โดย

อเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็น

คนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 940

คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความ

เป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดย

อเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้ :-

พระบัญญัติ

๓๗. ๘. อนึ่ง ภิกษุใด รับก็ดี ให้รับก็ดี ซึ่งทอง เงิน หรือ

ยินดีทอง เงิน อันเขาเก็บไว้ให้ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 941

สิกขาบทวิภังค์

[๑๐๖] บทวา อนึ่ง...ใด ความวา ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม

เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า พระพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดย

ปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุ

เหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม

อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า ทอง ตรัสหมายทองคำ

ที่ชื่อว่า เงิน ได้แก่ กหาปณะ มาสกที่ทำด้วยโลหะ มาสกที่ทำ

ด้วยไม้ มาสกที่ทำด้วยครั้ง ซึ่งใช้เป็นมาตราสำหรับแลกเปลี่ยนซื้อขาย

กันได้.

บทว่า รับ คือ รับเอง เป็นนิสสัคคีย์.

บทว่า ให้รับ คือ ให้คนอื่นรับแทน เป็นนิสสัคคีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 942

บทว่า หรือยินดีทองเงินอันเขาเก็บไว้ให้ ความว่า หรือยินดี

ทองเงินที่เขาเก็บไว้ให้ด้วยบอกว่า ของนี้จงเป็นของพระคุณเจ้า ดังนี้

เป็นต้น เป็นนิสสัคคีย์ ทอง เงิน ที่เป็นนิสสัคคีย์ ต้องเสียสละในท่าม

กลางสงฆ์

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละรูปิยะนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละรูปิยะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้ารับรูปิยะไว้แล้ว ของนี้ของข้าพเจ้า เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละรูปิยะนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

ถ้าคนผู้ทำการวัด หรืออุบาสก เดินมาในสถานที่เสียสละนั้น พึงบอก

เขาว่า ท่านจงรู้ของสิ่งนี้ ถ้าเขาถามว่า จะให้ผมนำของสิ่งนี้ไปหาอะไร

มา อย่าบอกว่า จงนำของสิ่งนี้หรือของสิ่งนี้มา ควรบอกแต่ของที่เป็น

กัปปิยะ เช่น เนยใส น้ำมัน น้ำผึ้ง หรือน้ำอ้อย ถ้าเขานำรูปิยะนั้น

ไปแลกของที่เป็นกัปปิยะมาถวาย เว้นภิกษุผู้รับรูปิยะ ภิกษุนอกนั้นฉันได้

ทุกรูป ถ้าได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าไม่ได้พึงบอกเขาว่า โปรดช่วย

ทิ้งของนี้ ถ้าเขาทิ้งให้ นั่นเป็นการดี ถ้าเขาไม่ทิ้งให้ พึงสมมติภิกษุ

ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 943

องค์ ๕ ของภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะ

องค์ ๕ นั้น คือ ๑.ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความชอบพอ ๒. ไม่

ถึงความลำเอียงเพราะเกลียดชัง ๓. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะงมงาย ๔. ไม่

ถึงความลำเอียงเพราะกลัว และ ๕. รู้จักว่าทำอย่างไรเป็นอันทิ้งหรือไม่

เป็นอันทิ้ง

ก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสมมติภิกษุนั้น อย่างนี้:-

วิธีสมมติภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะ

พึงขอภิกษุให้รับตกลงก่อน ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ

พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

คำสมมติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ นี่เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็น

ผู้ทิ้งรูปิยะ การสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ ชอบแก่ท่านผู้ใด

ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุมีชื่อนี้ สงฆ์สมมติให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะแล้ว ชอบแก่สงฆ์

เหตุนั้นจงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้

ภิกษุผู้รับสมมติแล้วนั้น พึงทิ้งอย่าหมายที่ตก ถ้าทิ้งหมายที่ตก

ต้องอาบัติทุกกฏ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 944

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๐๗] รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าเป็นรูปิยะ รับรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

รูปิย ะ ภิกษุสงสัย รับรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่รูปิยะ รับรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ไม่ใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าเป็นรูปิยะ ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ใช่รูปิยะ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ไม่ใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าไม่ใช่รูปิยะ... ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๐๘] ทองเงินตกอยู่ภายในวัดก็ดี ภายในที่อยู่ก็ดี ภิกษุหยิบยก

เองก็ดี ใช้ให้หยิบยกก็ดี แล้วเก็บไว้ด้วยตั้งใจว่า เป็นของผู้ใด ผู้นั้น

จักนำไปดังนี้ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 945

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๘

พรรณนารูปิยสิกขาบท

รูปิยสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในรูปิยสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า ปฏิวึโส แปลว่า ส่วน.

ในบทว่า ชาตรูปรชต นี้ คำว่า ชาตรูป เป็นชื่อแห่งทองคำ.

ก็เพราะทองคำนั้นเป็นเช่นกับพระฉวีวรรณแห่งพระตถาคต; เพราะฉะนั้น

ท่านจึงกล่าวไว้ในบทภาชนะว่า ท่านเรียกพระฉวีวรรณของพระศาสดา.

เนื้อความแห่งบทภาชนะนั้นว่า โลหะพิเศษมีสีเหมือนพระฉวีวรรณของ

ของพระศาสดา นี้ชื่อว่า ชาตรูป (ทองคำธรรมชาติ ). ส่วนเงินท่านเรียก

ว่า รูปิยะ. ในคำทั้งหลายว่า สังข์ ศิลา ประพาฬ เงิน ทอง เป็นต้น.

แต่ในสิกขาบทนี้ ท่านประสงค์เอากหาปณะเป็นต้นอย่างใดอย่างอย่างหนึ่ง

ที่ให้ถึงการซื้อขายได้. เพราะเหตุนั้นนั่นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า รชต

นั้น ท่านจึงกล่าวคำว่า กหาปณะ โลหมาสก ดังนี้ เป็นต้น.

[อธิบายวัตถุแห่งนิสสัคคีย์และทุกกฏ]

บรรดาบทว่า กหาปณะ เป็นต้นนั้น กหาปณะที่เขาทำด้วย

ทองคำก็ดี ทำด้วยเงินก็ดี กหาปณะธรรมดาก็ดี ชื่อว่า กหาปณะ.

มาสกที่ทำด้วยแร่ทองแดงเป็นต้น ชื่อว่า โลหมาสก.

มาสกที่ทำด้วยไม้แก่นก็ดี ด้วยข้อไม้ไผ่ก็ดี โดยที่สุดแม้มาสกที่เขา

ทำด้วยใบตาลสลักเป็นรูป ก็ชื่อว่า มาสกไม้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 946

มาสกที่เขาทำด้วยครั่งก็ดี ด้วยยางก็ดี ดุนให้เกิดรูปขึ้น ชื่อว่า

มาสกยาง.

ก็ด้วยบทว่า เย โวหาร คจฺฉนฺติ นี้ ท่านสงเคราะห์เอามาสก

ทั้งหมดที่ใช้เป็นมาตราซื้อขายในชนบท ในเวลาซื้อขายกัน โดยที่สุดทำ

ด้วยกระดูกบ้าง ทำด้วยหนังบ้าง ทำด้วยเมล็ดผลไม้บ้าง ดุนให้เป็นรูปบ้าง

มิได้ดุนให้เป็นรูปบ้าง. วัตถุทั้ง ๔ อย่าง คือ เงิน ทอง ทั้งหมดนี้อย่างนี้

(และ) มาสกทอง มาสกเงิน มีประเภทดังกล่าวแล้วแม้ทั้งหมด จัดเป็น

วัตถุแห่งนิสสัคคีย์, วัตถุนี้ คือ มุกดา มณี ไพฑูรย์ สังข์ ศิลา ประพาฬ

ทับทิม บุพราคัม ธัญชาติ ๗ ชนิด ทาสหญิง ทาสชาย นาไร่ สวนดอกไม้

สวนผลไม้เป็นต้น จัดเป็นวัตถุแห่งทุกกฏ. วัตถุนี้ คือ ด้าย ผาลไถ ผืนผ้า

ฝ้ายอปรัณชาติมีอเนกประการ และเภสัช มีเนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง

น้ำอ้อยงบเป็นต้น จัดเป็นกัปปิยวัตถุ.

บรรดานิสสัคคิยวัตถุและทุกกฏวัตถุนั้น ภิกษุจะรับนิสสัคคิยวัตถุ

เพื่อประโยชน์ตนเอง หรือเพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ คณะบุคคลและเจดีย์

เป็นต้น ย่อมไม่ควร, เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ แก่ภิกษุผู้รับเพื่อประโยชน์

แก่ตนเอง. เป็นทุกกฏแก่ภิกษุผู้รับเพื่อประโยชน์แก่สิ่งที่เหลือ เป็น

ทุกกฏอย่างเดียว แก่ภิกษุผู้รับทุกกฏวัตถุ เพื่อประโยชน์ทุกอย่าง, ไม่เป็น

อาบัติในกัปปิยวัตถุ. เป็นปาจิตตีย์ด้วยอำนาจที่มาในรัตนสิกขาบทข้างหน้า

แก่ภิกษุผู้รับวัตถุมีเงินเป็นต้นแม้ทั้งหมด ด้วยหน้าที่แห่งภัณฑาคาริก

เพื่อต้องการจะเก็บไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 947

[ว่าด้วยการรับ การใช้ให้รับ และวิธีปฏิบัติในรูปิยะ]

บทว่า อุคฺคณฺเหยฺย แปลว่า พึงถือเอา. ก็เพราะเมื่อภิกษุรับเอา

จึงต้องอาบัติ; ฉะนั้น ในบทภาชนะแห่งบทว่า อุคฺคณฺเหยฺย นั้น ท่าน

จึงกล่าวว่า ภิกษุรับเอง เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. แม้ในบทที่เหลือ ก็มี

นัยอย่างนี้ .

ในการรับเองและใช้ให้รับนั้น มีวินิจฉัยดังนี้:-

เป็นอาบัติตัวเดียวแก่ภิกษุผู้รับเอง หรือใช้ให้รับวัตถุสิ่งเดียว ใน

บรรดาภัณฑะ คือ ทองเงิน ทั้งกหาปณะ และมาสก. ถ้าแม้นว่า ภิกษุ

รับเอง หรือใช้ให้รับตั้งพันอย่างรวมกัน, เป็นอาบัติมากตามจำนวนวัตถุ.

แต่ในมหาปัจจรีและกุรุนที กล่าวรวมกันว่า เป็นอาบัติ โดยนับรูป

ในถุงที่ผูกไว้หย่อน ๆ หรือในภาชนะที่บรรจุไว้หลวม ๆ. ส่วนในถุงที่

ผูกไว้แน่น หรือในภาชนะที่บรรจุแน่น เป็นอาบัติตัวเดียวเท่านั้น.

ส่วนในการยินดีเงินทองที่เขาเก็บไว้ มีวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อเขา

กล่าวว่า นี้เป็นของพระผู้เป็นเจ้า ถ้าแม้นภิกษุยินดีด้วยจิต เป็นผู้

ใคร่เพื่อจะรับเอาด้วยกายหรือวาจา, แต่ปฏิเสธว่า นี้ไม่ควร ไม่เป็น

อาบัติ. แม้ไม่ห้ามด้วยกายและวาจา เป็นผู้มีจิตบริสุทธิ์ ไม่ยินดีด้วยคิดว่า

นี้ไม่ควรแก่เรา ไม่เป็นอาบัติเหมือนกัน. จริงอยู่ บรรดาไตรทวาร

อันภิกษุห้ามแล้วด้วยทวารใดทวารหนึ่ง ย่อมเป็นอันห้ามแล้วแท้. แต่ถ้า

ไม่ห้ามด้วยกายและวาจา รับอยู่ด้วยจิต ย่อมต้องอาบัติ ในกายทวาร

และวจีทวาร มีการไม่กระทำเป็นสมุฏฐาน เพราะไม่กระทำการห้ามที่ตน

พึงกระทำด้วยกายและวาจา. แต่ ชื่อว่า อาบัติ ทางมโนทวาร ไม่มี.

บุคคลคนเดียววางเงินทองตั้งร้อยตั้งพันไว้ใกล้เท้า ด้วยกล่าวว่า นี้ จงเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 948

ของท่าน. ภิกษุห้ามว่า นี้ไม่ควร. อุบาสกพูดว่า กระผมสละถวายท่าน

แล้ว ก็ไป มีคนอื่นมาที่นั้น ถามว่า นี้อะไร ขอรับ ! ภิกษุพึงบอก

คำที่อุบาสกนั้น และคนพูดกัน. ถ้าเขาพูดว่า ผมจักเก็บให้ ขอรับ !

ท่านจงแสดงที่เก็บ. ภิกษุพึงขึ้นไปยังปราสาทถึงชั้น ๗ แล้วพึงบอกว่า นี้ที่

เก็บ. แต่อย่าพึงบอกว่า จงเก็บไว้ในที่นี้. อกัปปิยวัตถุ (มีทองและเงิน

เป็นต้น ) ย่อมเป็นอันอาศัยวัตถุที่เป็นกัปปิยะและอกัปปิยะ ตั้งอยู่ด้วย

คำบอกมีประมาณเท่านี้, พึงปิดประตูแล้วอยู่รักษา.

ถ้าว่า อุบาสกถือเอาบาตรและจีวรซึ่งเป็นของจะขายบางอย่างมา,

เมื่อเขากล่าวว่า ท่านจักรับสิ่งนี้ไหม ขอรับ ! พึงกล่าวว่า อุบาสก

พวกเรามีความต้องการสิ่งนี้ และวัตถุชื่อเห็นปานนี้ ก็มีอยู่, แต่ไม่มี

กัปปิยการก. ถ้าเขาพูดว่า ผมจักเป็นกัปปิยการก, ขอท่านโปรดเปิด

ประตูให้เถิด พึงเปิดประตูแล้ว กล่าวว่า ตั้งอยู่ในโอกาสโน้น. และ

อย่าพึงกล่าวว่า ท่านจงถือเอาสิ่งนี้. แม้อย่างนี้ อกัปปิยวัตถุก็เป็น

อันอาศัยวัตถุที่เป็นกัปปิยะและอกัปปิยะตั้งอยู่เหมือนกัน. ถ้าเขาถือเอา

กหาปณะนั้นแล้ว ถวายกัปปิยภัณฑ์แก่เธอ, ควรอยู่. ถ้าเขาถือเอาเกินไป

พึงบอกเขาว่า พวกเราจักไม่เอาภัณฑะของท่าน, จงเก็บเสีย.

ในคำว่า สงฺฆมชฺเฌ นิสฺสชฺชิตพฺพ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่

ตรัสว่าพึงสละ แก่สงฆ์ หรือแก่คณะ หรือแก่บุคคล ก็เพราะธรรมดา

ว่ารูปิยะเป็นอกัปปิยะ (เป็นของไม่สมควร).

อนึ่ง เพราะรูปิยะนั้น เป็นเพียงแต่ภิกษุรับไว้เท่านั้น เธอไม่

ได้จ่ายหากัปปิยภัณฑ์อะไรด้วยรูปิยะนั้น; ฉะนั้น เพื่อทรงแสดงการใช้

สอยโดยอุบาย จึงตรัสว่า พึงสละในท่ามกลางแห่งสงฆ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 949

ข้อว่า กปฺปิย อาจิกฺขิตพฺพ สปฺปิ วา มีความว่า พึงบอก

อย่างนี้ว่า อุบาสก เนยใส หรือน้ำมัน ย่อมควรแก่บรรพชิตทั้งหลาย.

[ปัจจัยที่ได้จากรูปิยะที่ภิกษุรับ ไม่ควรแก่เธอผู้รับ]

ข้อว่า รูปิยปฏิคฺคาหก เปตฺวา สพฺเพเหว ปริภุญฺชิตพฺพ

มีความว่า ภิกษุทั้งหมดพึงแจกกันบริโภค. ภิกษุผู้รับรูปิยะไม่พึงรับ

ส่วนแบ่ง. แม้ได้ส่วนที่ถึงแก่พวกภิกษุอื่นหรืออารามิกชนแล้ว จะบริโภค

ก็ไม่ควร. โดยที่สุด เนยใส หรือน้ำมันนั้น อันดิรัจฉานมีลิงเป็นต้น

ลักเอาไปจากส่วนแบ่งนั้น วางไว้ในป่า หรือที่หล่นจากมือของสัตว์

เหล่านั้น ยังเป็นของอันดิรัจฉานหวงแหนก็ดี เป็นของบังสุกุลก็ดี ไม่

สมควรทั้งนั้น. แม้จะอบเสนาสนะ ด้วยน้ำอ้อยที่นำมาจากส่วนแบ่งนั้น

ก็ไม่ควร. จะตามประทีปด้วยเนยใส หรือน้ำมันแล้วนอนก็ดี กระทำ

กสิณบริกรรมก็ดี สอนหนังสือก็ดี ด้วยแสงสว่างแห่งประทีป ไม่ควร.

อนึ่ง จะทาแผลที่ร่างกายด้วยน้ำมัน น้ำผึ้งและน้ำอ้อยเป็นต้น จากส่วน

แบ่งนั้น ก็ไม่ควรเหมือนกัน.

คนทั้งหลาย เอาวัตถุนั้น จ่ายหาเตียงและตั่งเป็นต้นก็ดี สร้าง

อุโบสถาคารก็ดี สร้างโรงฉันก็ดี จะบริโภคใช้สอย ก็ไม่ควร. แม้ร่มเงา

(แห่งโรงฉัน เป็นต้น) อันแผ่ไปอยู่ตามเขตของเรือน ก็ไม่ควร. ร่มเงา

ที่เลยเขตไป ควรอยู่ เพราะเป็นของจรมา. จะเดินไปตามทางก็ดี

สะพานก็ดี เรือก็ดี แพก็ดี ที่เขาจำหน่ายวัตถุนั้นสร้างไว้ไม่ควร. จะดื่ม

หรือใช้สอยน้ำที่เอ่อขึ้นเต็มปริ่มสระโบกขรณี ซึ่งเขาให้ขุดด้วยวัตถุนั้น

ก็ไม่ควร. แต่ว่า เมื่อน้ำภายใน (สระ) ไม่มี น้ำที่ไหลมาใหม่ หรือ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 950

น้ำฝนไหลเข้าไป สมควรอยู่. แม้น้ำที่มาใหม่ซึ่งซื้อมาพร้อมกับสระ

โบกขรณีที่ซื้อมา (ด้วยวัตถุนั้น ) ก็ไม่ควร.

สงฆ์ตั้งวัตถุนั้นเป็นของฝาก (เก็บดอกผล) บริโภคปัจจัย แม้

ปัจจัยเหล่านั้น ก็ไม่ควรแก่เธอ. แม้อารามซึ่งเป็นที่อันสงฆ์รับไว้

(ด้วยวัตถุนั้น ) ก็ไม่ควรเพื่อบริโภคใช้สอย. ถ้าพื้นดินก็ดี พืชก็ดี เป็น

อกัปปิยะ, จะใช้สอยพื้นดิน จะบริโภคผลไม้ไม่ควรทั้งนั้น. ถ้าภิกษุ

ซื้อพื้นดินอย่างเดียว เพาะปลูกพืชอื่น, จะบริโภคผล ควรอยู่. ถ้าพืช

ภิกษุซื้อมาปลูกลงในพื้นดินอันเป็นกัปปิยะ จะบริโภคผล ไม่ควร. จะนั่ง

หรือนอนบนพื้นดิน ควรอยู่.

ข้อว่า สเจ โส ฉฑฺเฑติ มีความว่า เขาโยนทิ้งไป ที่แห่งใด

แห่งหนึ่ง. ถ้าแม้นเขาไม่ทิ้ง หรือถือเอาไปเสียเอง, ไม่พึงห้ามเขา

ข้อว่า โน เจ ฉฑฺเฑติ มีความว่า ถ้าเขาไม่ถือเอาไป และไม่

ทิ้งให้ หลีกไปตามความปรารถนา ด้วยใส่ใจว่า ประโยชน์อะไรของเรา

ด้วยการขวนขวายนี้, ลำดับนั้น สงฆ์พึงสมมติภิกษุผู้มีลักษณะตามที่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเเล้ว ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ.

[ว่าด้วยองค์แห่งภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะ]

ในคำว่า โย น ฉนฺทาคตึ เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุผู้

กระทำวัตถุนั้นเพื่อตน หรือยกตนขึ้นอ้าง ด้วยอำนาจแห่งความโลภ

ชื่อว่า ย่อมถึงความลำเอียงเพราะชอบกัน. เมื่อรุกรานผู้อื่นด้วยอำนาจ

แห่งโทสะว่า ภิกษุนี้ไม่รู้แม่บทเลย ไม่รู้วินัย ชื่อว่า ย่อมถึงความ ลำเอียง

เพราะโทสะ. เมื่อถึงความเป็นผู้พลั้งเผลอและหลงลืมสติด้วยอำนาจโมหะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 951

ชื่อว่า ย่อมถึงความลำเอียงเพราะหลง. เมื่อไม่อาจจะทิ้งเพราะกลัวภิกษุ

ผู้รับรูปิยะ ชื่อว่าย่อมถึงความลำเอียงเพราะกลัว. ภิกษุผู้ไม่กระทำอย่างนี้

บัณฑิตพึงทราบว่า ย่อมไม่ถึงความลำเอียงเพราะชอบกัน ฯลฯ ย่อมไม่ถึง

ความลำเอียงเพราะกลัว.

สองบทว่า อนิมิตฺต กตฺวา ได้แก่ ไม่กระทำให้มีที่หมาย. อธิบายว่า

ภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะนั้น หลับตาแล้ว ไม่เหลียวดูดุจคูถคือไม่กำหนดหมายที่ตก

พึงทิ้งให้ตกไปในแม่น้ำ ในเหว หรือในพุ่มไม้. ในรูปิยะแม้อันภิกษุ

พึงรังเกียจอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสบอกการบริโภคใช้สอย แก่

ภิกษุทั้งหลายโดยปริยาย. ก็การบริโภคปัจจัยที่เกิดขึ้นจากรูปิยะนั้น ย่อม

ไม่สมควรแก่ภิกษุผู้รับรูปิยะ โดยปริยายไร ๆ เลย. ก็การบริโภคปัจจัย

ที่เกิดขึ้นนี้ ไม่ควรแก่ภิกษุผู้รับรูปิยะนั่น ฉันใด. ปัจจัยที่เกิดขึ้น เพราะ

การอวดอุตริมนุสธรรมอันไม่มีจริงก็ดี เพราะกุลทูสกกรรมก็ดี เพราะ

การหลอกลวงเป็นต้นก็ดี ย่อมไม่ควรแก่ภิกษุนั้น และแก่ภิกษุอื่น ฉันนั้น

ถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นโดยธรรมโดยสม่ำเสมอ ยังไม่ได้พิจารณา จะบริโภค

ก็ไม่ควร.

[อธิบายการบริโภคปัจจัยมี ๔ อย่าง]

จริงอยู่ การบริโภค มี ๔ อย่าง คือ ไถยบริโภค (บริโภคอย่าง

ขโมย ) ๑ อิณบริโภค (บริโภคอย่างเป็นหนี้ ) ๑ ทายัชชบริโภค (บริโภค

อย่างเป็นผู้รับมรดก) ๑ สามีบริโภค (บริโภคอย่างเป็นเจ้าของ) ๑. บรรดา

การบริโภค ๔ อย่างนั้น การบริโภคของภิกษุผู้ทุศีลซึ่งนั่งบริโภคอยู่

แม้ในท่ามกลางสงฆ์ ชื่อว่า ไถยบริโภค. การบริโภคไม่พิจารณาของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 952

ภิกษุผู้มีศีล ชื่อว่า อิณบริโภค. เพราะฉะนั้น ภิกษุผู้มีศีลพึงพิจารณา

จีวรทุกขณะที่บริโภคใช้สอย บิณฑบาตพึงพิจารณาทุก ๆ คำกลืน. เมื่อ

ไม่อาจอย่างนั้น พึงพิจารณาในกาลก่อนฉัน หลังฉัน ยามต้น ยามกลาง

และยามสุดท้าย. หากเมื่อเธอไม่ทันพิจารณาอรุณขึ้น, ย่อมตั้งอยู่ในฐานะ

บริโภคหนี้. แม้เสนาสนะ ก็พึงพิจารณาทุก ๆ ขณะที่ใช้สอย . ความมี

สติเป็นปัจจัยทั้งในขณะรับทั้งในขณะบริโภคเภสัช ย่อมควร. แม้เมื่อ

เป็นอย่างนั้น ก็เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ทำสติในการรับ ไม่ทำในการบริโภค

อย่างเดียว. แต่ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่ทำสติในการรับ ทำแต่ในเวลา

บริโภค.

ก็สุทธิมี ๔ อย่าง คือ เทสนาสุทธิ (หมดจดด้วยการแสดง) ๑

สังวรสุทธิ (หมดจดด้วยสังวร) ๑ ปริยิฎฐิสุทธิ (หมดจดด้วยการแสวงหา) ๑

ปัจจเวกขณสุทธิ (หมดจดด้วยการพิจารณา) ๑. บรรดาสุทธิ ๔ อย่างนั้น

ปาฎิโมกขสังวรศีล ชื่อว่าเทสนาสุทธิ. ก็ปาฎิโมกขสังวรศีลนั้น ท่านเรียก

ว่า เทสนาสุทธิ เพราะบริสุทธิ์ด้วยการแสดง. อินทรียสังวรศีล ชื่อว่า

สังวรสุทธิ. ก็อินทรียสังวรศีลนั้น ท่านเรียกว่า สังวรสุทธิ เพราะ

บริสุทธิ์ด้วยสังวร คือ การตั้งจิตอธิษฐานว่า เราจักไม่ทำอย่างนี้อีก

เท่านั้น. อาชีวปริสุทธิศีล ชื่อว่า ปริยิฎฐิสุทธิ. ก็อาชีวปาริสุทธิศีลนั้น

ท่านเรียกว่า ปริยิฎฐิสุทธิ เพรา.่เป็นความบริสุทธิ์ด้วยการแสวงหา

ของภิกษุผู้ละอเนสนาแล้วยังปัจจัยทั้งหลายให้เกิดขึ้นโดยธรรม โดยสม่ำ

เสมอ. ปัจจัยบริโภคสันนิสสิตศีล ชื่อว่า ปัจจเวกขณสุทธิ. จริงอยู่

ปัจจัยบริโภคสันนิสสิตศีลนั้น ท่านเรียกว่า ปัจจเวกขณสุทธิ เพราะ

๑-๒. ในที่อื่น ๆ เป็น ปริเยฏฐิสุทธิ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 953

บริสุทธิ์ด้วยการพิจารณาที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้โดยนัยมีอาทิว่า ภิกษุ

ย่อมพิจารณาโดยแบบคายแล้วเสพจีวร ดังนี้. เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึง

กล่าวว่า แต่ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่ทำสติในการรับ ทำแต่ในการ

บริโภค. การบริโภคปัจจัยของพระเสขะ ๗ จำพวก ชื่อว่า ทายัชชบริโภค.

จริงอยู่ พระเสขะ ๗ จำพวกนั้น เป็นพระโอรสของพระผู้มีพระภาคเจ้า;

เพราะฉะนั้น จึงเป็นทายาทแห่งปัจจัยอันเป็นของพระพุทธบิดา บริโภคอยู่

ซึ่งปัจจัยเหล่านั้น.

ถามว่า ก็พระเสขะเหล่านั้น บริโภคปัจจัยของพระผู้มีพระภาคเจ้า

หรือบริโภคปัจจัยของพวกคฤหัสถ์ ?

ตอบว่า ปัจจัยเหล่านั้น แม้อันพวกคฤหัสถ์ถวาย ก็จริง. แต่ชื่อว่า

เป็นของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้

เพราะฉะนั้น บัณฑิตพึงทราบว่า พระเสขะเหล่านั้น บริโภคปัจจัยของ

พระผู้มีพระภาคเจ้า. ก็ธรรมทายาทสูตร เป็นเครื่องสาธกในการบริโภค

ปัจจัยของพระผู้มีพระภาคเจ้านี้.

การบริโภค ของพระขีณาสพทั้งหลาย ชื่อว่า สามีบริโภค. จริงอยู่

พระขีณาสพทั้งหลายเหล่านั้น ชื่อว่าเป็นเจ้าของบริโภคเพราะล่วงความ

เป็นทาสแห่งตัณหาได้แล้ว. บรรดาการบริโภคทั้ง ๔ นี้ สามีบริโภคและ

ทายัชชบริโภค ย่อมควรแม้แก่ภิกษุทุกจำพวก. อิณบริโภค ไม่สมควร

เลย. ในไถยบริโภค ไม่มีคำจะพูดถึงเลย.

[อธิบายว่าการบริโภคอีก ๔ อย่าง]

การบริโภคแม้อื่นอีก ๔ คือ ลัชชีบริโภค อลัชชีบริโภค ธัมมิย-

บริโภค อธัมมิยบริโภค. บรรดาการบริโภค ๔ อย่างนั้น การบริโภค

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 954

ของอลัชชีภิกษุร่วมกับลัชชีภิกษุ สมควร. ไม่พึงปรับอาบัติเธอ. การ

บริโภคของลัชชีภิกษุร่วมกับอลัชชีภิกษุ ย่อมควรตลอดเวลาที่เธอยังไม่รู้.

เพราะว่าธรรมดาภิกษุผู้เป็นอลัชชีมาแต่แรกไม่มี. เพราะฉะนั้น พึงว่า

กล่าวเธอในเวลาทราบว่าเธอเป็นอลัชชีว่า ท่านทำการละเมิดในกายทวาร

และวจีทวาร, การทำนั้น ไม่สมควรเลย, ท่านอย่าได้กระทำอย่างนี้.

ถ้าเธอไม่เอื้อเฟื้อยังคงกระทำอยู่อีก, ถ้ายังขืนทำการบริโภคร่วมกับอลัชชี

นั้น, แม้เธอก็กลายเป็นอลัชชีไปด้วย. ฝ่ายภิกษุใด กระทำการบริโภค

ร่วมกับอลัชชี ผู้ซึ่งเป็นภาระของตน, แม้ภิกษุนั้น อันภิกษุอื่นเห็น

พึงห้าม, ถ้าเธอไม่ยอมงดเว้น, ภิกษุแม้รูปนี้ ก็เป็นอลัชชีเหมือนกัน.

อลัชชีภิกษุแม้รูปเดียว ย่อมทำให้ภิกษุเป็นอลัชชีได้แม้ตั้งร้อยรูปอย่างนี้.

ชื่อว่าอาบัติในการบริโภคร่วมกันระหว่างอลัชชีกับอลัชชี ย่อมไม่มี. การ

บริโภคร่วมระหว่างลัชชีกับลัชชี เป็นเช่นเดียวกับขัตติยกุมารสองพระองค์

เสวยร่วมกันในสุวรรณภาชน์. การบริโภคเป็นธรรม และไม่เป็นธรรม

ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งปัจจัยนั่นแล.

ในการบริโภคเป็นธรรม และไม่เป็นธรรมนั้น พึงทราบวินิจฉัย

ดังต่อไปนี้:-

ถ้าแม้บุคคลก็เป็นอลัชชี แม้บิณฑบาตไม่เป็นธรรม, น่ารังเกียจ

ทั้ง ๒ ฝ่าย. บุคคลเป็นอลัชชี แต่บิณฑบาตเป็นธรรม, ภิกษุทั้งหลาย

รังเกียจบุคคลแล้ว ไม่พึงรับบิณฑบาต. แต่ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวไว้ว่า

คนทุศีล ได้อุเทศภัตเป็นต้นจากสงฆ์แล้ว ถวายแก่สงฆ์นั่นแล. อุเทศ-

ภัตเป็นต้นนี้ ย่อมควร เพราะเป็นไปตามที่เขาถวายนั่นเอง. บุคคลเป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 955

ลัชชี บิณฑบาตไม่เป็นธรรม, บิณฑบาตน่ารังเกียจ ไม่ควรรับเอา.

บุคคลเป็นลัชชี แม้บิณฑบาตก็เป็นธรรม ย่อมสมควร.

[อธิบายการยกย่องและการบริโภคอีกอย่างละ ๒]

ยังมีการยกย่อง ๒ อย่าง และการบริโภค ๒ อย่างอีก คือ การ

ยกย่องลัชชี ๑ การยกย่องอลัชชี ๑ ธรรมบริโภค ๑ อามิสบริโภค ๑,

ในการยกย่องและการบริโภคนั้น การยกย่องลัชชี แก่อลัชชี สมควร.

เธอไม่ควรถูกปรับอาบัติ. ก็ถ้าว่า ลัชชียกย่องอลัชชี ย่อมเชื้อเชิญด้วย

อนุโมทนา เชื้อเชิญด้วยธรรมกถา อุปถัมภ์ในสกุลทั้งหลาย, แม้อลัชชี

นอกนี้ ก็กล่าวสรรเสริญเธอในบริษัทว่า อาจารย์ของพวกเราย่อมเป็นผู้

เช่นนี้และเช่นนี้, ภิกษุนี้ บัณฑิตพึงทราบว่า ย่อมทำพระศาสนาให้เสื่อม

ลง คือ ให้อันตรธานไป.

ก็บรรดาธรรมบริโภคและอามิสบริโภค ในบุคคลใด อามิสบริโภค

สมควร, ในบุคคลนั้น แม้ธรรมบริโภค ก็สมควร. ท่านกล่าวไว้ (ใน

อรรถกถาทั้งหลาย) ว่า ก็คัมภีร์ใด ตั้งอยู่ในสุดท้าย จักฉิบทายไป โดย

กาลล่วงไปแห่งบุคคลนั้น, จะเรียนเอาคัมภีร์นั้นเพื่ออนุเคราะห์ธรรม

ควรอยู่. ในการอนุเคราะห์ธรรมนั้น มีเรื่องต่อไปนี้:-

[เรื่องเรียนคัณฐะจากคนเลวเพื่ออนุเคราะห์ธรรม]

ได้ยินว่า ในยุคมหาภัย ได้มีภิกษุผู้ชำนาญมหานิเทศเพียงรูปเดียว

เท่านั้น. ครั้งนั้น พระอุปัชฌะของพระติสสเถระ ผู้ทรงนิกาย ๔ ชื่อว่า

มหาติปิฎกเถระ กล่าวกะพระมหารักขิตเถระว่า อาวุโสมหารักขิต ! เธอ

จงเรียนเอามหานิเทศในสำนักแห่งภิกษุนั่นเถิด. เธอเรียนว่า ได้ทราบว่า

ท่านรูปนี้เลวทราม ขอรับ ! กระผมจักไม่เรียนเอา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 956

อุปัชฌาย์. เรียนไว้เถิดคุณ ! ฉันจักนั่งใกล้ ๆ เธอ.

พระเถระ. ดีละ ขอรับ ! เมื่อท่านนั่งอยู่ด้วย กระผมจักเรียนเอา

แล้วเริ่มเรียนติดต่อกันทั้งกลางคืนกลางวัน วันสุดท้ายเห็นสตรีภายใต้เตียง

แล้ว เรียนว่า ท่านขอรับ ! กระผมได้สดับมาก่อนแล้วทีเดียว, ถ้าว่า

กระผมพึงรู้อย่างนี้ จะไม่พึงเรียนธรรมในสำนักคนเช่นนี้เลย. ก็พระ-

มหาเถระเป็นอันมาก ได้เรียนเอาในสำนักของพระเถระนั้นแล้ว ได้

ประดิษฐานมหานิเทศไว้สืบมา.

อันทองและเงินแม้ทั้งหมด ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ถึงการสงเคราะห์

ว่ารูปิยะทั้งนั้น ในคำว่า รูปิเย รูปิยสญฺี นี้.

สองบทว่า รูปิเย เวมติโก มีความว่า เกิดมีความสงสัย โดยนัย

เป็นต้นว่า เป็นทองคำ หรือทองเหลือง*หนอ

สองบทว่า รูปิเย อรูปิยสญฺี ความว่า มีความสำคัญในทองคำ

เป็นต้นว่า เป็นทองเหลืองเป็นต้น .

อีกอย่างหนึ่ง บุคคลผู้ใคร่ในบุญทั้งหลาย มีนางสนมของพระราชา

เป็นต้น ถวายเงินและทองใส่ไว้ในภัต ของควรเคี้ยว ของหอมและ

กำยานเป็นต้น, ถวายแผ่นผ้าเล็ก ๆ รวมกับกหาปณะที่ขอดไว้ที่ชายผ้า

เป็นต้นต้นนั่นแหละ แก่ภิกษุทั้งหลายผู้เที่ยวบิณฑบาตผ้า, ภิกษุทั้งหลาย

รับเอาด้วยสำคัญว่าภัตตาหารเป็นต้น หรือสำคัญว่าผ้, ภิกษุนี้ พึงทราบว่า

ผู้มีความสำคัญในรูปิยะว่ามิใ ช่รูปิยะ รันเอารูปิยะด้วยอาการอย่างนี้.

แต่ภิกษุผู้รับ พึงกำหนดให้ดีว่า วัตถุนี้เราได้ในเรือนหลังนี้

* วิมติ ขรปตฺตนฺติ ขรสงฺขาต สุวรฺณปฏิรูปก วตฺถุ แปลว่า ที่ชื่อว่า ขรปัตตะ ได้แก่ วัตถุ

ที่นับว่าแข็ง เทียมทองคำ. -ผู้ชำระ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 957

เพราะว่า ผู้ที่ถวายของด้วยไม่มีสติ ได้สติแล้วจะกลับมา (ทวงถาม).

ลำดับนั้น ภิกษุพึงบอกเขาว่า ท่านจงตรวจดูห่อผ้าของท่าน ดังนี้. บท

ที่เหลือในสิกขาบทนี้ มีอรรถตื้นทั้งนั้น.

บรรดาสมุฏฐานเป็นต้น สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ บางคราวเป็น

กิริยา เพราะต้องด้วยการรับ บางคราวเป็นอกิริยา เพราะไม่ทำการห้าม

จริงอยู่ รูปิยสิกขาบท อัญญวาทกสิกขาบท และอุปัสสุติสิกขาบท ทั้ง ๓

มีกำหนดอย่างเดียวกัน เป็นโนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ

กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

รูปิยสิกขาบทที่ ๘ จบ

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๙

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๐๙] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระฉัพพัคคีย์ถึงความซื้อขายด้วยรูปิยะ มีประการต่าง ๆ ชาวบ้านพากัน

เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

จึงได้ถึงความซื้อขายด้วยรูปิยะมีประการต่าง ๆ เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภค

กามเล่า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนา

อยู่ บรรดาผู้ที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จงได้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 958

ถึงการซื้อขายด้วยรูปิยะมีประการต่าง ๆ เล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอถึงการซื้อขายด้วย

รูปิยะมีประการต่าง ๆ จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ถึงการซื้อขายด้วย

รูปิยะมีประการต่าง ๆ เล่า การกระทำของพวกเธอนั่นไม่เป็นไปเพื่อ

ด้วยความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็น

ไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

ครั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 959

ควานเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุง

ง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการ

ที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นเเห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๘. ๙. อนึ่ง ภิกษุใดถึงความซื้อขายด้วยรูปิยะมีประการต่าง ๆ

เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 960

สิกขาบทวิภังค์

[๑๑๐] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็น

พระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถ-

กรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ใน

อรรถนี้

ที่ชื่อว่า มีประการต่างๆ คือ เป็นรูปพรรณบ้าง ไม่เป็นรูปพรรณ

บ้าง เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูปพรรณบ้าง

ที่ชื่อว่า เป็นทั้งรูปพรรณ ได้แก่ เครื่องประดับศีรษะ เครื่องประดับ

คอ เครื่องประดับมือ เครื่องประดับเท้า เครื่องประดับสะเอว.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 961

ที่ชื่อว่า ไม่เป็นรูปพรรณ คือ ที่เรียกกันว่าเป็นแท่ง

ที่ชื่อว่า เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูปพรรณ ได้แก่ ของ ๒ อย่าง

นั้น

ที่ชื่อว่า รูปิยะ ได้แก่ ทองคำ กหาปณะ มาสกที่ทำด้วยโลหะ

มาสกที่ทำด้วยไม้ มาสกที่ทำด้วยครั้ง ซึ่งใช้เป็นมาตราสำหรับแลกเปลี่ยน

ซื้อขายกันได้.

บทว่า ถึงความซื้อขาย คือ เอาของที่เป็นรูปพรรณซื้อของที่เป็น

รูปพรรณ เป็นนิสสัคคีย์

เอาของที่เป็นรูปพรรณ ซื้อของที่ยังไม่เป็นรูปพรรณ เป็นนิส-

สัคคีย์

เอาของที่เป็นรูปพรรณ ซื้อของที่เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูป-

พรรณ เป็นนิสสัคคีย์

เอาของที่ยังไม่เป็นรูปพรรณ ซื้อของที่เป็นรูปพรรณ เป็นนิสสัคคีย์

เอาของที่ยังไม่เป็นรูปพรรณ ซื้อของที่ยังไม่เป็นรูปพรรณเป็น

นิสสัคคีย์

เอาของที่ยังไม่เป็นรูปพรรณ ซื้อของที่เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่

รูปพรรณ เป็นนิสสัคคีย์

เอาของที่เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูปพรรณ ซื้อของที่เป็นรูป-

พรรณ เป็นนิสสัคคีย์

เอาของที่เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูปพรรณ ซื้อของที่มิใช่รูป-

พรรณ เป็นนิสสัคคีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 962

เอาของที่เป็นทั้งรูปพรรณและมิใช่รูปพรรณ ซื้อของที่เป็นทั้งรูป-

พรรณเละมิใช่รูปพรรณ เป็นนิสสัคคีย์

ของที่ซื้อขายด้วยรูปิยะ ซึ่งเป็นนิสัคคีย์นั้น ต้องเสียสละในท่าม

กลางสงฆ์

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละของนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละของที่ซื้อขายด้วยรูปิยะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าถึงความซื้อขายด้วยรูปิยะมีประการต่าง ๆ

ของสิ่งนี้ของข้าพเจ้า เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละของสิ่งนี้แก่

สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

ถ้าคนทำการวัด หรืออุบาสกเดินมาในสถานที่เสียสละนั้น พึงบอกเขาว่า

ท่านจงรู้ของสิ่งนี้ ถ้าเขาถามว่า จะให้ผมนำของสิ่งนี้ไปหาอะไรมา อย่า

บอกว่า จงนำของสิ่งนี้หรือของสิ่งนี้มา ควรบอกแต่ของที่เป็นกัปปิยะ

เช่นเนยใส น้ำมัน น้ำผึ้ง หรือน้ำอ้อย ถ้าเขานำของสิ่งนั้นไป แลก

ของที่เป็นกัปปิยะมาถวาย เว้นภิกษุผู้ซื้อขายด้วยรูปิยะ ภิกษุนอกนั้นฉัน

ได้ทุกรูป ถ้าได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าไม่ได้ พึงบอกเขาว่า โปรด

ช่วยทั้งของสิ่งนี้ ถ้าเขาทิ้งให้ นั่นเป็นการดี ถ้าเขาไม่ทิ้งให้ พึงสมมติ

ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 963

องค์ ๕ ของภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะ

องค์ ๕ นั้น คือ ๑. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความชอบพอ

๒. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะเกลียดชัง ๓. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะ

งมงาย ๔. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะกลัว และ ๕. รู้จักว่าทำอย่างไร

เป็นอันทิ้ง หรือไม่เป็นอันทิ้ง

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสมมติภิกษุนั้น อย่างนี้:-

วิธีสมมติภิกษุผู้ทิ้งรูปิยะ

พึงขอภิกษุให้รับตกลงก่อน ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึง

ประกาศให้สงฆ์กราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

คำสมมติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ นี้เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้

เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ การสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะ ชอบแก่ท่าน

ผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด

ภิกษุมีชื่อนี้ สงฆ์สมมติให้เป็นผู้ทิ้งรูปิยะแล้ว ชอบแก่สงฆ์

เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้

ภิกษุผู้รับสมมติแล้วนั้น พึงทิ้งอย่าหมายที่ตก ถ้าทิ้งหมายที่ตก

ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 964

บทภาชนีย์

[๑๑๑] รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าเป็นรูปิยะ ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

รูปิยะ ภิกษุสงสัย ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่รูปิยะ ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าเป็นรูปิยะ ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสงสัย ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่รูปิยะ ซื้อขายรูปิยะ เป็นนิสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่าเป็นรูปิยะ... ต้องอาบัติทุกกฏ

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสงสัย... ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 965

ไม่ต้องอาบัติ

มิใช่รูปิยะ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่รูปิยะ... ไม่ต้องอาบัติ

อนาปัตติวาร

[๑๑๒] ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๙ จบ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๙

พรรณนารูปิยสัพโยหารสิกขาบท

รูปิยสัพโยหารสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะ

กล่าวต่อไป:- ในรูปิยสัพโยหารสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า นานปฺปการก ได้แก่ มีประการมิใช่น้อย ด้วยอำนาจรูปิยะ

ที่ทำ (เป็นรูปภัณฑ์) และมิได้ทำ (เป็นรูปภัณฑ์) เป็นต้น .

บทว่า รูปิยสพฺโยหาร ได้แก่ การแลกเปลี่ยนด้วยทองและเงิน.

บทว่า สมาปชฺชนฺติ มีความว่า พวกภิกษุฉัพพัคคีย์มองไม่เห็น

โทษในการแลกเปลี่ยนด้วยทองและเงินที่คนรับไว้แล้ว เพราะพระผู้มี-

พระภาคเจ้าทรงห้ามการรับอย่างเดียว จึงกระทำ (การแลกเปลี่ยนด้วย

รูปิยะ).

ในคำว่า สีสุปค เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- ทองเงินรูปภัณฑ์

๑-๒. บาลีและโยชนาเป็น รูปิยสังโวหารสิกขาบท.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 966

ที่ชื่อว่าสีสูปคะ เพราะอรรถว่า ประดับศีรษะ. ก็ในคัมภีร์ทั้งหลายเขียนไว้

ว่า สีสูปก ก็มี. คำว่า สีสูปก นี้ เป็นชื่อของเครื่องประดับศีรษะชนิด

ใดชนิดหนึ่ง. ในบททั้งปวงก็นัยนี้.

ในบทว่า กเตน กต เป็นต้นนี้ บัณฑิตพึงทราบการซื้อขายด้วย

รูปิยะล้วน ๆ เท่านั้น.

ข้าพเจ้า จักกล่าววินิจฉัยในบทว่า รูปิเย รูปิยสญฺี เป็นต้น

ต่อไป:- บรรดาวัตถุที่กล่าวแล้วในสิกขาบทก่อน เมื่อภิกษุซื้อขาย

นิสสัคคิยวัตถุด้วยนิสสัคคิยวัตถุ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ด้วยสิกขาบทก่อน

ในเพราะการรับมูลค่า, ในเพราะการซื้อขายของอื่น ๆ เป็นนิสสัคคิย-

ปาจิตตีย์ด้วยสิกขาบทนี้แล. แต่เมื่อซื้อขายทุกกฏวัตถุ หรือกัปปิยวัตถุ

ด้วยนิสสัคคิยวัตถุ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

[ว่าด้วยการซื้อขายรูปิยะด้วยรูปิยะเป็นต้น]

จริงอยู่ ผู้ศึกษาพึงทราบติกะว่า ภิกษุมีความสำคัญในรูปิยะว่าเป็น

รูปิยะ ซื้อขายสิ่งที่มิใช่รูปิยะ เป็นต้น นี้ เป็นอีกติกะหนึ่ง ซึ่งแม้มิได้

ตรัสไว้ เพราะอนุโลมแก่ติกะที่สองที่ตรัสไว้ว่า ภิกษุมีความสำคัญในสิ่ง

ที่มิใช่รูปิยะว่าเป็นรูปิยะ ซื้อขายรูปิยะ เป็นต้นนี้. แท้จริง ภิกษุซื้อขาย

รูปิยะของผู้อื่นด้วยสิ่งมิใช่รูปิยะของตนก็ดี ซื้อขายสิ่งที่มิใช่รูปิยะของ

ผู้อื่นด้วยรูปิยะของตนก็ดี แม้โดยการซื้อขายทั้งสองประการ ก็จัดเป็น

ทำการซื้อขายด้วยรูปิยะเหมือนกัน. เพราะฉะนั้น ในบาลี จึงตรัสไว้ติกะ

เดียวเท่านั้น ในฝ่ายรูปิยะข้างเดียวฉะนี้แล.

ก็เมื่อภิกษุซื้อขายวัตถุแห่งนิสสัคคีย์ ด้วยวัตถุแห่งทุกกฏ เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 967

ทุกกฏด้วยสิกขาบทก่อน ในเพราะการรับมูลค่า. เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์

ด้วยสิกขาบทนี้ ในเพราะแลกเปลี่ยนในภายหลัง เพราะซื้อขายของหนัก.

เมื่อซื้อขายทุกกฏวัตถุนั่นแหละ หรือกัปปิยวัตถุ ด้วยวัตถุแห่งทุกกฏ

เป็นทุกกฏด้วยสิกขาบทก่อน ในเพราะการรับมูลค่า, เป็นทุกกฏเช่นกัน

ด้วยสิกขาบทนี้ แม้ในเพราะแลกเปลี่ยนภายหลัง. เพราะเหตุไร ? เพราะ

ซื้อขายด้วยอกัปปิยวัตถุ.

ส่วนในอรรถกถาอันธกะ ท่านกล่าวว่า ถ้าภิกษุถึงการซื้อขายเป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ คำนั้น ท่านกล่าวไว้ไม่ชอบ. เพราะเหตุไร ? เพราะ

ชื่อว่าการซื้อขาย นอกจากการให้และการรับ ไม่มี. และกยวิกกยสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายเอาการแลกเปลี่ยนกัปปิยวัตถุด้วยกัปปิยวัตถุ

เท่านั้น. ก็แลการแลกเปลี่ยนนั้นนอกจากพวกสหธรรมิก.

สิกขาบทนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายเอาการซื้อขายรูปิยะ และ

สิ่งมิใช่รูปิยะด้วยรูปิยะ และการซื้อขายรูปิยะด้วยสิ่งมิใช่รูปิยะ, ส่วนการ

ซื้อขายวัตถุแห่งทุกกฏด้วยวัตถุแห่งทุกกฏ มิได้ตรัสไว้ในบาลีในสิกขาบท

นี้ (และ) มิได้ตรัสไว้ในบาลีในกยวิกกสิกขาบทนั้นเลย. ก็ในการซื้อ

ขายวัตถุแห่งทุกกฏ ด้วยวัตถุแห่งทุกกฏนี้ ไม่ควรจะ (เป็นอนาบัติ).

เพราะฉะนั้น พวกอาจารย์ผู้รู้พระประสงค์แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงได้

กล่าวคำว่า ในเพราะรับวัตถุแห่งทุกกฏ เป็นทุกกฏ ฉันใด, แม้ในเพราะ

ซื้อขายวัตถุแห่งทุกกฏนั้น ด้วยวัตถุแห่งทุกกฏนั้นนั่นแล เป็นทุกกฏ ก็

ชอบแล้ว ฉันนั้นเหมือนกัน.

อนึ่ง เมื่อภิกษุซื้อขายวัตถุนิสสัคคีย์ ด้วยกัปปิยวัตถุ เป็นอนาบัติ

ด้วยสิกขาบทก่อนในเพราะการรับมูลค่า, เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์ ด้วย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 968

สิกขาบทนี้ ในเพราะแลกเปลี่ยนภายหลัง. สมจริงดังคำที่พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ภิกษุมีความสำคัญในสิ่งมิใช่รูปิยะว่าไม่ใช่รูปิยะ ซื้อ

ขายรูปิยะ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. เมื่อภิกษุซื้อขายวัตถุแห่งทุกกฏด้วย

กัปปิยวัตถุนั้นนั่นแหละ ไม่เป็นอาบัติ เหมือนอย่างนั้น ในเพราะการ

รับมูลค่า, เป็นทุกกฏด้วยสิกขาบทนี้ ในเพราะการแลกเปลี่ยนภายหลัง.

เพราะเหตุไร ? เพราะซื้อขายสิ่งเป็นอกัปปิยะ.

อนึ่ง เมื่อภิกษุแลกเปลี่ยนกัปปิยวัตถุ ด้วยกัปปิยวัตถุ นอกจาก

พวกสหธรรมิก ไม่เป็นอาบัติ ด้วยสิกขาบทก่อน ในเพราะการรับมูลค่า.

เป็นนิสสัคคียปาจิตตีย์ด้วยวิกกยสิกขาบทข้างหน้า เพราะการแลกเปลี่ยน

ภายหลัง. เมื่อภิกษุถือเอาพ้นการซื้อขายไป ไม่เป็นอาบัติ แม้โดย

สิกขาบทข้างหน้า. (แต่) เป็นทุกกฏแก่ภิกษุผู้ประกอบการหาผลกำไร.

[อธิบายปัตตจตุกกะเป็นอุทาหรณ์]

อนึ่ง ผู้ศึกษาพึงทราบปัตตจตุกกะนี้ อันแสดงถึงความที่รูปิยสัพ-

โยหารสิกขาบทนี้หนัก. ความพิสดารว่า ภิกษุใด รับเอารูปิยะ แล้ว

จ้างให้ขุดแร่เหล็กขึ้นด้วยรูปิยะนั้น, ให้ช่างเหล็กถลุงแร่เหล็กนั้น แล้ว

ให้ทำบาตรด้วยโลหะนั้น. บาตรนี้ ชื่อว่า เป็นมหาอกัปปิยะ ภิกษุนั้น

ไม่อาจทำให้เป็นกัปปิยะได้ด้วยอุบายไร ๆ. ก็ถ้าว่า ทำลายบาตรนั้นแล้ว

ให้ช่างทำกระถาง. แม้กระถางนั้นก็เป็นอกัปปิยะ. ให้กระทำมีด แม้ไม้

สีพื้นที่ตัดด้วยมีดนั้น ก็เป็นอกัปปิยะ. ให้กระทำเบ็ด แม้ปลาที่เขาให้

ตายด้วยเบ็ดนั้น ก็เป็นอกัปปิยะ. ภิกษุให้ช่างเผาตัวมีดให้ร้อนแล้ว แช่

น้ำ หรือนมสดให้ร้อน. แม้น้ำและนมสดนั้น ก็เป็นอกัปปิยะเช่นกัน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 969

ในมหาปัจจรี ท่านกล่าวว่า ก็ภิกษุใด รับรูปิยะแล้วซื้อบาตรด้วย

รูปิยะนั้น, แม้บาตรนี้ของภิกษุนั้น ก็เป็นอกัปปิยะ ไม่สมควรแม้แก่

สหธรรมิกทั้ง ๕. แต่ภิกษุนั้นอาจทำบาตรนั้น ให้เป็นกัปปิยะได้. จริง

อยู่ บาตรนั้น จะเป็นกัปปิยะได้ ต่อเมื่อให้มูลค่าแก่เจ้าของมูลค่า และ

เมื่อให้บาตรแก่เจ้าของบาตร. ภิกษุจะให้กัปปิยภัณฑ์แล้วรับเอาไปใช้สอย

สมควรอยู่.

ฝ่ายภิกษุใด ให้รับเอารูปิยะไว้แล้วไปยังตระกูลช่างเหล็กกับด้วย

กัปปิยการก เห็นบาตรแล้วพูดว่า บาตรนี้ เราชอบใจ. และกัปปิยการก

ให้รูปิยะนั้นแล้ว ให้ช่างเหล็กตกลง. แม้บาตรใบนี้ อันภิกษุนั้นถือเอา

โดยกัปปิยโวหาร เป็นเช่นกับบาตรใบที่ ๒ นั่นเอง จัด เป็นอกัปปิยะ

เหมือนกัน เพราะภิกษุรับมูลค่า.

ถามว่า เพราะเหตุไร จึงไม่ควรแก่สหธรรมิกที่เหลือ ?

แก้ว่า เพราะไม่เสียสละมูลค่า.

อนึ่ง ภิกษุใด ไม่รับรูปิยะไปยังตระกูลช่างเหล็ก พร้อมกับกัปปิย-

การกที่ทายกส่งมาว่า ท่านจงซื้อบาตรถวายพระเถระ เห็นบาตรแล้ว ให้

กัปปิยการกจ่ายกหาปณะว่า เธอจงรับเอากหาปณะเหล่านี้แล้ว ให้บาตรนี้

แล้วได้ถือเอาไป. บาตรนี้ ไม่ควรแก่ภิกษุรูปนี้เท่านั้น เพราะจัดการไม่

ชอบ, แต่ควรแก่ภิกษุเหล่าอื่น เพราะไม่ได้รับมูลค่า.

ได้ทราบว่า อุปัชฌาย์ของพระมหาสุมเถระ มีชื่อว่าอนุรุทธเถระ.

ท่านบรรจุบาตรเห็นปานนี้ของตนให้เต็ม ด้วยเนยใสแล้ว สละแก่สงฆ์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 970

พวกสัทธิวิหาริกแม้ของพระจุลนาคเถระผู้ทรงไตรปิฏก ก็ได้มีบาตร

เช่นนั้นเหมือนกัน. พระเถระสั่งให้บรรจุบาตรนั้นให้เต็ม ด้วยเนยใสแล้ว

ให้เสียสละแก่สงฆ์ ดังนี้แล. นี้ชื่ออกัปปิยปัตตจตุกกะ. ก็ถ้าว่า ภิกษุ

ไม่รับรูปิยะไปสู่ตระกูล แห่งช่างเหล็ก พร้อมด้วยกัปปิยการกที่ทายกส่งมา

ว่า เธอจงซื้อบาตรถวายพระเถระ เห็นบาตรแล้วกล่าวว่า บาตรนี้เรา

ชอบใจ หรือว่า เราจักเอาบาตรนี้, และกัปปิยการกจ่ายรูปิยะนั้นให้แล้ว

ให้ช่างเหล็กยินยอมตกลง. บาตรนี้สมควรทุกอย่าง ควรแก่การบริโภค

แม้เเห่งพระพุทธทั้งหลาย.

สองบทว่า อรูปิเย รูปิยสญฺี ได้แก่ มีความสำคัญในทองเหลือง

เป็นต้น ว่าเป็นทองคำเป็นต้น.

สองบทว่า อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส มีความว่า ถ้าภิกษุซื้อขายสิ่งที่มิใช่

รูปิยะ.. ด้วยสิ่งที่มิใช่รูปิยะ ซึ่งมีความสำคัญว่าเป็นรูปิยะนั้น เป็นอาบัติ

ทุกกฏ. ในภิกษุผู้มีความสงสัย ก็มีนัยอย่างนี้. แต่ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ

มีความสำคัญว่ามิใช่รูปิยะ แม้กระทำการซื้อขาย กับด้วย สหธรรมิก ๕

ว่า ท่านจงถือเอาสิ่งนี้แล้วให้สิ่งนี้. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ เป็น

อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓

ดังนี้แล.

รูปิยสัพโยหาร สิกขาบทที่ ๙ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 971

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๑๐

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๑๑๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ท่านพระอุปนันทศากยบุตร เป็นผู้ชำนาญทำจีวรกรรม เธอเอาผ้าเก่า ๆ

ทำผ้าสังฆาฏิย้อมแต่งดีแล้วใช้ห่ม

ขณะนั้นแล ปริพาชกผู้หนึ่งห่มผ้ามีราคามาก เข้าไปหาท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรถึงสำนัก ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรว่า ผ้าสังฆาฏิผืนนี้ของท่านงามแท้ จงแลกกันกับผ้าของข้าพเจ้า

เถิด

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรกล่าวว่า ท่านจงรู้เอาเองเถิด

ปริพาชกตอบสนองว่า ข้าพเจ้ารู้ ขอรับ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรตอบว่า ตกลง ขอรับ แล้วได้ให้ไป

จึงปริพาชกนั้น ได้ห่มผ้าสังฆาฏิผืนนั้น ไปสู่ปริพาชการาม

พวกปริพาชกพากันรุมถามปริพาชกผู้นั้นว่า สังฆาฏิผืนนี้ของท่าน

ช่างงามจริง ท่านได้มาแต่ไหน

ปริพาชกผู้นั้นตอบว่า ผมเอาผ้าของผมผืนนั้นแลกเปลี่ยนมา

พวกปริพาชกกล่าวว่า ผ้าสังฆาฏิของท่านผืนนี้จักอยู่ได้สักกี่วัน ผ้า

ของท่านผืนนั้นแหละดีกว่า

ปริพาชกผู้นั้นเห็นจริงว่า ปริพาชกทั้งหลายพูดถูกต้อง ผ้าสังฆาฎิ

ของเราผืนนี้ จักอยู่ได้สักกี่วัน ผ้าผืนนั้นของเราดีกว่า แล้วเข้าไปหา

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 972

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรถึงสำนัก ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรว่า โปรดนำผ้าสังฆาฎิของท่านไป โปรดคืนผ้าของ

ผมมา

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรพูดว่า ข้าพเจ้าได้บอกท่านแล้วมิใช่หรือ

ว่า จงรู้เอาเองเถิด ข้าพเจ้าจักไม่คืนให้

ปริพาชกนั้น จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาขึ้นในทันใดนั้นแล

ว่า ธรรมดาคฤหัสถ์ก็ยังคืนให้แก่คฤหัสถ์ผู้เดือดร้อน ก็นี่บรรพชิตจักไม่

คืนให้แก่บรรพชิตด้วยกันเทียวหรือ

ภิกษุทั้งหลายได้ยินปริพาชกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่

บรรดาผู้ที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท -

ศากยบุตร จึงได้ถึงการแลกเปลี่ยนกับปริพาชกเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้น

แด่พระะผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธอถึงการแลก

เปลี่ยนกันปริพาชก จริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 973

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้

ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้ถึงการแลกเปลี่ยนกับปริพาชกเล่า

การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่

แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชมชนที่

ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส

แล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตร โดย

อเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็น

คนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ

คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความ

เป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร

โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 974

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๓๙. ๑๐. อนึ่ง...ภิกษุใดถึงการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๑๔] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง. . .ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 975

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่

กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน

อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า

ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า มีประการต่าง ๆ ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ

และเภสัชบริขารอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ โดยที่สุด แม้ก้อนฝุ่น ไม้

ชำระฟัน ด้ายชายผ้า.

บทว่า ถึงการแลกเปลี่ยน คือ ภิกษุพูดเป็นเชิงบังคับว่า จงให้

ของสิ่งนี้ด้วยของสิ่งนี้ จงนำของสิ่งนี้มาด้วยของสิ่งนี้ จงแลกเปลี่ยนของ

สิ่งนี้ด้วยของสิ่งนี้ จงจ่ายของสิ่งนี้ด้วยของสิ่งนี้ ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติ

ทุกกฏ ในเวลาที่แลกแล้ว คือของ ๆ ตนไปอยู่ในมือของคนอื่น และ

เปลี่ยนแล้ว คือของ ๆ คนอื่นมาอยู่ในมือของตน เป็นนิสสัคคีย์ คือ

เป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละของสิ่งนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าได้ถึงการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ ของ

สิ่งนี้ของข้าพเจ้าเป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละของสิ่งนี้แก่สงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 976

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนของที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ของสิ่งนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ของสิ่งนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าได้ถึงการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ ของ

สิ่งนี้ของข้าพเจ้าเป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละของสิ่งนี้แก่ท่าน

ทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนของที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า ของสิ่งนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้ของสิ่งนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน ข้าพเจ้าได้ถึงการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ ของสิ่งนี้

ของข้าพเจ้าเป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละของสิ่งนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนของที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้ของสิ่งนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 977

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๑๕] แลกเปลี่ยน ภิกษุสำคัญว่าแลกเปลี่ยน เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

แลกเปลี่ยน ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

แลกเปลี่ยน ภิกษุสำคัญว่าไม่ได้เเลกเปลี่ยน เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ไม่ได้แลกเปลี่ยน ภิกษุสำคัญว่าแลกเปลี่ยน ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ได้แลกเปลี่ยน ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ไม่ได้เเลกเปลี่ยน ภิกษุสำคัญว่าไม่ได้เเลกเปลี่ยน ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๑๖] ภิกษุถามราคา ๑ ภิกษุบอกแก่กัปปิยการกว่า ของสิ่งนี้

ของเรามีอยู่ แต่เราต้องการของสิ่งนี้และของสิ่งนี้ ดังนี้ ๑ ภิกษุวิกล-

จริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๑๐ จบ

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๒ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 978

หัวข้อประจำเรื่อง

๑. โกสิยสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตเจือด้วยไหม

๒. สุทธกาฬกสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตแห่งขนเจียมดำ

ล้วน

๓. เทวภาคสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตแห่งขนเจียมดำ

ล้วน ๒ ส่วน

๔. ฉัพพัสสสิกขาบท ว่าด้วยการทรงสันถัตไว้ให้ได้ ๖ ฝน

๕. นิสีทนสันถตสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตสำหรับนั่ง

๖. เอฬกโลมสิกขาบท ว่าด้วยการรับขนเจียม

๗. เอฬกโลมโธวาปนสิกขาบท ว่าด้วยการซักขนเจียม

๘. รูปิยอุคคหสิกขาบท ว่าด้วยการรับทองเงิน

๙. รูปิยสังโวหารสิกขาบท ว่าด้วยกายซื้อขายด้วยรูปิยะ มี

ประการต่าง ๆ

๑๐. กยวิกกยสิกขาบท ว่าด้วยการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๑๐

พรรณนากวิกกยสิกขาบท

กยวิกกยสิกขาบทว่า เตน สนเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในกยวิกกยสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

คำว่า กตีหิปิ ตฺยาย คือ สังฆาฎิผืนนี้ ของท่านจักอยู่ได้กี่วัน.

ในบทว่า กตีหิปิ นี้ หิ ศัพท์ เป็นปทปูรณะ ปิ ศัพท์เป็นไปในความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 979

ตำหนิ. อธิบายว่า สังฆาฎิของท่านผืนนี้ชำรุด จักอยู่ได้สักกี่วัน, อีก

อย่างหนึ่ง ปาฐะว่า กติหปิ ตฺยาย ก็มี. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า

กติห คือ สิ้นวัน เท่าไร. มีคำอธิบายว่า ตลอดสักกี่วัน. บทที่เหลือ

มีนัยดังกล่าวแล้วเหมือนกัน. คำว่า กตีหิปิ มฺยาย นี้ ก็พึงทราบโดย

นัยนี้เหมือนกัน.

ในคำว่า คิหึปิ น คิหิสฺส นี้ ศัพท์ว่า น เป็นนิบาต ลงในอรรถ

แห่งนามศัพท์. มีคำอธิบายว่า ธรรมดาว่าแม้คฤหัสถ์ ก็ยังคืนให้แก่

คฤหัสถ์.

บทว่า นานปฺปการก คือ มีอย่างมิใช่น้อย ด้วยอำนาจแห่งกัป-

ปิยภัณฑ์ มีจีวรเป็นต้น. เพราะเหตุนั้นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า

นานปฺปการ นั้น ท่านจึงทรงแสดงเฉพาะกัปปิยภัณฑ์ตั้งต้นแต่จีวร มี

ด้ายชายผ้าเป็นที่สุด. จริงอยู่ การแลกเปลี่ยนด้วยอกัปปิยภัณฑ์ย่อมไม่ถึง

การสงเคราะห์เข้าในการซื้อขาย.

[อธิบายการซื้อและขายที่ทำให้เป็นอาบัติ]

บทว่า กยวิกฺกย ได้แก่ การซื้อและการขาย. ภิกษุเมื่อถือเอา

กัปปิยภัณฑ์ของคนอื่นโดยนัยเป็นต้นว่า ท่านจงให้สิ่งนี้ด้วยสิ่งนี้ ชื่อว่า

ย่อมถึงการซื้อ, เมื่อให้กัปปิยภัณฑ์ของตน ชื่อว่าย่อมถึงการขาย.

บทว่า อชฺฌาจรติ คือ ย่อมประพฤติข่มขู่. อธิบายว่า ย่อม

กล่าววาจาล่วงเกิน.

ข้อว่า ยโต กยิตญฺจ โหติ วิกฺกีตญฺจ มีความว่า ในเวลาทำภัณฑะ

ของผู้อื่นให้อยู่ในมือของตน ชื่อว่าซื้อ และในเวลาทำภัณฑะของตนให้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 980

อยู่ในมือของผู้อื่น ชื่อว่าขาย. แต่ด้วยบทนี้ ในบาลีท่านแสดงภัณฑะ

ของตนก่อน โดยอนุรูปแก่คำว่า อิม เป็นต้น.

บทว่า นิสฺสชฺชิตพฺพ มีความว่า พึงสละกัปปิยภัณฑ์ ที่รับเอา

จากมือของคนอื่น ด้วยอำนาจแห่งการซื้อขายอย่างนี้. ก็การซื้อขายอย่างนี้

กับพวกคฤหัสถ์ และนักบวชที่เหลือ เว้นสหธรรมิกทั้ง ๕ โดยที่สุด

แม้กับมารดาบิดา ก็ไม่ควร.

วินิจฉัยในการซื้อขายนั้นดังต่อไปนี้:- ผ้ากับผ้าก็ตาม อาหารกับ

อาหารก็ตาม จงยกไว้, ภิกษุกล่าวถึงกัปปิยภัณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งว่า

ท่านจงให้สิ่งนี้ ด้วยสิ่งนี้ เป็นทุกกฏ. ภิกษุกล่าวอย่างนั้นแล้วให้ภัณฑะ

ของตนแม้เเก่มารดาก็เป็นทุกกฏ. ภิกษุอันมารดากล่าวว่า ท่านจงให้สิ่งนี้

ด้วยสิ่งนี้ หรือกล่าวว่า ท่านจงให้สิ่งนี้ ฉันจักให้สิ่งนี้แก่ท่าน แล้วถือ

เอาภัณฑะแม้ของมารดาเพื่อตนก็เป็นทุกกฏ. เมื่อภัณฑะของตนถึงมือของ

คนอื่น และเมื่อภัณฑะของคนอื่นถึงมือของตน เป็นนิสสัคคีย์. แต่เมื่อ

ภิกษุกล่าวกะมารดาหรือบิดาว่า ท่านจงให้สิ่งนี้ ไม่เป็นการออกปากขอ.

เมื่อภิกษุกล่าวว่า ท่านจงถือเอาสิ่งนี้ ไม่เป็นการยังสัทธาไทยให้ตกไป.

เมื่อภิกษุพูดกะผู้มิใช่ญาติว่า ท่านจงให้สิ่งนี้ เป็นการออกปากขอ, เมื่อ

พูดว่า ท่านจงถือเอาสิ่งนี้ เป็นการยังสัทธาไทยให้ตกไป. เมื่อภิกษุถึง

การซื้อขายว่า ท่านจงให้สิ่งนี้ ด้วยสิ่งนี้ เป็นนิสสัคคีย์. เพราะฉะนั้น

อันภิกษุผู้จะแลกเปลี่ยนกัปปิยภัณฑ์ พึงแลกเปลี่ยนกับมารดาบิดาให้พ้น

การซื้อขาย กับพวกคนผู้มิใช่ญาติให้พ้นอาบัติ ๓ ตัว.

[อธิบายวิธีการแลกเปลี่ยนกัปปิยภัณฑ์]

ในกัปปิยภัณฑ์นั้น มีวิธีการแลกเปลี่ยนดังต่อไปนี้:- ภิกษุมีข้าว -

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 981

สารเป็นเสบียงทาง. เธอเห็นบุรุษถือข้าวสุกในระหว่างทางแล้วพูดว่า เรา

มีข้าวสาร, และเราไม่มีความต้องการด้วยข้าวสารนี้ แต่มีความต้องการ

ด้วยข้าวสุก ดังนี้. บุรุษรับเอาข้าวสารแล้วถวายข้าวสุก ควรอยู่. ไม่เป็น

อาบัติทั้ง ๓ ตัว. ชั้นที่สุด แม้เพียงสักว่านิมิตกรรมก็ไม่เป็น. เพราะ-

เหตุไร ? เพราะมีมูลเหตุ. และพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสคำนี้ไว้ข้างหน้า

นั่นแลว่า ภิกษุพูดว่า เรามีสิ่งนี้, แต่มีความต้องการด้วยสิ่งนี้และสิ่งนี้

ดังนี้.

อนึ่ง ภิกษุใด ไม่กระทำอย่างนี้ แลกเปลี่ยนว่า ท่านจงให้สิ่งนี้

ด้วยสิ่งนี้ เป็นอาบัติตามวัตถุแท้. ภิกษุเห็นคนกินเดนกล่าวว่า เธอจง

กินข้าวสุกนี้แล้ว นำน้ำย้อมหรือฟืนมาให้ แล้วให้ (ข้าวสุก). เป็น

นิสสัคคีย์หลายตัวตามจำนวนสะเก็ดน้ำย้อมและจำนวนฟืน. ภิกษุกล่าวว่า

พวกท่านบริโภคข้าวสุกนี้แล้ว จงทำกิจชื่อนี้ แล้วใช้พวกช่างศิลป์มีช่าง

แกะสลักงาเป็นต้น ให้ทำบริขารนั้น ๆ บรรดาบริขารมีธมกรกเป็นต้น

หรือใช้พวกช่างย้อมให้ซักผ้า, เป็นอาบัติตามวัตถุทีเดียว. ภิกษุให้พวก

ช่างกัลบกปลงผมให้พวกกรรมกรทำนวกรรม, เป็นอาบัติตามวัตถุเหมือน

กัน. ก็ถ้าภิกษุไม่กล่าวว่า พวกท่านบริโภคอาหารนี้แล้ว จงทำกิจนี้

กล่าวว่า เธอจงบริโภคอาหารนี้, เธอบริโภคแล้ว, (หรือ) จักบริโภค,

จงช่วยทำกิจชื่อนี้ ย่อมสมควร. ก็ในการให้ทำบริขารเป็นต้นนี้ ภัณฑะ

ของผู้อื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ชื่อว่าอันภิกษุพึงสละ ย่อมไม่มี

ในการซักผ้าหรือในการปลงผม หรือในนวกรรม มีการถางพื้นที่เป็นต้น

แม้ก็จริง, ถึงอย่างนั้น เพราะท่านกล่าวไว้หนักแน่นในมหาอรรถกถา

ใคร ๆ ไม่อาจคัดค้านคำนั้นได้; เพราะฉะนั้น ภิกษุพึงแสดงปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 982

ในเพราะการจ้างซักผ้าเป็นต้นแม้นี้ เหมือนแสดงปาจิตตีย์ ในเพราะ

นิสสัคคิยวัตถุ ที่ตนใช้สอยแล้ว หรือเสียหายแล้วฉะนั้น.

[อธิบายอนาปัตติวาร]

ในคำว่า กยวิกฺกเย กยวิกฺกยสญฺี เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงทราบใจ

ความอย่างนี้ว่า ภิกษุใด ถึงการซื้อขาย, ภิกษุนั้นจงเป็นผู้มีความสำคัญ

ในการซื้อขายนั้นว่าเป็นการซื้อขาย หรือมีความสงสัย หรือมีความสำคัญ

ว่าไม่ใช่การซื้อชายก็ตามที เป็นนิสสัคคียปาจิตตีย์ทั้งนั้น. ในจูฬติกะ

เป็นทุกกฏเหมือนกันทั้ง ๒ บท.

สองบทว่า อคฺฆ ปุจฺฉติ มีความว่า ภิกษุถามว่า บาตรของท่านนี้

ราคาเท่าไร ? แต่เมื่อเจ้าของบาตรกล่าวว่า ราคาเท่านี้ ถ้ากัปปิยภัณฑ์

ของภิกษุนั้นมีราคามาก, และภิกษุตอบอุบาสกนั้นไปอย่างนี้ว่า อุบาสก !

วัตถุของเรานี้มีราคามาก, ท่านจงให้บาตรของท่านแก่คนอื่นเถิด. ฝ่าย

อุบาสกได้ยินคำนั้น กล่าวว่า ผมจะแถมกระถางอื่นให้อีก จะรับเอาไว้

ก็ควร. ของนั้นตกไปในลักษณะที่ตรัสไว้ว่า เรามีสิ่งนี้ เป็นต้น. ถ้า

บาตรนั้นมีราคาแพง, สิ่งของของภิกษุมีราคาถูก, และเจ้าของบาตรไม่

รู้ว่าของนั้นราคาถูก, ภิกษุอย่าพึงรับเอาบาตร. พึงบอกว่า ของของเรา

มีราคาถูก. จริงอยู่ เมื่อภิกษุกล่าวหลอกลวงว่า มีราคามากรับเอา (บาตร)

ไป จะถึงความเป็นผู้อันพระวินัยธรพึงให้ตีราคาสูงของแล้วปรับอาบัติ.

ถ้าเจ้าของบาตรกล่าวว่า ช่างเถอะ ขอรับ ! ที่เหลือจักเป็นบุญแก่ผม แล้ว

ถวาย ควรอยู่.

สองบทว่า กปฺปิยการกสฺส อาจิกฺขติ มีความว่า ภิกษุทำคนอื่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 983

เว้นคนที่ตนรับภัณฑะจากมือ โดยที่สุดแม้เป็นบุตร หรือพี่น้องชายของ

เขา ให้เป็นกัปปิยการกแล้วบอกว่า เธอจงเอาสิ่งนี้ด้วย สิ่งนี้ ให้ด้วย.

ถ้าบุตรหรือพี่น้องชายนั้น เป็นคนฉลาดคัดเลือกต่อรองซ้ำ ๆ ซาก ๆ แล้ว

จึงรับเอา, ภิกษุพึงยืนนิ่งอยู่. ถ้าเขาเป็นคนไม่ฉลาด ไม่รู้จักจะถือเอา

พ่อค้า จะลวงเขา, ภิกษุพึงบอกเขาว่า เธออย่าเอา ดังนี้.

ในคำว่า เรามีสิ่งนี้ เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุกล่าวว่า

น้ำมัน หรือเนยใสที่รับประเคนแล้วนี้ ของเรามีอยู่, แต่เราต้องการของ

อื่นที่ยังไม่ได้ประเคน ถ้าเขารับเอาน้ำมัน หรือเนยใสนั้น ให้น้ำมันหรือ

เนยใสอื่น. อย่าพึงให้ตวงน้ำมันของตนก่อน. เพราะเหตุไร ? เพราะ

ยังมีน้ำมันที่เหลืออยู่ ในทะนานน้ำมัน. น้ำมันที่เหลือนั้น จะพึงทำน้ำมัน

ที่ยังไม่ได้รับประเคน ของภิกษุผู้ตวงในภายหลังให้เสียไป ฉะนี้แล. คำ

ที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ.

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

พรรณนากยวิกกยสิกจาบทที่ ๑๐ จบ

และจบวรรคที่ ๒

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 984

นิสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๓

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๑

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๑๗] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระฉัพพัคคีย์สั่งสมบาตรไว้เป็นอันมาก ชาวบ้านพากันเที่ยวชมวิหาร

เห็นแล้วพากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระ-

ศากยบุตร จึงได้สั่งสมบาตรไว้เป็นอันมาก ท่านจักทำการขายบาตร หรือ

จักตั้งร้านขายภาชนะดินเผา

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์ จึงได้

ทรงอติเรกบาตรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอทรงอติเรกบาตร

จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 985

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ทรงอติเรกบาตรเล่า

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่

ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดย

ที่แท้ การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของ

ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่น ของชนบางพวกที่

เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 986

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้ :-

พระบัญญัติ

๔๐. ๑. อนึ่ง ภิกษุใด ทรงอติเรกบาตร เป็นนิสสัคคิย-

ปาจิตตีย์.

ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

พระอนุบัญญัติ

เรื่องพระอานนท์

[๑๑๘] ก็โดยสมัยนั้นแล อติเรกบาตรเกิดขึ้นแก่ท่านพระอานนท์

มีอยู่ และท่านประสงค์จะถวายบาตรนั้นแก่ท่านพระสารีบุตร แต่ท่าน

พระสารีบุตรอยู่ถึงเมืองสาเกต ท่านพระอานนท์จึงมีความปริวิตกว่า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ว่า ภิกษุไม่พึงทรงอติเรกบาตร

ก็นี่อติเรกบาตรบังเกิดแก่เรา และเราก็ใคร่จะถวายแก่ท่านพระสารีบุตร

แต่ท่านอยู่ถึงเมืองสาเกต เราจะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอ ครั้นแล้วท่าน

พระอานนท์ ได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 987

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนอานนท์ ยังอีกนานเท่าไร

สารีบุตรจึงจะกลับมา

พระอานนท์กราบทูลว่า ท่านจะกลับมาในวันที่ ๙ หรือที่ ๑๐

พระพุทธเจ้าข้า

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทรงอติเรกบาตรไว้ได้ ๑๐ วัน เป็น

อย่างยิ่ง อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้-

พระอนุบัญญัติ

๔๐. ๑. ก. พึงทรงอติเรกบาตรไว้ได้ ๑๐ วัน เป็นอย่างยิ่ง

ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอานนท์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๑๙] บทว่า ๑๐ วัน เป็นอย่างยิ่ง คือ ทรงไว้ได้ ๑๐ วัน เป็น

อย่างมาก

ที่ชื่อว่า อติเรกบาตร ได้แก่ บาตรที่ยังมิได้อธิษฐาน ยังไม่ได้

วิกัป

ที่ชื่อว่า บาตร มี ๒ อย่าง คือ บาตรเหล็ก ๑ บาตรดินเผา ๑

ขนาดของบาตร

บาตร ๓ ขนาด คือ บาตรขนาดใหญ่ ๑ บาตรขนาดกลาง ๑

บาตรขนาดเล็ก ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 988

บาตรขนาดใหญ่ จุข้าวสุกแห่งข้าวสารกึ่งอาฬหก ของเคี้ยวเท่า

ส่วนที่ ๔ กับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสุกนั้น

บาตรขนาดกลาง จุข้าวสุกแห่งข้าวสาร ๑ นาฬี ของเคี้ยวเท่าส่วน

ที่ ๔ กับข้าวพอสมควรแก่ข้างสุกนั้น

บาตรขนาดเล็ก จุข้าวสุกแห่งข้าวสาร ๑ ปัตถะ ของเคี้ยวเท่าส่วน

ที่ ๔ กับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสุกนั้น

ใหญ่กว่านั้นเป็นบาตรที่ใช้ไม่ได้ เล็กกว่านั้นเป็นบาตรที่ใช้ได้.

[๑๒๐] คำว่า ให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคีย์ ความว่า

เมื่ออรุณที่ ๑๑ ขึ้นมา บาตรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละ

แก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละบาตรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

[๑๒๑] ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้

ว่า:-

ท่านเจ้าข้า บาตรใบนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะ

สละ ข้าพเจ้าสละบาตรใบนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนบาตรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ของสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า บาตรใบนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 989

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้บาตรใบนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

[๑๒๒] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์

เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ

กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า บาตรใบนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะ

สละ ข้าพเจ้าสละบาตรใบนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับ

อาบัติ พึงคืนบาตรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า บาตรใบนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้บาตรใบนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

[๑๒๓] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์

เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า บาตรใบนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะ

สละ ข้าพเจ้าสละบาตรใบนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนบาตรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้บาตรใบนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 990

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๒๔] บาตรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

บาตรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

บาตรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

บาตรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

บาตรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

บาตรยังไม่ได้สละ ภิกษุสำคัญว่าสละแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

บาตรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

บาตรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

บาตรยังไม่แตก ภิกษุสำคัญว่าแตกแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

บาตรยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 991

ทุกกฏ

[๑๒๕] บาตรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุยังไม่ได้เสียสละ.. บริโภค ต้อง

อาบัติทุกกฏ

บาตรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว บริโภค ต้อง

อาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

บาตรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง บริโภค ไม่ต้อง

อาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๒๖] ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัปไว้ ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑

บาตรหายไป ๑ บาตรฉิบหาย ๑ บาตรแตก ๑ โจรชิงเอาไป ๑ ภิกษุ

ถือวิสาสะ ๑ ในภายใน ๑๐ วัน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑

ไม่ต้องอาบัติแล.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๒๗] ก็โดยสมัยนั้นเเล พระฉัพพัคคีย์ ไม่ให้คืนบาตรที่เสียสละ

ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้า

ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บาตรที่ภิกษุเสียสละแล้ว สงฆ์ คณะ

หรือบุคคล จะไม่คืนให้ไม่ได้ ภิกษุรูปใดไม่คืนให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

ปัตตวรรคสิกขาบทที่ ๑ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 992

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๑

พรรณนาปัตตสิกขาบท

ปัตตสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในปัตตสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัย ดังต่อไปนี้:-

บทว่า ปตฺตวณิชฺช มีความว่า พวกสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

จักเที่ยวทำการขายบาตร หรือออกร้านขายภาชนะดินในบ้านและนิคม

เป็นต้น. ภาชนะท่านเรียกว่า อามัตตะ (ในคำว่า อามตฺติกาปณ).

ภาชนะเหล่านั้นเป็นสินค้าของชนเหล่าใด ชนเหล่านั้น ชื่อว่า อามัตติกา

(ผู้มีภาชนะเป็นสินค้า). ร้านตลาดของผู้มีภาชนะเป็นสินค้าเหล่านั้น ชื่อว่า

อามัตติกาปณะ. อธิบายว่า ร้านขายสินค้าของพวกช่างหม้อ.

[อธิบายขนาดบาตร ๓-๙ ขนาด ]

หลายบทว่า ตโย ปตฺตสฺส วณฺณา ได้แก่ ขนาดแห่งบาตร

๓ ขนาด.

สองบทว่า อฑฺฒาฬฺหโกทน คณฺหติ มีความว่า ย่อมจุข้าวสุก

แห่งข้าวสาร ๒ ทะนาน โดยทะนานมคธ. ในอันธกอรรถกถาท่านกล่าว

ว่า ที่ชื่อว่า ทะนานมคธ มี ๑๒ ปละครึ่ง. ในมหาอรรถกถาท่านกล่าว

ว่า ในเกาะสิงหล ทะนานตามปกติใหญ่ ทะนานของชาวทมิฬเล็ก, ทะนาน

มคธ ได้ขนาด. ทะนานครั้ง โดยทะนานมคธนั้น เป็นหนึ่งทะนานสิงหล.

บทว่า จตุพฺภาคขาทนีย มีความว่า ของเคี้ยว ประมาณเท่า

ส่วนที่ ๔ แห่งข้าวสุก. ขาทนียะนั้น พึงทราบด้วยสามารถแห่งแกง ถั่วเขียว

พอหยิบด้วยมือได้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 993

สองบทว่า ตทุปิยญฺจ พฺยญฺชน มีความว่า กับข้าวมีปลาเนื้อ

ผักดองผลไม้และหน่อไม้เป็นต้น อันสมควรแก่ข้าวสุกนั้น.

ในบาตรนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- พึงเอาข้าวสารแห่งข้าวสาลีเก่า

(ซึ่งเก็บไว้แรมปี) ที่ไม่หัก ซึ่งซ้อมบริสุทธิ์ดีแล้ว ๒ ทะนานมคธ หุง

ให้เป็นข้าวสุกด้วยข้าวสารเหล่านั้นไม่เช็ดน้ำ ไม่เป็นข้าวท้องเล็น ไม่แฉะ

ไม่เป็นก้อน สละสลวยดี เช่นกับกองดอกมะลิตูมในหม้อ แล้วบรรจุลง

ในบาตรไม่ให้เหลือ เพิ่มแกงถั่วที่ปรุงด้วยเครื่องปรุงทุกอย่าง ไม่ข้นนัก

ไม่เหลวนัก พอมือหยิบได้ลงไป ประมาณเท่าส่วนที่ ๔ แห่งข้าวสุกนั้น.

แต่นั้น จึงเพิ่มกับข้าวมีปลา เนื้อเป็นต้น ลงไปสมควรแก่คำข้าวเป็นคำๆ

จนเพียงพอกับคำข้าวเป็นอย่างยิ่ง. ส่วนเนยใส น้ำมัน รสเปรียงและน้ำ

ข้าวเป็นต้น ไม่ควรนับ. เพราะของเหล่านั้น มีคติอย่างข้าวสุกนั่นเทียว

ไม่อาจเพื่อจะลดลงและไม่อาจจะเพิ่มขึ้นได้. อาหารที่บรรจุลงอย่างนี้แม้

ทั้งหมดนั่น ถ้าตั้งอยู่เสมอแนวล่างแห่งขอบปากบาตร, เมื่อเอาเส้นด้าย

หรือไม้ซีก (เสี้ยนตาล) ปาดไป (ของในบาตรนี้ ) ถูกที่สุดภายใต้เส้นด้าย

หรือไม้ซีกนั้น(คือของในบาตรมีข้าวสุกทะนานครึ่งเป็นต้นนี้ถูกที่สุดเบื้อง

ล่างแห่งด้ายหรือเสี้ยนตาลของบุคคลผู้ตัดด้วยด้ายหรือเสี้ยนตาล), บาตรนี้

ชื่อว่าบาตรขนาดใหญ่ (อย่างกลาง). ถ้าของในบาตรนั้นพูนเป็นจอม

เลยแนว (ขอบปากบาตร) นั้นขึ้นมา, บาตรนี้ชื่อว่าบาตรขนาดใหญ่อย่าง

เล็ก. ถ้าของในบาตรนั้น ไม่ถึงแนวขอบ (ปากบาตร) พร่องอยู่ภายใน

เท่านั้น, บาตรนี้ ชื่อว่า บาตรขนาดใหญ่อย่างใหญ่.

บทว่า นาฬิโกทน ได้แก่ ข้าวสุกแห่งข้าวสาร ๑ ทะนานโดย

ทะนานมคธ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 994

บทว่า ปตฺโถทน ได้แก่ ข้าวสุกกึ่งทะนานโดยทะนานมคธ. บทที่

เหลือ พึงทราบโดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. แต่มีความแปลกกันในเหตุ

สักว่าชื่อ ดังต่อไปนี้:- ถ้าของมีข้าวสุก ๑ ทะนานเป็นต้นแม้ทั้งหมด

ที่บรรจุลงแล้ว อยู่เสมอแนวขอบล่าง โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นเอง. บาตรนี้

ชื่อว่า บาตรขนาดกลาง (อย่างกลาง). ถ้าของพูนเป็นจอมเลยแนวขอบ

นั้นขึ้นมา, บาตรนี้ ชื่อว่า บาตรขนาดกลางอย่างเล็ก. ถ้าไม่ถึงแนว

ขอบนั้น, พร่องอยู่เพียงภายในเท่านั้น, บาตรนี้ชื่อว่า บาตรขนาดกลาง

อย่างใหญ่.

ถ้าของทั้งหมดมีข้าวสุกประมาณกึ่งทะนานเป็นต้น ที่บรรจุลงแล้ว

อยู่เสมอแนวล่าง (แห่งขอบปากบาตร), บาตรนี้ ชื่อว่า บาตรขนาดเล็ก

(อย่างกลาง). ถ้าของพูนเป็นจอมเลยแนวขอบนั้นขึ้นมา, บาตรนี้ ชื่อว่า

บาตรขนาดเล็กอย่างเล็ก. ถ้าของไม่ถึงแนวขอบนั้นพร่องอยู่ภายในเท่า

นั้น, บาตรนี้ ชื่อว่า บาตรขนาดเล็กอย่างใหญ่. ผู้ศึกษาพึงทราบบาตร

๙ ชนิดเหล่านี้ โดยประการดังกล่าวมาฉะนี้แล.

บรรดาบาตร ๙ ชนิดนั้น บาตร ๒ ชนิด คือ บาตรขนาดใหญ่

อย่างใหญ่ ๑ บาตรเล็กอย่างเล็ก ๑ ไม่จัดเป็นบาตร (เป็นบาตรใช้ไม่ได้).

จริงอยู่ คำว่า ใหญ่กว่านั้น ไม่ใช่บาตร เล็กกว่านั้น ไม่ใช่บาตร นี้ตรัส

หมายเอาบาตร ๒ ชนิดนั่น. แท้จริง บรรดาบาตร ๒ ชนิด บาตรขนาด

ใหญ่อย่างใหญ่ คือใหญ่กว่านั้น ตรัสว่า ไม่ใช่บาตร เพราะใหญ่กว่า

ขนาดใหญ่. และบาตรขนาดเล็กอย่างเล็ก คือ เล็กกว่านั้น ตรัสว่า

ไม่ใช่บาตร เพราะเล็กกว่าขนาดเล็ก. เพราะฉะนั้น บาตรเหล่านี้ ควร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 995

ใช้สอยอย่างใช้สอยภาชนะ ไม่ควรอธิษฐาน ไม่ควรวิกัป. ส่วนบาตร

๗ ชนิดนอกนี้ พึงอธิษฐานหรือวิกัปไว้ใช้เถิด.

เมื่อภิกษุไม่กระทำอย่างนี้ ให้บาตรนั้นล่วง ๑๐ วันไป เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ คือ เมื่อภิกษุให้บาตรแม้ทั้ง ๗ ชนิด ล่วงกาลมี

๑๐ วันเป็นอย่างยิ่งไป เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ แล.

ข้อว่า นิสฺสคฺคิย ปตฺต อนิสฺสชฺชิตฺวา ปริภุญฺชติ พึงทราบ

ความว่า เป็นทุกกฏ ทุก ๆ ประโยคอย่างนี้ คือ เมื่อภิกษุดื่มยาคูแล้ว

ล้างบาตร เป็นทุกกฏ. เมื่อฉันของควรเคี้ยว ฉันภัตตาหารแล้วล้างบาตร

เป็นทุกกฏ.

[อธิบายบาตรที่ควรอธิษฐานและวิกัป]

ก็ในคำว่า อนาปตฺติ อนฺโตทสาห อธิฏฺเติ วิกปฺเปติ นี้ ผู้ศึกษา

พึงทราบแม้บาตรที่ได้ประมาณเป็นบาตรควรอธิษฐานและวิกัป โดยนัย

ดังจะกล่าวอย่างนี้:-

บาตรเหล็ก ระบมแล้วด้วยการระบม ๕ ไฟ บาตรดินระบมแล้ว

ด้วยการระบม ๒ ไฟ จึงควรอธิษฐาน. บาตรทั้ง ๒ ชนิด เมื่อให้มูลค่า

ที่ควรให้แล้วนั่นแล ถ้าระบมยังหย่อนอยู่แม้เพียงหนึ่งไฟหรือยังไม่ได้ให้

มูลค่าแม้เพียงกากณิกหนึ่ง ไม่ควรอธิษฐาน. ถ้าเจ้าของบาตรกล่าวว่า

ท่านจงให้ในเวลาท่านมีมูลค่า ท่านจงอธิษฐานใช้สอยเถิด ดังนี้ ก็ยัง

ไม่ควรอธิษฐานแท้. เพราะว่า ยังไม่ถึงการนับว่าเป็นบาตร เพราะการ

ระบมยังหย่อนอยู่, ยังไม่ถึงความเป็นบาตรของตน ยังเป็นของผู้อื่นอยู่

ทีเดียว เพราะมูลค่าทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งยังไม่ได้ให้; เพราะฉะนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 996

เมื่อระบม และเมื่อให้มูลค่าเสร็จแล้วนั่นแล จึงเป็นบาตรควรอธิษฐาน

บาตรใบที่ควรอธิษฐานเท่านั้น จึงควรวิกัป. บาตรนั้น จะมาถึงมือแล้ว

ก็ตาม ยังไม่มาถึงก็ตาม ควรอธิษฐาน หรือควรวิกัปไว้เสีย.

ก็ถ้าว่า ช่างบาตรได้มูลค่าแล้ว หรือเป็นผู้ประสงค์จะถวายเอง

กล่าวว่า ท่านขอรับ ! ผมจักทำบาตรถวายท่าน ระบมแล้วในวันชื่อโน้น

จัก เก็บไว้ และภิกษุให้ล่วง ๑๐ วันไป จากวันที่ช่างบาตรนั้นกำหนดไว้

เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. ก็ถ้าว่า ช่างบาตรกล่าวว่า ผมจักทำบาตรถวาย

ท่าน ระบมแล้วจักส่งข่าวมาให้ทราบ แล้วทำเหมือนอย่างนั้น, ส่วน

ภิกษุผู้ที่ช่างบาตรนั้นวานไปไม่บอกแก่ภิกษุนั้น, ภิกษุอื่นเห็น หรือได้ยิน

จึงบอกว่า ท่านขอรับ ! บาตรของท่านเสร็จแล้ว, การบอกของภิกษุ

นั่นไม่เป็นประมาณ. แต่ในเวลาที่ภิกษุซึ่งช่างบาตรนั้นวานนั่นแหละบอก,

เมื่อภิกษุให้ล่วง ๑๐ วันไปจำเดิมแต่วันที่ได้ยินคำบอกกล่าวของภิกษุนั้น

เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. ถ้าช่างบาตรกล่าวว่า ผมจักทำบาตรถวายท่าน

ระบมแล้วจักส่งไปในมือของภิกษุบางรูป แล้วกระทำตามพูดนั้น, แต่ภิกษุ

ผู้รับบาตรมาเก็บไว้ในบริเวณของตนแล้วไม่บอกแก่เธอ ภิกษุอื่นบางรูป

กล่าวว่า ท่านขอรับ ! บาตรที่ได้มาใหม่สวยดีบ้างไหม ? เธอกล่าวว่า

คุณ ! บาตรที่ไหนกัน ? ภิกษุบางรูปนั้นกล่าวว่า ช่างบาตรส่งมาในมือ

ของภิกษุชื่อนี้. ถ้อยคำของภิกษุแม้นี้ก็ไม่เป็นประมาณ. แต่ในเวลาที่ภิกษุ

นั้นให้บาตร, เมื่อเธอให้ล่วง ๑๐ วันไปนับแต่วันที่ได้บาตรมา เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์. เพราะฉะนั้น อย่าให้ล่วง ๑๐ วัน พึงอธิษฐานหรือ

พึงวิกัปเสีย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 997

[อธิบายการอธิษฐานบาตร]

บรรดาการอธิษฐานและวิกัปนั้น อธิษฐานบาตรมี ๒ คือ อธิษฐาน

ด้วยกายอย่าง ๑ อธิษฐานด้วยวาจาอย่าง ๑. ภิกษุเมื่อจะอธิษฐานด้วย

อำนาจแห่งการอธิษฐาน ๒ อย่างนั้น พึงปัจจุทธรณ์บาตรเก่าที่ตั้งอยู่ต่อ

หน้าหรือในที่ลับหลังอย่างนี้ว่า อิม ปตฺต ปจฺจุทฺธรามิ แปลว่า ข้าพเจ้า

ถอนบาตรใบนี้ หรือว่า เอต ปตฺต ปจฺจุทฺธรามิ แปลว่า ข้าพเจ้าถอน

บาตรใบนั่น หรือให้แก่ภิกษุอื่นแล้ว เอามือลูบคลำบาตรใหม่ที่ตั้งอยู่

ในที่แห่งใดแห่งหนึ่งแล้ว ทำความคำนึงด้วยใจ แล้วทำกายวิการ

อธิษฐานด้วยกาย หรือเปล่งวาจา แล้วอธิษฐานด้วยวาจาว่า อิม ปตฺต

อธิฏฺามิ แปลว่า ข้าพเจ้าอธิษฐานบาตรใบนี้.

ในอธิษฐานวิสัยนั้น อธิษฐานมี ๒ อย่าง. ถ้าบาตรอยู่ในหัตถบาส

พึงเปล่งวาจาว่า อิม ปตฺต อธิฏฺามิ ข้าพเจ้าอธิษฐานบาตรใบนี้. ถ้า

บาตรนั้นอยู่ภายในห้องก็ดี ที่ปราสาทชั้นบนก็ดี ในวิหารใกล้เคียงก็ดี

ภิกษุพึงกำหนดสถานที่บาตรตั้งอยู่ แล้วพึงเปล่งวาจาว่า เอต ปตฺต อธิฏฺ-

ามิ ข้าพเจ้าอธิษฐานบาตรใบนั่น. ก็ภิกษุผู้อธิษฐานแม้อธิษฐานรูปเดียว

ก็ควร. แม้จะอธิษฐานในสำนักของภิกษุอื่น ก็ควร. การอธิษฐานใน

สำนักของภิกษุอื่นมีอานิสงส์ดังต่อไปนี้:- ถ้าเธอเกิดความเคลือบแคลงว่า

บาตร เราอธิษฐานแล้วหรือไม่หนอ ดังนี้, อีกรูปหนึ่งจักเตือนให้นึก

ได้ตัดความสงสัยเสีย. ถ้าภิกษุบางรูปได้บาตรมา ๑๐ ใบ ตนเองประสงค์

จะใช้สอยทั้งหมดทีเดียว, อย่าพึงอธิษฐานทั้งหมด. อธิษฐานบาตรใบ

หนึ่งแล้ววันรุ่งขึ้นปัจจุทธรณ์บาตรนั้นแล้วพึงอธิษฐานใบใหม่. โดยอุบาย

นี้อาจจะได้บริหาร (การคุ้มครอง) ตั้ง ๑๐๐ ปี.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 998

[ว่าด้วยการขาดอธิษฐานของบาตร]

ถามว่า การขาดอธิษฐาน พึงมีแก่ภิกษุผู้ไม่ประมาทอย่างนี้ได้

หรือ ?

ตอบว่า พึงมีได้.

หากว่า ภิกษุนี้ให้บาตรแก่ภิกษุอื่นก็ดี หมุนไปผิดก็ดี บอก

ลาสิกขาก็ดี กระทำกาละเสียก็ดี เพศของเธอกลับก็ดี ปัจจุทธรณ์เสียก็ดี

บาตรมีช่องทะลุก็ดี บาตรย่อมขาดอธิษฐาน. และคำนี้แม้พระอาจารย์

ทั้งหลายก็ได้กล่าวไว้ว่า

การขาดอธิษฐาน ย่อมมีได้ด้วยการให้ ๑ หมุน

ไปผิด ๑ ลาสิกขา ๑ กระทำกาลกิริยา ๑ เพศ

กลับ ๑ ปัจจุทธรณ์ (ถอน) ๑ เป็นที่ ๗ กับช่องทะลุ ๑

ดังนี้.

แม้เพราะโจรลักและการถือเอาโดยวิสาสะ บาตรก็ขาดอธิษฐาน

เหมือนกัน. บาตรจะขาดอธิษฐานด้วยช่องทะลุประมาณเท่าไร ? จะขาด

อธิษฐานด้วยช่องทะลุพอเมล็ดข้าวฟ่างลอดออกได้ และลอดเข้าได้.

จริงอยู่ บรรดาธัญชาติ ๗ ชนิด เมล็ดข้าวฟ่างนี้ เป็นเมล็ด

ธัญชาติอย่างเล็ก. เมื่อช่องนั้นอุดให้กลับ เป็นปกติด้วยผงเหล็ก หรือ

ด้วยหมุดแล้วพึงอธิษฐานบาตรนั้นใหม่ภายใน ๑๐ วัน.

ในการอธิษฐานที่ตรัสไว้ในคำว่า อนฺโตทสาห อธิฏฺเติ วิกปฺเปติ

นี้ มีวินิจฉัยเพียงเท่านี้ก่อน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 999

[ว่าด้วยการวิกัปบาตร]

ก็ในการวิกัป มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- วิกัปมี ๒ อย่าง คือวิกัป

ต่อหน้าอย่าง ๑ วิกัปลับหลังอย่าง ๑. วิกัปต่อหน้าเป็นอย่างไร ? คือ

ภิกษุพึงรู้ว่าบาตรมีใบเดียวหรือหลายใบ และวางไว้ใกล้หรือมิได้วางไว้

ใกล้ แล้วกล่าวว่า อิม ปตฺต ซึ่งบาตรนี้ หรือว่า อิเม ปตฺเต ซึ่ง

บาตรเหล่านี้ ก็ดี ว่า เอต ปตฺต ซึ่งบาตรนั่น หรือว่า เอเต ปตฺเต

ซึ่งบาตรเหล่านั้น ก็ดี แล้วกล่าวว่า ตุยฺห วิกปฺเปมิ ข้าพเจ้าวิกัปแก่

ท่าน นี้ชื่อว่าวิกัปต่อหน้าอย่าง ๑. ด้วยวิธีวิกัปเพียงเท่านี้จะเก็บไว้ควร

อยู่. แต่จะใช้สอย จะจำหน่าย หรือจะอธิษฐานไม่สมควร. แต่เมื่อ

ภิกษุผู้รับวิกัปกล่าวอย่างนี้ว่า มยฺห สนฺตก ปริภุญฺช วา วิสฺสชฺเชหิ

วา ยถาปจฺจย วา กโรหิ บาตรนี้ของข้าพเจ้า ท่านจงใช้สอย จง

จำหน่าย หรือจงกระทำตามปัจจัยก็ตาม ดังนี้ ชื่อว่าถอน. จำเดิมแต่

นั้น แม้การใช้สอยเป็นต้นควรอยู่.

อีกนัยหนึ่ง ภิกษุทราบว่าบาตรมีใบเดียวหรือหลายใบ และวางไว้

ใกล้หรือมิได้วางไว้ใกล้อย่างนั้นเหมือนกัน แล้วกล่าวว่า อิม ปตฺต ซึ่ง

บาตรนี้ หรือว่า อิเม ปตฺเต ซึ่งบาตรทั้งหลายเหล่านี้ ก็ดี ว่า เอต

ปตฺต ซึ่งบาตรนั่น หรือว่า เอเต ปตฺเต ซึ่งบาตรทั้งหลายเหล่านั่น

ก็ดี ในสำนักของภิกษุนั้นนั่นแหละ แล้วระบุชื่อแห่งบรรดาสหธรรมิก

ทั้ง ๕ รูปใดรูปหนึ่ง คือ ท่านใดท่านหนึ่ง ที่ตนชอบใจแล้วพึงกล่าวว่า

ติสฺสสฺส ภิกฺขุโน วิกปฺเปมิ ข้าพเจ้าวิกัปแก่ภิกษุชื่อว่าติสสะ ดังนี้

ก็ดี ว่า ติสฺสาย ภิกฺขุนิยา... ติสฺสาย สิกฺขมานาย... ติสฺสสฺส

สามเณรสฺส... ติสฺสาย สามเณริยา วิกปฺเปมิ ข้าพเจ้าวิกัปแก่ภิกษุณี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1000

ชื่อติสสา... แก่สิกขมานาชื่อติสสา... แก่สามเณรชื่อติสสะ... แก่สามเณรี

ชื่อติสสา ดังนี้ ก็ดี นี้ชื่อว่าวิกัปต่อหน้า แม้อีกอย่างหนึ่ง. ด้วยคำเพียง

เท่านี้ จะเก็บไว้ สมควรอยู่, แต่บรรดากิจมีการบริโภคเป็นต้น แม้กิจ

อย่างหนึ่งก็ไม่ควร. แต่เมื่อภิกษุผู้รับวิกัปนั้นกล่าวว่า ติสฺสสฺส ภิกขุโน

สนฺตก ฯปฯ ติสฺสาย สามเณริยา สนฺตก ปริภุญฺชา วา วิสฺสชฺเชหิ

วา ยถาปจฺจย วา กโรหิ บาตรนี้ ของภิกษุชื่อติสสะ ฯลฯ ของ

สามเณรีชื่อติสสา ท่านจงใช้สอยก็ตาม จงจำหน่ายก็ตาม จงกระทำตาม

ปัจจัยก็ตาม ดังนี้แล้ว ชื่อว่าถอน. จำเดิมแต่นั้น แม้การบริโภคเป็นต้น

ก็สมควร.

วิกัปลับหลังเป็นอย่างไร ? คือ ภิกษุทราบว่าบาตรมีใบเดียวหรือ

หลายใบ และว่าวางไว้ใกล้ หรือมิได้วางไว้ใกล้อย่างนั้นนั่นแลแล้วกล่าว

ว่า อิม ปตฺต ซึ่งบาตรนี้ หรือว่า อิเม ปตฺเต ซึ่งบาตรเหล่านี้ ก็ดี

ว่า เอต ปตฺต ซึ่งบาตรนั่น หรือว่า เอเต ปตฺเต ซึ่งบาตรเหล่านั้น

ก็ดี แล้วกล่าวว่า ตุยห วิกปฺปนตฺถาย ทมฺมิ ข้าพเจ้าให้แก่ท่านเพื่อ

ต้องการวิกัป ดังนี้.

ภิกษุผู้รับวิกัปนั้น พึงถามเธอว่า ใครเป็นมิตรหรือเป็นเพื่อน

เห็นกันของท่าน. ลำดับนั้น ภิกษุผู้วิกัปนอกนี้ พึงกล่าวว่า ติสฺโส ภิกฺขุ

ภิกษุชื่อว่าติสสะ ฯ ล ฯ หรือว่า ติสฺสา สามเณรี สามเณรีชื่อว่าติสสา

โดยนัยก่อนนั่นแล. ภิกษุนั้น พึง่กล่าวอีกว่า อห ติสฺสสฺส ภิกฺขุโน

ทมฺมิ ฯเปฯ หรือว่า ติสฺสาย สามเณริยา ทมฺมิ ข้าพเจ้าให้แก่ภิกษุ

ชื่อติสสะ ฯ ล ฯ หรือว่า ข้าพเจ้าให้แก่สามเณรีชื่อติสสา. นี้ชื่อว่า

วิกัปลับหลัง. ด้วยการวิกัปเพียงเท่านี้จะเก็บไว้ ควรอยู่, แต่บรรดากิจมี

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1001

การบริโภคเป็นต้น กิจแม้อย่างเดียวไม่ควร. เมื่อภิกษุนั้นกล่าวว่า

อิตถฺนฺนามสฺส สนฺตก ปริภุญฺช วา วิสฺสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจย วา

กโรหิ บาตรนี้ ของภิกษุชื่อนี้ ท่านจงใช้สอยก็ตาม จงจำหน่ายก็ตาม

จงกระทำตามปัจจัยก็ตาม โดยนัยดังกล่าวแล้ว ในวิกัปต่อหน้าอย่างที่

สองนั่นแล ย่อมชื่อว่าถอน. จำเดิมแต่นั้น แม้การจะใช้สอยเป็นต้น ก็ควร.

แต่ข้อแตกต่างกันแห่งวิกัปทั้งสองอย่างนี้ และลำดับแห่งวรรณนาที่ยัง

เหลือทั้งหมด ผู้ศึกษาพึงทราบโดยนัยดังกล่าวแล้ว ในวรรณนาแห่ง

ปฐมกฐินสิกขาบทนั่นแหละ พร้อมทั้งสมุฎฐานเป็นต้น ฉะนี้แล.

ปัตตสิกขาบทที่ ๑ จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๒

เรื่องภิกษุหลายรูป

[๑๒๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ

นิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ สักกชนบท ครั้งนั้น นายช่างหม้อ

ผู้หนึ่งปวารณาภิกษุทั้งหลายไว้ว่า พระคุณเจ้าเหล่าใดต้องการบาตร

กระผมจักถวายบาตรแก่พระคุณเจ้าเหล่านั้น

สมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาเป็นอันมาก

ภิกษุที่มีบาตรขนาดเล็ก ย่อมขอบาตรขนาดใหญ่ ภิกษุที่มีบาตรขนาดใหญ่

ย่อมขอบาตรขนาดเล็ก จึงนายช่างหม้อนั้น มัวทำบาตรเป็นอันมากถวาย

ภิกษุทั้งหลายอยู่ ไม่สามารถจะทำของสำหรับขายอย่างอื่นได้ แม้ตนเอง

ก็ไม่พอครองชีพ แม้บุตรภรรยาของเขาก็ลำบาก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1002

ชาวบ้านพากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเธอ

สายพระศากยบุตรจึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามากมายเล่า นายช่าง

หม้อผู้นี้มัวทำบาตรเป็นอันมากมาถวายพระสมณะเหล่านี้อยู่ จึงไม่สามารถ

จะทำของสำหรับขายอย่างอื่นได้ แม้ตนเองก็ไม่พอครองชีพ แม้บุตร

ภรรยาของเขาก็ลำบาก

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านแหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้ไม่

รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมากเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลาย ไม่รู้จักประมาณ

ขอบาตรเขามาไว้มากมายจริงหรือ

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านี้นั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่

กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นจึง

ได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมากเล่า การกระทำของ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1003

ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยัง

ไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนเลื่อมใสแล้ว โดย

ที่แท้ การกระทำของพวกโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชน

บางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงห้ามขอบาตร

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้น โดยอเนกปริยาย

ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจ

คร้าน ตรัสคุณเเห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ

มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส

การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำ

ธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย

แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่ควรขอบาตร ภิกษุใดขอ ต้อง

อาบัติทุกกฏ.

[๑๒๙] ก็โดยสมัยนั้นแล บาตรของภิกษุรูปหนึ่งแตก ภิกษุนั้น

รังเกียจว่า การขอบาตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติห้ามแล้ว จึงไม่

ขอบาตรเขาเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือทั้งสอง ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ

ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้เที่ยว

รับบิณฑบาตด้วยมือทั้งสองเหมือนพวกเดียรถีย์เล่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1004

ภิกษุทั้งหลาย ได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้ขอบาตร

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้มีบาตรหายหรือมีบาตรแตก

ขอบาตรเขาได้...

[๑๓๐] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงอนุญาติให้ภิกษุผู้มีบาตรหายหรือมีบาตรแตก ขอบาตรเขาได้

แม้พวกเธอมีบาตรแตกเพียงเล็กน้อย ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียง

เล็กน้อย มีรอยขีดเพียงเล็กน้อย ก็ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้

เป็นอันมาก

คราวนั้น นายช่างหม้อผู้นั้นมัวทำบาตรเป็นอันมากถวายแก่ภิกษุ

ทั้งหลายอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถจะทำของขายอย่างอื่นได้ แม้ตนเอง

ก็ไม่พอครองชีพ แม้บุตรภรรยาของเขาก็ลำบาก ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ

ติเตียนโพนทะนาดุจก่อนนั้นว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึง

ได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามามากมายเล่า นายช่างหม้อผู้นี้มัวทำ

บาตรเป็นอันมากถวายพระสมณะเหล่านี้อยู่ จึงไม่สามารถจะทำของสำหรับ

ขายอย่างอื่นได้ แม้ตนเองก็ไม่พอครองชีพ แม้บุตรภรรยาของเขาก็ลำบาก

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์แม้มีบาตร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1005

แตกเพียงเล็กน้อย ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียงเล็กน้อย มีรอยขีด

เพียงเล็กน้อย จึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมากเล่า

แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอมีบาตรแตกเพียงเล็ก

น้อย ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียงเล็กน้อย มีรอยขีดเพียงเล็ก

น้อย ก็ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมาก จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอ แม้มีบาตรแตกเพียงเล็กน้อย

ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียงเล็กน้อย มีรอยขีดเพียงเล็กน้อย

จึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมากเล่า การกระทำ

ของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส

หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การ

กระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1006

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอมีบาตรแตกเพียง

เล็กน้อย ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียงเล็กน้อย มีรอยขีดเพียง

เล็กน้อย ก็ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมาก จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอ แม้มีบาตรแตกเพียงเล็ก

น้อย ทะลุเพียงเล็กน้อย กะเทาะเพียงเล็กน้อย มีรอยขีดเพียงเล็ก

น้อย จึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอบาตรเขามาไว้เป็นอันมากเล่า การ

กระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้

การกระทำของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่

ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส

แล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์ โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1007

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถา ที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น

แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน เพื่อกำจัดอาสนะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว เพื่อความตั้งมั่นเเห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๑. ๒. อนึ่ง ภิกษุใด มีบาตรมีแผลหย่อนห้า ให้จ่ายบาตร

ใหม่อื่น เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์ ภิกษุนั้นพึงสละบาตรใบนั้นในภิกษุ

บริษัท บาตรใบสุดภิกษุบริษัทนั้น พึงมอบให้แก่ภิกษุนั้นสั่งว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1008

ภิกษุ นี้บาตรของท่าน พึงทรงไว้กว่าจะแตก นี้เป็นสามีจิกรรมใน

เรื่องนั้น.

เรื่องภิกษุหลายรูป จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๓๑] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ ชื่อว่า

ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระะเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วย

ญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น

ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ

ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

บาตรที่ชื่อว่า มีแผลหย่อนห้า คือ ไม่มีแผล มี ๑ แผล มี ๒

แผล มี ๓ แผล หรือมี ๔ แผล

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1009

บาตรที่ชื่อว่า ไม่มีแผล ได้แก่ บาตรที่มีรอยร้าวยาวไม่ถึงสององคุลี

บาตรที่ชื่อว่า มีแผล ได้แก่ บาตรที่มีรอยร้าวยาวถึงสององคุลี

บาตรที่ชื่อว่า ใหม่ ตรัสหมายถึงบาตรที่ขอเขามา.

บทว่า ให้จ่าย คือ ขอเขา เป็นทุกกฏในประโยคที่ขอ เป็น

นิสสัคคีย์ด้วยได้บาตรมา จำต้องเสียสละในท่ามกลางสงฆ์

ภิกษุทุกรูปพึงถือบาตรที่อธิษฐานแล้วไปประชุม อย่าอธิษฐาน

บาตรเลว ด้วยหมายจะได้บาตรที่มีราคามาก ถ้าอธิษฐานบาตรเลว ด้วย

หมายจะได้บาตรที่มีราคามาก ต้องอาบัติทุกกฏ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละบาตรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละบาตร

[๑๓๒] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่านเจ้าข้า บาตรใบนี้ ของข้าพเจ้ามีบาตรมีแผลหย่อนห้า ให้

จ่ายมาแล้วเป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละบาตรใบนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับ

อาบัติ สงฆ์พึงสมมติภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ให้เป็นผู้เปลี่ยนบาตร

องค์ ๕ ของภิกษุผู้เปลี่ยนบาตร

องค์ ๕ นั้น คือ ๑. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความชอบพอ ๒.

ไม่ถึงความลำเอียงเพราะเกลียดชัง ๓. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะงมงาย

๔. ไม่ถึงความลำเอียงเพราะกลัว และ ๕. รู้จักว่าทำอย่างไร เป็นอัน

เปลี่ยนหรือไม่เป็นอันเปลี่ยน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1010

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสมมติภิกษุผู้เปลี่ยนบาตรนั้น

อย่างนี้:-

วิธีสมมติภิกษุผู้เปลี่ยนบาตร

พึงขอภิกษุให้รับตกลงก่อน ครั้นแล้ว ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ

พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

คำสมมติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้เปลี่ยนบาตร นี้เป็นญัตติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้

เป็นผู้เปลี่ยนบาตร การสมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นผู้เปลี่ยนบาตร ชอบ

แก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้น

พึงพูด

ภิกษุมีชื่อนี้สงฆ์สมมติให้เป็นผู้เปลี่ยนบาตรแล้ว ชอบแก่สงฆ์

เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้

ภิกษุผู้รับสมมติแล้วนั้น พึงให้เปลี่ยนบาตร พึงกราบเรียนพระเถระ

ว่า ท่านเจ้าข้า ขอพระเถระจงเปลี่ยนบาตร ถ้าพระเถระเปลี่ยน พึง

ถวายบาตรพระเถระ ให้พระทุติยเถระเปลี่ยน อันภิกษุจะไม่เปลี่ยน

เพราะความสงสารภิกษุนั้นไม่ได้ ภิกษุใดไม่ยอมเปลี่ยน ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่พึงให้ภิกษุผู้ไม่มีบาตรเปลี่ยน พึงให้เปลี่ยนเลื่อนลงมาโดยอุบายนี้แล

ตลอดถึงพระสังฆนวกะ ก็แลบาตรใดเป็นใบสุดท้ายแห่งภิกษุบริษัทนั้น

พึงมอบบาตรนั้น แก่ภิกษุผู้ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์นั้น ด้วยสั่งกำชับ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1011

ว่า ดูก่อนภิกษุ นี้บาตรของเธอ พึงใช้ไปกว่าจะแตก ดังนี้ ภิกษุนั้น

อย่าเก็บบาตรใบนั้นไว้ในที่อันไม่ควร อย่าใช้โดยอาการอันไม่ควร อย่า

ทอดธุระว่าบาตรใบนี้จะเป็นอย่างไรก็ตาม คือ จะหาก็ช่าง จะฉิบหาย

ก็ช่าง จะแตกก็ช่าง ถ้าเก็บไว้ในที่ ๆ ไม่ควรก็ดี ใช้อย่างที่เขาไม่ใช้กัน

ก็ดี ปล่อยทิ้งเสียก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

บทว่า นี้เป็นสามีกรรมในเรื่องนั้น คือ นี้เป็นความถูกยิ่งใน

เรื่องนั้น .

บทภาชนีย์

บาตรไม่มีแผล

[๑๓๓] ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิสสัคดีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1012

บาตรมีแผล ๑ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

บาตรมีแผล ๒ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1013

บาตรมีแผล ๓ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิส-.

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

บาตรมีแผล ๔ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1014

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล

[๑๓๔]ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1015

ภิกษุมีบาตรไม่มีแผล

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1016

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล

[๑๓๕] ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็นนิส -

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็นนิส -

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1017

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1018

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1019

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล

[๑๓๖] ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรไม่มีท่าจะมีแผล ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1020

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรทีมีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1021

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่ไม่มีท่าจะมีแผล เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๑ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๒ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๓ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ภิกษุมีบาตรมีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง ขอบาตรที่มีท่าจะมีแผล ๔ แห่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

อนาปัตติวาร

[๑๓๗] ภิกษุมีบาตรหาย ๑ ภิกษุมีบาตรแตก ๑ ภิกษุขอต่อญาติ ๑

ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุขอเพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุ

จ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่

ต้องอาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๒ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๒

พรรณนาอูนปัญจพันธนสิกขาบท

อูนปัญจพันธนสิกขาบทว่า เตน สนเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในอูนปัญจพันธนสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1022

บทว่า น ยาเปติ มีความว่า นัยว่า ช่างหม้อนั้นถูกภิกษุฉัพพัคคีย์

เหล่านั้นรบกวนอย่างนี้ ถ้าจักไม่ได้เป็นพระอริยสาวกแล้ว คงจักถึงความ

เสียใจเป็นอย่างอื่นไปก็ได้. แต่เพราะเขาเป็นโสดาบัน ตัวเองอย่างเดียว

เท่านั้นไม่พอเลี้ยงชีพ. เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคีติกาจารย์จึงกล่าวว่า

แม้ตนเองก็ไม่พอครองชีพ แม้บุตรภรรยาของเขาก็ลำบาก.

[อธิบายบาตรที่มีผูกหย่อน ๕ แห่งเป็นต้น]

ใน บทว่า อูนปญฺจพนฺธเนน นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- บาตรที่

ชื่อว่า มีที่ผูกหย่อน ๕ แห่ง เพราะมีแผลหย่อน ๕ แห่ง. อธิบายว่า

บาตรนั้นมีแผลยังไม่ครบเต็ม ๕ แห่ง. มีบาตร มีแผลหย่อน ๕ นั้น.

(บทนี้เป็น) ตติยาวิภัตติ ลงในลักษณะแห่งอิตถัมภูต, ในพากโยปัญญาส

นั้น แม้บาตรยังไม่มีแผล จะมีแผลครบ ๕ แห่ง ไม่ได้ เพราะยังไม่มี

โดยประการทั้งปวง; ฉะนั้น ในบทภาชนะพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส

คำว่า อพนฺธโน วา เป็นต้น และเพราะตรัสคำว่า มีแผลหย่อน ๕ แห่ง

ดังนี้ ภิกษุใดมีบาตรมีแผลครบ ๕ แห่ง. บาตรนั้นของภิกษุนั้น ไม่จัด

เป็นบาตร; เพราะฉะนั้น จึงควรขอบาตรใหม่ได้. ก็เพราะขึ้นชื่อว่าแผล

นี้เมื่อมีท่าจะมีแผล จึงมีได้ เมื่อไม่มีท่าจะมีแผล ก็ไม่มี; ฉะนั้น เพื่อ

จะทรงแสดงลักษณะแห่งผลนั้น จึงตรัสคำว่า อพนฺธโนกาโส นาม

เป็นต้น.

คำว่า ทฺวงฺคุลราชิ น โหติ ได้แก่ ไม่มีรอยร้าวแม้รอยเดียว ยาว

ประมาณสององคุลี ภายใต้ขอบปาก.

คำว่า ยสฺส ทฺวงฺคุลราชิ โหติ มีความว่า บาตรที่มีรอยร้าวรอย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1023

เดียวเช่นนี้ พึงเอาเหล็กเจาะบาตร เจาะที่สุดริมล่างของรอยร้าวนั้น

ระบมแล้วผูกรัดด้วยเชือกด้าย และเชือกปอเป็นต้น หรือด้วยลวดดีบุก.

พึงอุดแผลนั้นด้วยแผ่นดีบุก หรือด้วยยางสำหรับติดบางอย่างเพื่อกัน

อามิสติด. และบาตรนั้นพึงอธิษฐานไว้ใช้เถิด. อนึ่ง พึงผูกทำช่องให้

เล็ก. แต่จะยาด้วยขี้ผึ้ง ครั่ง และยางสนเป็นต้นล้วน ๆ ไม่ควร. จะ

เคี่ยวน้ำอ้อยด้วยผงหิน ควรอยู่. แต่บาตรที่ภิกษุเอาเหล็กเจาะบาตร เจาะ

ในที่ใกล้ขอบปาก จะแตก เพราะแผ่นเหล็กหนา; เพราะฉะนั้น จึง

ควรเจาะข้างล่าง. แต่สำหรับบาตรที่มีรอยร้าว ๒ แห่ง หรือเพียงแห่ง

เดียวแต่ยาวถึง ๔ องคุลี ควรให้เครื่องผูก ๒ แห่ง. พึงให้เครื่องผูก ๓

แห่งแก่บาตรที่มีรอยร้าว ๓ แห่ง หรือมีเพียงแห่งเดียว แต่ยาวถึง ๖

องคุลี. พึงให้เครื่องผูก ๔ แห่ง แก่บาตรที่มีรอยร้าว ๔ แห่ง หรือมี

เพียงแห่งเดียวแต่ยาวถึง ๘ องคุลี บาตรที่รอยร้าว ๕ แห่ง หรือมีเพียง

แห่งเดียวแต่ยาวถึง ๑๐ องคุลี จะผูกก็ตาม ไม่ผูกก็ตาม ไม่จัดเป็นบาตร

เลย, ควรขอบาตรใหม่. นี้เป็นวินิจฉัยในบาตรดินก่อน.

ส่วนวินิจฉัยในบาตรเหล็ก พึงทราบดังต่อไปนี้:- ถ้าแม้นมีช่อง

ทะลุ ๕ แห่ง หรือเกินกว่า, และช่องทะลุเหล่านั้นอุดด้วยผงเหล็กด้วย

หมุด หรือด้วยก้อนเหล็กกลม ๆ เป็นของเกลี้ยงเกลา, ควรใช้สอยบาตร

นั้นนั่นแล, ไม่ควรขอบาตรใหม่. แต่ถ้ามีช่องทะลุแม้ช่องเดียว แต่เป็น

ช่องใหญ่, แม้อุดด้วยก้อนเหล็กกลมๆ ก็ไม่เกลี้ยงเกลา, อามิสติดที่บาตร

ได้ เป็นอกัปปิยะ, บาตรนี้ ไม่ใช่บาตร ควรขอบาตรใหม่ได้.

สองบทว่า เถโร วตฺตพฺโพ มีความว่า ภิกษุแสดงอานิสงส์ใน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1024

บาตรแล้ว พึงเรียนพระเถระว่า ท่านขอรับ ! บาตรใบนี้มีขนาดถูกต้อง

สวยดี สมควรแก่พระเถระ, ขอท่านโปรดรับบาตรนั้นไว้เถิด.

สองบทว่า โย น คณฺเหยฺย มีความว่า เมื่อพระเถระไม่รับไว้

เพื่ออนุเคราะห์เป็นทุกกฏ. แต่เพราะความสันโดษ ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ

ผู้ไม่รับด้วยคิดว่า จะมีประโยชน์อะไรแก่เราด้วยบาตรใบอื่น.

บทว่า ปตฺตปริยนฺโต ได้แก่ บาตรที่เปลี่ยนกันอย่างนี้ตั้งอยู่ท้าย

สุด.

บทว่า อเทเส มีความว่า ภิกษุนั้นไม่พึงเก็บบาตรใบนั้นไว้ในที่

ไม่ควร มีเตียงตั้งร่มไม้ฟันนาคเป็นต้น. พึงเก็บไว้ในที่ที่ตนเก็บบาตรดี

ใบก่อนไว้นั่นแล. ความจริง ที่เก็บบาตร พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้

แล้วในขันธกะนั่นแลโดยนัยเป็นต้นว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาต

เชิงรองบาตร ดังนี้.

บทว่า น อโภเคน คือ ไม่พึงใช้บาตรโดยการใช้ไม่สมควร มี

การต้มข้าวต้มและต้มน้ำย้อมเป็นต้น. แต่เมื่อเกิดอาพาธในระหว่างทาง

เมื่อภาชนะอื่นไม่มี จะเอาดินเหนียวพอกแล้วต้มข้าวต้ม หรือต้มน้ำร้อน

ควรอยู่.

บทว่า น วิสฺสชฺเชตพฺโพ มีความว่า ไม่ควรให้แก่คนอื่น. แต่

ถ้าว่า สัทธิวิหาริกหรืออันเตวาสิกวางบาตรที่ดีใบอื่นไว้แทนถือเอาไปด้วย

คิดว่า บาตรนี้ ควรแก่เรา, บาตรนี้ควรแก่พระเถระ ดังนี้ ควรอยู่.

หรือภิกษุอื่นถือเอาบาตรใบนั้นแล้วถวายบาตรของตน ก็ควร. ไม่มีกิจที่

ต้องกล่าวว่า เธอจงเอาบาตรของเรานั่นแหละมา.

ก็ในบทว่า ปวาริตาน มีอธิบายว่า ในกุรุนทีท่านกล่าวว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1025

ภิกษุมีบาตรเป็นแผลเพียง ๕ แห่ง จะขอบาตรใหม่ในที่ที่เขาปวารณาไว้

ด้วยอำนาจแห่งสงฆ์ ควรอยู่, ถึงมีบาตรเป็นแผลหย่อน ๕ แห่ง จะขอ

ในที่ที่เขาปวารณาไว้ด้วยอำนาจแห่งบุคคล ก็ควร ดังนี้. คำที่เหลือใน

สิกขาบทนี้ มีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

อูนปัญจพันธนสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๓

เรื่องพระปิลินทวัจฉเถระ

[๑๓๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิตคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่าน

พระปิลินทวัจฉะกำลังให้คนชำระเงื้อมเขาในเขตพระนครราชคฤห์ ประ-

สงค์จะทำเป็นสถานที่เร้น

ขณะนั้น พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ เสด็จเข้าไปหาท่าน

พระปิลินทวัจฉะถึงสำนัก ทรงอภิวาทแล่งประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์

อันควรส่วนข้างหนึ่ง ได้ตรัสถามท่านพระปิลินทวัจฉะว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า

พระเถระกำลังให้เขาทำอะไรอยู่

ท่านพระปิลินทวัจฉะถวายพระพรว่า อาตมภาพกำลังให้เขาชำระ

เงื้อมเขาประสงค์จะทำเป็นสถานที่เร้น ขอถวายพระพร

พิ. พระคุณเจ้าจะต้องการคนทำการวัดบ้างไหม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1026

ปิ. ขอถวายพระพร คนทำการวัด พระผู้มีพระภาคเจ้ายังไม่ทรง

อนุญาต

พิ. ถ้าเช่นนั้น โปรดทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วบอกให้

ข้าพเจ้าทราบ

ท่านพระปิลินทวัจฉะทูลสนองพระบรมราชโองการว่า ได้ ขอถวาย

พระพร แล้วชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ ทรงสมาทาน

อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว

ลำดับนั้นแล พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ อันท่านพระ-

ปิลินทวัจฉะชี้แจงให้ทรงสมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถาแล้ว

เสด็จลุกจากพระราชอาสน์ ทรงอภิวาที่ท่านพระปิลินทวัจฉะ ทรงทำ

ประทักษิณแล้วเสด็จกลับ

หลังจากนั้น ท่านพระปิลินทวัจฉะส่งสมณทูตไปในสำนักพระ-

ผู้มีพระภาคเจ้ากราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า พระเจ้าพิมพิสาร จอม

พลมคธรัฐ มีพระราชประสงค์จะทรงถวายคนทำการวัด ข้าพระพุทธเจ้า

จะพึงปฏิบัติอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า

ทรงอนุญาตให้มีคนทำการวัด

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น ทรงกระทำธรรมีกถา

แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้มีคน

ทำการวัด

พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ เสด็จเข้าไปหาท่านพระปิลินทวัจ-

ฉะ ถึงสำนักเป็นคำรบสอง ทรงอภิวาทแล้ว ประทับนั่งเหนือพระอาสน์อัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1027

ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วตรัสถามท่านพระปิลินทวัจฉะว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า

คนทำการวัด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้วหรือ

ท่านพระปิลินทวัจฉะถวายพระพรว่า ขอถวายพระพร ทรงอนุญาต

แล้ว

พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ ทรงรับปฏิญาณถวายคนทำการวัด

แก่ท่านพระปิลินทวัจฉะว่า ถ้าเช่นนั้น ข้าพเจ้าจักถวายคนทำการวัดแก่

พระคุณเจ้าดังนี้แล้วทรงลืมเสีย ต่อนานมาทรงระลึกได้ จึงตรัสถาม

มหาอำมาตย์ผู้สำเร็จราชกิจทั้งปวงผู้หนึ่งว่า พนาย คนทำการวัดที่เราได้

รับปฏิญาณจะถวายแก่พระคุณเจ้านั้น เราได้ถวายไปแล้วหรือ

มหาอำมาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ ยังไม่ได้พระราชทาน พระ-

พุทธเจ้าข้า

พระราชาตรัสถามว่า จากวันนั้นมา นานกี่ราตรีแล้ว พนาย

ท่านมหาอำมาตย์นับราตรีแล้วกราบทูลในทันใดนั้นแลว่า ขอเดชะ

๕๐๐ ราตรี พระพุทธเจ้าข้า

พระราชารับสั่งว่า พนาย ถ้าเช่นนั้นจงถวายท่านไป ๕๐๐ คน.

ท่านมหาอำมาตย์รับสนองพระบรมราชโองการว่า พระพุทธเจ้าข้า

แล้วได้จัดคนทำการวัดไปถวายพระปิลินทวัจฉะ ๕๐๐ คน หมู่บ้านของ

คนทำการวัดพวกนั้น ได้ตั้งอยู่แผนกหนึ่ง คนทั้งหลายเรียกตำบลบ้าน

นั้นว่า ตำบลบ้านอารามิกบ้าง ตำบลบ้านปิลินทวัจฉะบ้าง.

[๑๓๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระปิลินทวัจฉะ ได้เป็นพระกุลุปกะ

ในหมู่บ้านตำบลนั้น ครั้นเช้าวันหนึ่ง ท่านครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตร

จีวรเข้าไปบิณฑบาตยังตำบลบ้านปิลินทวัจฉะ สมัยนั้น ในตำบลบ้านนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1028

มีมหรสพ พวกเด็ก ๆ ตกแต่งกายประดับดอกไม้ เล่นมหรสพอยู่ พอดี

ท่านพระปิลินทวัจฉะเที่ยวบิณฑบาตไปตามลำดับตรอกปิลินทวัจฉะ ได้

เข้าไปถึงเรือนคนทำการวัดผู้หนึ่ง ครั้นแล้วนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย

ขณะนั้น ธิดาของสตรีผู้ทำการวัดนั้น เห็นเด็ก ๆ พวกอื่นตกแต่ง

กายประดับดอกไม้แล้วร้องอ้อนว่า จงให้ดอกไม้แก่ข้าพเจ้า จงให้

เครื่องตกแต่งกายแก่ข้าพเจ้า

ท่านพระปิลินทวัจฉะจึงถามสตรีผู้ทำการวัดคนนั้นว่า เด็กหญิงคนนี้

ร้องอ้อนอยากได้อะไร

นางกราบเรียนว่า ท่านเจ้าข้า เด็กหญิงคนนี้เห็นเด็ก ๆ พวกอื่น

ตกแต่งกายประดับดอกไม้ จึงร้องอ้อนขอว่า จงให้ดอกไม้แก่ข้าพเจ้า

จงให้เครื่องตกเเต่งกายแก่ข้าพเจ้า ดิฉันบอกว่า เราเป็นคนจน จะได้

ดอกไม้มาจากไหน จะได้เครื่องแต่งกายมาจากไหน

ขณะนั้น ท่านพระปิลินทวัจฉะ หยิบหมวกฟางใบหนึ่งส่งให้แล้ว

กล่าวว่า เจ้าจงสวมหนวกฟางนี้ลงที่ศีรษะเด็กหญิงนั้น ทันใดนางได้รับ

หมวกฟางนั้นสวมลงที่ศีรษะเด็กหญิงนั้น หมวกฟางนั้นได้กลายเป็น

ระเบียบดอกไม้ทองคำ งดงามน่าดูน่าชม ระเบียบดอกไม้ทองคำเช่นนั้น

แม้ในพระราชสถานก็ไม่มี

ชาวบ้านกราบทูลแด่พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐว่า ขอเดชะ

ระเบียบดอกไม้ทองคำที่เรือนของคนทำการวัดชื่อโน้น งดงาม น่าดู น่าชม

แม้ในพระราชสถานก็ไม่มี เขาเป็นคนเข็ญใจจะได้มาแต่ไหน เป็นต้อง

ได้มาด้วยโจรกรรมเป็นแน่นอน

ท้าวเธอจึงรับสั่งให้จองจำตระกูลคนทำการวัดนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1029

ครั้นเช้าวันที่ ๒ ท่านพระปิลินทวัจฉะครองอันตรวาสกแล้ว ถือ

บาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตถึงตำบลบ้านปิลินทวัจฉะ เมื่อเที่ยวบิณฑบาต

ไปตามลำดับตรอกในบ้านปิลินทวัจฉะ ได้เดินผ่านไปทางเรือนคนทำการ

วัดผู้นั้น ครั้นแล้วได้ถามคนที่เขาดุ้นกันว่า ตระกูลคนทำการวัดนี้ไป

ไหนเสีย

คนพวกนั้นกราบเรียนว่า เขาถูกจองจำเพราะเรื่องระเบียบดอกไม้

ทองคำนั้น เจ้าข้า

ทันใดนั้นแล ท่านพระปิลินทวัจฉะได้เข้าไปสู่พระราชนิเวศน์นั่ง

เหนืออาสนะที่เขาจัดถวาย

ขณะนั้น พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ เสด็จเข้าไปหาท่าน

พระปิลินทวัจฉะ ทรงอภิวาทแล้ว ประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์ อัน

ควรส่วนข้างหนึ่ง

ท่านพระปิลินทวัจฉะได้ทูลถามพระเจ้าพิมพิสาร จอนพลมคธรัฐ

ผู้ประทับนั่งเรียบร้อยแล้วดังนี้ว่า ขอถวายพระพร ตระกูลคนทำการวัด

ถูกรับสั่งให้จองจำด้วยเรื่องอะไร

พระเจ้าพิมพิสารตรัสว่า ข้าแด่พระคุณเจ้า เพราะที่เรือนของเขา

มีระเบียบดอกไม้ทองคำอย่างงดงาม น่าดู น่าชม แม้ที่ในวังก็ยังไม่มี

เขาเป็นคนจนจะได้มาแต่ไหน เป็นต้องได้มาด้วยโจรกรรมเป็นแน่นอน

ขณะนั้นแล ท่านพระปิลินทวัจฉะได้อธิษฐานปราสาทของพระเจ้า

พิมพิสาร จอมพลมคธรัฐว่า จงเป็นทอง ปราสาทนั้นได้กลายเป็นทอง

ไปทั้งหมดแล้วได้ถวายพระพรทูลถามว่า ขอถวายพระพร ก็นี่ทองมากมาย

เท่านั้น มหาบพิตรได้มาแต่ไหน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1030

ข้าพเจ้าทราบแล้ว นี้เป็นอิทธานุภาพของพระคุณเจ้า พระเจ้า

พิมพิสารตรัสดังนี้แล้ว รับสั่งให้ปล่อยตระกูลคนทำวัดนั้นพ้นพระราช-

อาญา.

[๑๔๐] ชาวบ้านทราบข่าวว่า ท่านพระปิลินทวัจฉะแสดงอิทธิ-

ปาฏิหาริย์ซึ่งเป็นธรรนอันยิ่งของมนุษย์ในบริษัทพร้อมทั้งพระราชา ต่าง

พากันยินดีเลื่อมใสโดยยิ่ง แล้วได้นำเภสัชห้า คือเนยใส เนยขึ้น น้ำมัน

น้ำผึ้ง น้ำอ้อย มาถวายท่านพระปิลินทวัจฉะ แม้ตามปกติท่านก็ได้เภสัช

ห้าอยู่เสมอ ท่านจึงแบ่งเภสัชที่ใด ๆ มาถวายบริษัท แต่บริษัทของท่าน

เป็นผู้มักมาก เก็บเภสัชที่ใด ๆ มาไว้ในกระถางบ้าง ในหม้อน้ำบ้าง

จนเต็ม แล้วบรรจุลงในหม้อกรองน้ำบ้าง ในถุงย่ามบ้าง แขวนไว้

ที่หน้าต่าง เภสัชเหล่านั้นก็เยิ้มซึม แม้จำพวกหนูก็เกลื่อนกล่นไปทั่ววิหาร

ชาวบ้านที่เดินเที่ยวชมไปตามวิหารพบเข้า ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนา

ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มีเรือนคลังในภายในเหมือน

พระเจ้าพิมพิสาร จอมพลมคธรัฐ

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงพอใจ

ในความมักมากเช่นนี้เล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1031

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลายพอใจในความ

มักมากเช่นนี้ จริงหรือ

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร

ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จึงได้พอใจความมักมากเช่นนี้เล่า การกระทำของโมฆบุรุษนั้นนั่น ไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของภิกษุ

โมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่

เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยาย ดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความ

เป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน

ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ

มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส

การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำ

ธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1032

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหดุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่

ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับ

ว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอัน

จะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อ

ความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อถือ

ตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๒. ๓. อนึ่ง มีเภสัชอันควรลิ้มของภิกษุผู้อาพาธ คือ เนยใส

เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ภิกษุรับประเคนของนั้นแล้ว พึงเก็บ

ไว้ฉันได้ ๗ วันเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคิย-

ปาจิตตีย์.

เรื่องพระปิลินทวัจฉเถระ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๔๑] คำว่า มีเภสัชอันควรลิ้มของภิกษุผู้อาพาธ เป็นต้น มี

อธิบายดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1033

ที่ชื่อว่า เนยใส ได้แก่ เนยใสที่ทำจากน้ำมันโคบ้าง น้ำนมแพะ

บ้าง น้ำมันกระบือบ้าง มังสะของสัตว์เหล่าใดเป็นของควร เนยใสที่ทำ

จากน้ำนมสัตว์เหล่านั้น ก็ใช้ได้

ที่ชื่อว่า เนยข้น ได้แก่ เนยข้นที่ทำจากน้ำนมสัตว์เหล่านั้นแล

ที่ชื่อว่า น้ำมัน ได้แก่ น้ำมันอันสกัดออกจากเมล็ดงาบ้าง จาก

เมล็ดพันธุ์ผักกาดบ้าง จากเมล็ดมะซางบ้าง จากเมล็ดละหุ่งบ้าง จาก

เปลวสัตว์บ้าง

ที่ชื่อว่า น้ำผึ้ง ได้แก่ รสหวานที่แมลงผึ้งทำ

ที่ชื่อว่า น้ำอ้อย ได้แก่ รสหวานที่เกิดจากอ้อย

คำว่า ภิกษุรับประเคนของนั้นแล้ว พึงเก็บไว้ฉันได้ ๗ วัน

เป็นอย่างยิ่ง คือเก็บไว้ฉันได้ ๗ วันเป็นอย่างมาก

คำว่า ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคีย์ ความว่า เมื่อ

อรุณที่ ๘ ขึ้นมา เภสัชนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์

คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เเลภิกษุพึงเสียสละเภสัชนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบ

เท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า เภสัชนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๗ วัน เป็นของจำจะสละ

ข้าพเจ้าสละเภสัชนี้แก่สงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1034

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนเภสัช ที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจาดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงพึงข้าพเจ้า เภสัชนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึง

ที่แล้ว สงฆ์พึงให้เภสัชนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า เภสัชนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๗ วัน เป็นของจำจะสละ

ข้าพเจ้าสละเภสัชนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนเภสัชที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า เภสัชนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้เภสัชนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า เภสัชนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๗ วัน เป็นของจำจะสละ

ข้าพเจ้าสละเภสัชนี้แก่ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1035

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนเภสัชที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้เภสัชนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๔๒] เภสัชล่วง ๗ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เภสัชล่วง ๗ วันแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เภสัชล่วง ๗ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่ได้ผูกใจ ภิกษุสำคัญว่าผูกใจแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่ได้เเจกจ่ายให้ไป ภิกษุสำคัญว่าแจกจ่ายไปแล้ว เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่สูญหายไป ภิกษุสำคัญว่าสูญหายไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่เสีย ภิกษุสำคัญว่าเสียแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เภสัชยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1036

[๑๔๓] เภสัชที่เสียสละแล้ว ภิกษุนั้นได้คืนมา ไม่พึงใช้ด้วยกิจที่

เกี่ยวกับกาย และไม่ควรฉัน พึงน้อมเข้าไปในการตามประทีป หรือใน

การผสมสี ภิกษุอื่นจะใช้ด้วยกิจที่เกี่ยวกับกายได้อยู่ แต่ไม่ควรฉัน

ทุกกฏ

เภสัชยังไม่ล่วง ๗ วัน ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว... ต้องอาบัติทุกกฏ

เภสัชยังไม่ล่วง ๗ วัน ภิกษุสงสัย... ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

เภสัชยังไม่ล่วง ๗ วัน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง ๗ วัน...ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๔๔] ภิกษุผูกใจไว้ว่าจะไม่บริโภค ๑ ภิกษุแจกจ่ายให้ไป ๑

เภสัชนั้นสูญหาย ๑ เภสัชนั้นเสีย ๑ เภสัชนั้นถูกไฟไหม้ ๑ เภสัชนั้น

ถูกโจรชิงไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ในภายในเจ็ดวัน ภิกษุให้แก่อนุป-

สัมบันด้วยจิตคิดสละแล้ว ทิ้งแล้ว ปล่อยแล้ว ไม่ห่วงใย กลับได้คืนมา

ฉันได้ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๓ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๓

พรรณนาเภสัชชสิกขาบท

เภสัชชสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในเภสัชชสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1037

[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระปิลินทวัจฉะ]

พระราชาทอดพระเนตรเห็นภิกษุทั้งหลาย ขวนขวายชำระเงื้อมเขา

เพื่อประโยชน์เป็นที่เร้น ของพระเถระ มีพระราชประสงค์จะถวายคน

ทำการวัด จึงได้ตรัสถามว่า อตฺโถ ภนฺเต เป็นต้น.

บทว่า ปาฏิเยกฺโก แปลว่า เป็นหมู่บ้านหนึ่งต่างหาก.

บทว่า มาลากิเต ได้แก่ ผู้ทำระเบียบดอกไม้ คือ ทรงไว้ซึ่ง

ระเบียบดอกไม้. อธิบายว่า ประดับด้วยระเบียบดอกไม้.

บทว่า ติณณฺฑูปก แปลว่า เทริดหญ้า (หมวกฟาง).

บทว่า ปฏิมุญฺจิ แปลว่า สวมไว้ (บนศีรษะ).

ข้อว่า สา อโหสิ สุวณฺณมาลา มีความว่า หมวกฟางนั้น พอ

สวมบนศีรษะของเด็กหญิงเท่านั้น ได้กลายเป็นระเบียบดอกไม้ทองคำ

ด้วยอำนาจแห่งการอธิษฐานของพระเถระ. จริงอยู่ พระเถระอธิษฐาน

หมวกฟางนั้น ซึ่งพอวางลงบนศีรษะนั่นแลว่า จงกลายเป็นระเบียบ

ดอกไม้ทองคำ.

คำว่า หุติยมฺปิ โข ฯ เปฯ อุปสงฺกมิ ได้แก่ พระเถระได้ไป

หาในวันรุ่งขึ้นนั่นแหละ.

สองบทว่า สุวณฺณนติ อธิมุจฺจิ ได้แก่ พระเถระได้อธิษฐานว่า

จงสำเร็จเป็นทองคำ.

สองบทว่า ปญฺจนฺน เภสชฺชาน ได้แก่ เภสัช ๕ มีเนยใส

เป็นต้น .

บทว่า พาหุลฺลิกา ได้แก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นผู้มักมากด้วย

ปัจจัย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1038

ในคำว่า โกลุมฺเพปิ ฆเฏปิ นี้ กระถางปากกว้างเรียกชื่อว่า

โกลุมพะ.

บทว่า โอลีนวิลีนานิ ได้แก่ เยิ้มหยดลงภายใต้ และที่ข้างทั้งสอง.

บทว่า โอกิณฺณวิกิณฺณา มีความว่า พวกหนูขุดพื้นดินเกลื่อน.

และกัดฝาผนัง วิ่งพลุกพล่านไปมาข้างบนเกลื่อนกล่น เพราะกลิ่นแห่ง

เภสัช ๕ มีเนยใสเป็นต้น.

บทว่า อนฺโตโกฏฺาคาริกา ได้แก่ มีเรือนคลังจัดแจงไว้ ณ

ภายใน.

บทว่า ปฏิสายนียานิ ได้แก่ อันควรลิ้ม. อธิบายว่า ควร

บริโภค.

บทว่า เภสชฺชานิ มีความว่า เภสัชทั้งหลาย จะทำกิจแห่งเภสัช

หรือไม่ก็ตาม ก็ได้โวหาร (ว่าเภสัช) อย่างนี้.

ด้วยบทว่า โคสปฺปิ เป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเนยใส

ที่ปรากฏในโลก แล้วทรงแสดงสงเคราะห์เอาเนยใสแม้แห่งสัตว์เหล่าอื่น

มีมฤค ละมั่ง และกระต่ายเป็นต้น เข้าด้วยคำว่า เยส มส กปฺปติ นี้.

แท้จริง สัตว์เหล่าใดมีน้ำนม, สัตว์เหล่านั้นก็มีเนยใสด้วย. แต่เนยใส

ของสัตว์เหล่านั้น จะหาได้ง่ายหรือหาได้ยากก็ตามที ก็ตรัสไว้ เพื่อความ

ไม่งมงาย. ถึงเนยขึ้น ก็อย่างนั้น.

[อธิบายวิธีปฏิบัติในการรับประเคนเภสัชต่าง ๆ]

สองบทว่า สนฺนิธิการก ปริภุญฺชิตพฺพานิ มีความว่า พึงกระทำ

การสั่งสม คือ เก็บไว้บริโภค. อย่างไร ? คือ บรรดาเภสัชมีเนยใส

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1039

เป็นต้น ที่มาในพระบาลี จะกล่าวถึงเนยใสก่อน ที่ภิกษุรับประเคน

ก่อนฉัน ควรจะฉันเจืออามิสก็ได้ ปราศจากอามิสก็ได้ ในเวลาก่อนฉัน

ในวันนั้น. ตั้งแต่ภายหลังฉันไป พึงฉันปราศจากอามิสได้ตลอด ๗ วัน.

แม้เพราะล่วง ๗ วันไป ถ้าภิกษุเก็บไว้ในภาชนะเดียว เป็นนิสสัคคีย์

ตัวเดียว. ถ้าเก็บไว้ในภาชนะมากหลาย เป็นนิสสัคคีย์หลายตัว ตาม

จำนวนวัตถุ.

เนยใสที่ภิกษุรับประเคนภายหลังฉัน ควรฉันได้ไม่เจืออามิสเลย

ตลอด ๗ วัน. ภิกษุจะกลืนกินเนยใสที่ตนทำให้เป็นอุคคหิตก์ เก็บไว้ใน

เวลาก่อนฉัน หรือหลังฉัน ย่อมไม่ควร. พึงน้อมไปใช้ในกิจอื่นมีการ

ใช้ทาเป็นต้น. แม้เพราะล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ เพราะถึงความ

เป็นของไม่ควรกลืนกิน. สมจริงดังที่ตรัสไว้ว่า เป็นของควรลิ้ม.

ถ้าอนุปสัมบันทำเนยใสด้วยเนยข้นที่รับประเคนไว้ ในเวลาก่อน

ฉันถวาย, จะฉันกับอามิสในเวลาก่อนฉัน ควรอยู่. ถ้าภิกษุทำเอง, ฉัน

ไม่เจืออามิสเลย ย่อมควรแม้ตลอด ๗ วัน. แต่เนยใสที่บุคคลใดคนหนึ่ง

ทำด้วยเนยข้นที่รับประเคนในเวลาหลังฉัน ควรฉันได้ไม่เจืออามิสตลอด

๗ วันเหมือนกัน.

[อธิบายวิธีปฏิบัติในเนยใสและเนยข้น]

ผู้ศึกษาพึงทราบวินิจฉัยในเนยใสที่ทำด้วยเนยข้น (ซึ่งภิกษุทำให้)

เป็นอุคคหิตก์ โดยนัยแห่งเนยใสล้วน ๆ ดังที่กล่าวแล้วในก่อนนั้นแล.

เนยใสทำด้วยนมสดที่ภิกษุรับประเคนไว้ก่อนฉันก็ดี ด้วยนมส้มก็ดี ที่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1040

อนุปสัมบันทำ ควรฉันได้ แม้เจืออามิส ในเวลาก่อนฉันวันนั้น. ที่

ภิกษุทำเอง ควรฉันปราศจากอามิสอย่างเดียว, ในภายหลังฉันไม่ควร.

จริงอยู่ เมื่อภิกษุอุ่นเนยข้น ไม่จัดเป็นสามปักกะ. แต่จะฉัน

อามิสกับด้วยเนยข้นนั้นที่เป็นสามปักกะ ย่อมไม่ควร. ตั้งแต่หลังฉันไป

ก็ไม่ควรเหมือนกัน. ไม่เป็นอาบัติ แม้ในเพราะล่วง ๗ วันไป เพราะ

รับประเคนทั้งวัตถุ. สมจริงดังที่ตรัสไว้ว่า รับประเคนเภสัชเหล่านั้นแล้ว

เป็นต้น, แต่เนยใสที่ทำด้วยนมสดและนมส้มที่ภิกษุรับประเคนในเวลาฉัน

ควรน้อมไปใช้ในกิจมีการทาตัวเป็นต้น. เนยใสที่ทำด้วยนมสดนมส้มซึ่ง

เป็นอุคคหิตก์ แม้ในเวลาก่อนฉัน (ก็ควรน้อมเข้าไปใช้ในกิจมีการทาตัว

เป็นต้น). ไม่เป็นอาบัติ แม้เพราะเนยใสทั้งสองอย่าง ๗ วันไป. ในเนย

ใสของพวกสัตว์ที่มีมังสะเป็นอกัปปิยะ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน . แต่มี

ความแปลกกันดังต่อไปนี้:-

เป็นนิสสัคคีย์ ด้วยเนยข้นและเนยใสที่มาแล้วในพระบาลีใด, ใน

พระบาลีนั้น เป็นทุกกฏด้วยเนยใสของพวกสัตว์ที่มีมังสะเป็นกัปปิยะนี้.

ในอรรถกถาอันธกะ ท่านคัดค้านเนยใสและเนยข้นของมนุษย์ไว้ทำให้

สมควรแก่เหตุ. เนยใสและเนยข้นของมนุษย์นั้น ท่านคัดค้านไว้ไม่ชอบ

เพราะพระอาจารย์ทั้งหลาย อนุญาตไว้ในอรรถกถาทั้งปวง. และแม้การ

วินิจฉัยเนยใสและเนยข้นของมนุษย์นั้น จักมาข้างหน้า. แม้เนยข้นที่มา

แล้วในพระบาลี ภิกษุรับประเคนในเวลาก่อนฉัน จะฉันแม้เจือกับ

อามิสในเวลาก่อนฉันในวันนั้น ควรอยู่, ตั้งแต่ภายหลังฉันไป ไม่เจือ

อามิสเลย จึงควร. เพราะล่วง ๗ วันไป ในเนยข้นที่เก็บไว้ในภาชนะ

ต่าง ๆ กัน เป็นนิสสัคคีย์ ตามจำนวนภาชนะ, ในเนยข้นที่เก็บไว้อย่าง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1041

เป็นก้อน ๆ ไม่คละกัน แม้ในภาชนะเดียว ก็เป็นนิสสัคคีย์ ตามจำนวน

ก้อน. เนยข้นที่ภิกษุรับประเคนไว้ในเวลาหลังฉัน ผู้ศึกษาพึงทราบโดย

นัยแห่งเนยใสเหมือนกัน .

ส่วนความแปลกกันในเนยข้นนี้ มีดังนี้:- ก้อนนมส้มบ้าง หยาด

เปรียงบ้าง มีอยู่; เพราะฉะนั้น พวกพระเถระจำนวนครึ่ง จึงได้กล่าวว่า

ที่ฟอกแล้วจักควร. ส่วนพระมหาสีวเถระกล่าวว่า ตั้งแต่เวลาที่พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว เนยข้นพอยกขึ้นจากเปรียงเท่านั้น ภิกษุ

ทั้งหลายขบฉันได้. เพราะเหตุนั้น ภิกษุจะฉันเนยขึ้นพึงชำระ คือตักเอา

นมส้ม เปรียงแมลงวัน และมดแดงเป็นต้นออกแล้วฉันเถิด. ภิกษุใคร่

จะเจียวให้เป็นเนยใสฉัน จะเจียวแม้เนยข้นที่ยังไม่ฟอกก็ควร. ในเนยขึ้น

นั้นสิ่งใดที่เป็นนมส้มก็ดี ที่เป็นเปรียงก็ดี สิ่งนั้นจักถึงความหมดสิ้นไป.

ก็ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ยังไม่ชื่อว่ารับประเคนพร้อมทั้งวัตถุ อธิบายดังกล่าว

มานี้ เป็นอธิบายในคำของพระมหาสีวเถระนี้. แต่ภิกษุทั้งหลายผู้มัก

รังเกียจ ย่อมรังเกียจแม้ในเนยข้นที่เจียวนั้น เพราะเจียวพร้อมทั้งอามิส.

บัดนี้ ผู้ศึกษาพึงถือเอานัยเเห่งอาบัติ อนาบัติ การบริโภค และไม่

บริโภคในเนยข้นที่จับต้องแล้วเก็บไว้ ในเนยข้นที่ภิกษุรับประเคนนมสด

และนมส้มก่อนฉันแล้วทำ ในเนยข้นที่ภิกษุรับประเคนนมสดนมส้มนั้น

ในภายหลังฉันแล้วทำ ในเนยข้นที่ทำด้วยนมสดและนมส้ม ที่เป็นอุคคหิตก์

และในเนยข้นของพวกสัตว์ที่มีมังสะเป็นอกัปปิยะ ทั้งหมดโดยลำดับดัง

กล่าวแล้วในเนยใสนั่นแล. พวกชาวบ้าน ย่อมเทซึ่งเนยใสบ้าง เนยข้น

บ้าง น้ำมันที่เคี่ยวแล้วบ้าง น้ำมันที่ยังไม่ได้เคี่ยวบ้าง ลงในเนยใสนั้น

นั่นเอง ของภิกษุทั้งหลายผู้เข้าไป เพื่อภิกษาน้ำมัน. หยาดเปรียงและ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1042

นมส้มบ้าง เมล็ดข้าวสุกบ้าง รำข้าวสารบ้าง จำพวกแมลงวันเป็นต้นบ้าง

มีอยู่ในเนยใสนั้น. เนยใสนั้น ภิกษุทำให้สุกด้วยแสงแดดแล้วกรองเอาไว้

จัดเป็นสัตตาหกาลิก.

ก็การที่ภิกษุจะเคี่ยวกับเภสัชที่รับประเคนไว้ แล้วทำการนัตถุ์เข้า

ทางจมูก ควรอยู่. ถ้าในสมัยฝนพรำ สามเณรผู้ลัชชี เมื่อจะเปลื้องการ

หุงต้มอามิสให้พ้นไป อย่างที่พวกภิกษุไม่หุงต้มข้าวสารและรำเป็นต้น

ที่ตกลงไปในเนยใสนั้น ทำให้ละลายในไฟแล้วกรองไว้ เจียวถวายใหม่

ย่อมควรตลอด ๗ วัน โดยนัยก่อนเหมือนกัน.

[อธิบายวิธีปฏิบัติในเภสัช คือน้ำมัน]

บรรดาจำพวกน้ำมัน จะว่าถึงน้ำมันงาก่อน ที่รับประเคนก่อน

ฉัน แม้เจืออามิส ย่อมควร ในเวลาก่อนฉัน. ตั้งแต่หลังฉันไปปราศจาก

อามิสเท่านั้นจึงควร. ผู้ศึกษา พึงทราบความที่น้ำมันงานั้นเป็นนิสสัคคีย์

ด้วยจำนวนภาชนะ เพราะล่วง ๗ วันไป. น้ำมันงาที่รับประเคนภายหลังฉัน

ปราศจากอามิสเท่านั้น จึงควร ตลอด ๗ วัน. จะดื่มกินน้ำมันงาที่ทำ

ให้เป็นอุคคหิตก์เก็บไว้ไม่ควร. ควรน้อมเข้าไปในกิจมีการทาศีรษะ

เป็นต้น. แม้ในเพราะล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ. น้ำมันที่ภิกษุรับ

ประเคน เมล็ดงาในปุเรภัตทำ เจืออามิสย่อมควร ในปุเรภัต. ตั้งแต่

ปัจฉาภัตไปเป็นของไม่ควรกลืนกิน. พึงน้อมไปในกิจมีการทาศีรษะ

เป็นต้น . แม้ในเมื่อล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ. น้ำมันที่ภิกษุรับ

ประเคนเมล็ดงาในปัจฉาภัตแล้วทำ เป็นของไม่ควรกลืนกินเหมือนกัน

เพราะรับประเคนทั้งวัตถุ. แม้ในเมื่อล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1043

พึงน้อมเข้าไปในกิจมีการทาศีรษะเป็นต้น. แม้ในน้ำมันที่ทำด้วยเมล็ดงา

ที่ภิกษุจับต้องในปุเรภัต หรือในปัจฉาภัตก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

น้ำมันที่คั่วเมล็ดงาซึ่งภิกษุรับประเคนในปุเรภัต แล้วนึ่งแป้งงา

หรือให้ชุ่มด้วยน้ำอุ่นทำ, ถ้าอนุปสัมบันทำ แม้เจืออามิส ย่อมควรใน

ปุเรภัต. ที่ตนทำเอง เพราะปล้อนวัตถุออกแล้ว ไม่มีอามิสเลย จึงควร

ในปุเรภัต. เพราะเป็นน้ำมันที่เจียวเอง เจืออามิสจึงไม่ควร. ก็เพราะ

เป็นของที่รับประเคนพร้อมวัตถุ แม้ทั้งสองอย่าง จึงไม่ควรกลืนกิน

จำเดิมแต่ปัจฉาภัตไป พึงน้อมเข้าไปในการทาศีรษะเป็นต้น. แม้ในเมื่อ

ล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ, แต่ถ้าว่า น้ำอุ่นมีน้อย, น้ำนั้นเพียงแต่

ว่าพรมลงเท่านั้น เป็นอัพโพหาริก ย่อมไม่ถึงการนับว่าเป็นสามปักกะ.

แม้ในน้ำมันเมล็ดพันธุ์ผักกาดเป็นต้น ที่ภิกษุรับประเคนพร้อมทั้งวัตถุ

ก็มีวินิจฉัยเช่นเดียวกับที่กล่าวแล้ว ในน้ำมันงาที่ไม่มีวัตถุนั่นแล.

ก็ถ้าว่า ภิกษุอาจเพื่อทำน้ำมัน จากผงแห่งเมล็ดพันธุ์ผักกาด

เป็นต้น ที่รับประเคนไว้ในปุเรภัต โดยเจียวด้วยแสงแดด, น้ำมันนั้น

แม้เจือด้วยอามิส ย่อมควรในปุเรภัต. ตั้งแต่ปัจฉาภัตไป ไม่เจืออามิสเลย

จึงควร. ในเมื่อล่วง ๗ วันไป เป็นนิสสัคคีย์.

อนึ่ง เพราะภิกษุทั้งหลาย นึ่งผงเมล็ดพันธุ์ผักกาดและมะซาง

เป็นต้นและคั่วเมล็ดละหุ่งแล้วกระทำน้ำมันอย่างนี้; ฉะนั้น น้ำมันของ

ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้นที่พวกอนุปสัมบันทำ แม้เจืออามิสก็ควรในเวลา

ก่อนฉัน. ก็เพราะวัตถุเป็นยาวชีวิก จึงไม่มีโทษ. ในการรับประเคน

พร้อมทั้งวัตถุ ฉะนี้แล. น้ำมันเมล็ดพันธุ์ผักกาดเป็นต้น ที่ตนทำเอง

พึงบริโภค โดยการบริโภคปราศจากอามิสอย่างเดียวตลอด ๗ วัน. น้ำมัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1044

ที่ทำด้วยเมล็ดพันธุ์ผักกาดเป็นต้น ที่เป็นอุคคหิตก์ไม่ควรกลืนกิน ควรแต่

ในการใช้สอยภายนอก. แม้เมื่อล่วง ๗ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ. น้ำมัน

ที่ภิกษุรับประเคนเมล็ดพันธุ์ผักกาด มะซางและเมล็ดละหุ่ง เพื่อต้องการ

จะทำน้ำมัน แล้วทำในวันนั้นนั่นเอง เป็นสัตตาหกาลิก, ทำในวันรุ่งขึ้น

ควรบริโภคได้ ๖ วัน. ทำในวันที่ ๓ ควรบริโภคได้ ๕ วัน. แต่ที่ทำ

ในวันที่ ๔ ควร ๓ วัน... ในวันที่ ๕ ควร ๒ วัน... ในวันที่ ๖ ควร

๑ วัน... ในวันที่ ๗ ควรในวันนั้นเท่านั้น. ถ้ายังคงอยู่จนถึงอรุณขึ้น

เป็นนิสสัคคีย์. ที่ทำในวันที่ ๘ ไม่ควรกลืนกินเลย, แต่ควรในการใช้

สอยภายนอก เพราะเป็นของยังไม่เสียสละ. แม้ถ้าว่าไม่ทำ, ในเมื่อเมล็ด

พันธุ์ผักกาดที่ตนรับไว้ เพื่อประโยชน์แก่น้ำมันเป็นต้น ล่วงกาล ๗ วันไป

ก็เป็นทุกกฏอย่างเดียว.

อนึ่ง น้ำมันผลไม้มะพร้าวเมล็ดสะเดา สะคร้อ เล็บเหยี่ยว และ

สำโรง*เป็นต้น แม้เหล่าอื่นที่ไม่ได้มาในพระบาลี ก็ยังมี. เมื่อภิกษุรับ

ประเคนน้ำมันเหล่านั้นแล้วให้ล่วง ๗ วันไปเป็นทุกกฏ. ในมะพร้าว

เป็นต้นเหล่านี้ มีความแปลกกันดังนี้:- พึงกำหนดวัตถุแห่งยาวกาลิก

ที่เหลือแล้ว ทราบวิธีการแห่งสามปักกะ (ให้สุกเอง) สวัตถุก (ของที่รับ

ทั้งวัตถุ) ของที่รับประเคนในปุเรภัตรับประเคนในปัจฉาภัต และอุคคหิต-

วัตถุ (ของที่ยังไม่ได้รับประเคนภิกษุจับต้อง) ทั้งหมด ตามนัยดังกล่าว

แล้วนั่นแล.

[อธิบายน้ำมันทำจากเปลวสัตว์ต่าง ๆ]

บทว่า วสาเตล ได้แก่ น้ำมันแห่งเปลวสัตว์ที่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตไว้อย่างนี้ ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาต เปลวมัน ๕ ชนิด

* บางแห่งว่า เมล็ดฝ้าย.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1045

คือ เปลวหมี, เปลวปลา, เปลวปลาฉลาม, เปลวสุกร, เปลวลา* ก็

บรรดาเปลวมัน ๕ ชนิดนี้ ด้วยคำว่า เปลวหมี พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

อนุญาตเปลวมันแห่งสัตว์ที่มีมังสะเป็นอกัปปิยะทั้งหมด เว้นเปลวมันแห่ง

มนุษย์เสีย. อนึ่ง แม้ปลาฉลาม ก็เป็นอันพระองค์ทรงถือเอาแล้วด้วย

ศัพท์ว่าปลา. แต่เพราะปลาฉลามเป็นปลาร้าย พระองค์จึงตรัสแยกไว้

ต่างหาก. ในบาลีนี้ พระองค์ทรงอนุญาตเปลวมันแห่งพวกสัตว์มีมังสะ

เป็นกัปปิยะแม้ทุกชนิด ด้วยศัพท์ว่าปลาเป็นต้น .

จริงอยู่ ในจำพวกมังสะ มังสะแห่งมนุษย์, ช้าง, ม้า, สุนัข, งู,

สีหะ, เสือโคร่ง, เสือเหลือง, หมี, เสือดาว; ๑๐ ชนิด เป็นอกัปปิยะ.

บรรดาเปลวมัน เปลวมันแห่งมนุษย์ อย่างเดียว เป็นอกัปปิยะ. บรรดา

อวัยวะอย่างอื่น มีน้ำนมเป็นต้น ชื่อว่า เป็นอกัปปิยะ ไม่มี. น้ำมัน

เปลวที่พวกอนุปสัมบันทำและกรองแล้ว ภิกษุรับประเคนก่อนฉัน แม้

เจืออามิส ก็ควรก่อนฉัน. ตั้งแต่หลังฉันไปไม่เจืออามิสเลย จึงควร

ตลอด ๗ วัน. วัตถุใดที่คล้ายกับธุลีอันละเอียด เป็นมังสะก็ดี เอ็นก็ดี

กระดูกก็ดี เลือดก็ดี ปนอยู่ในเปลวมันนั้น, วัตถุนั้นจัดเป็นอัพโพหาริก

ก็ถ้าว่า ภิกษุรับประเคนเปลวมันกระทำน้ำมันเอง, รับประเคน

แล้วเจียว กรองเสร็จในปุเรภัต พึงบริโภค โดยบริโภคปราศจากอามิส

ตลอด ๗ วัน. แท้จริง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึงการบริโภค

ปราศจากอามิส จึงตรัสคำนี้ว่า รับประเคนในกาล เจียวเสร็จในกาล กรอง

ในกาล ควรเพื่อบริโภคอย่างบริโภคน้ำมัน. มังสะที่ละเอียดเป็นต้น แม้

* วิ. มหา. ๕/๔๑.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1046

ในน้ำมันที่รับประเคนเปลวมันแล้วเจียวกรองนั้น ก็เป็นอัพโพหาริก

เหมือนกัน . แต่จะรับประเคน หรือเจียวในปัจฉาภัต ไม่ควรเลย.

สมจริง ดังคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้นี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย !

ถ้าภิกษุรับประเคนเปลวมันในเวลาวิกาล เจียวในเวลาวิกาล กรองใน

เวลาวิกาล, ถ้าภิกษุบริโภคซึ่งน้ำมันนั้น ต้องทุกกฏ ๓ ตัว, ภิกษุ

ทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุรับประเคนมันเปลวในกาล เจียวในวิกาล กรองใน

วิกาล. ถ้าบริโภคน้ำมันนั้น ต้องทุกกฏ ๒ ตัว. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้า

ภิกษุรับประเคนในกาล เจียวในกาล กรองในวิกาล, ถ้าบริโภคน้ำมัน

นั้น ต้องทุกกฏ (ตัวเดียว). ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้ามันเปลวภิกษุรับประเคน

ในกาลเจียว ในกาลกรองในกาล, ถ้าภิกษุบริโภคน้ำมันนั้น ไม่เป็นอาบัติ*

ดังนี้.

แต่พวกอันตวาสิกถามพระอุปติสสเถระว่า ท่านขอรับ ! เนยใส

เนยข้น และเปลวมัน ที่ภิกษุเจียวรวมกันแล้วเกรอะออกควรหรือไม่ควร.

พระเถระตอบว่า ไม่ควร อาวุโส ! ได้ยินว่า พระเถระรังเกียจใน

เนยใส เนยข้น เปลวมัน ที่ภิกษุเจียวรวมกันแล้ว เกรอะออกนี้ ดุจ

ในกากน้ำมันงาที่เจียวแล้ว.

ภายหลัง พวกอันเตวาสิกถามท่านหนักขึ้นว่า ท่านขอรับ ! ก้อน

นมส้มก็ดี หยดเปรียงก็ดี มีอยู่ในเนยข้น, เนยข้นนั่น ควรไหม ?

พระเถระตอบว่า ผู้มีอายุ แม้เนยข้นนั่น ก็ไม่ควร. ลำดับนั้น

พวกอันเตวาสิก จึงถามท่านว่า ท่านขอรับ ! น้ำมันที่เจียวรวมกันกรอง

* วิ. มหา. ๕/๔๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1047

แล้ว มีความร้อนสูง ย่อมบำบัดโรคได้. พระเถระยอมรับว่า ดีละ อาวุโส !

ดังนี้.

แต่พระมหาสุมเถระกล่าวไว้ว่า เปลวมันของสัตว์ที่มีมังสะเป็น

กัปปิยะ ย่อมควรในการบริโภคเจืออามิส, เปลวมันของพวกสัตว์ที่มีมังสะ

เป็นกัปปิยะนอกนี้ ควรในการบริโภคปราศจากอามิส.

ฝ่ายพระมหาปทุมเถระปฏิเสธว่า นี้อะไรกัน ? แล้วกล่าวว่า พวก

ภิกษุอาพาธด้วยโรคลม เติมน้ำมันเปลวหมีและสุกรเป็นต้นลงในข้าวยาคู

ที่ต้มด้วยน้ำฝาดรากไม้ ๕ ชนิด แล้วดื่มข้าวยาคู, ข้าวยาคูนั้นบำบัดโรคได้

เพราะมีความร้อนสูง ดังนี้ จึงกล่าวว่าสมควรอยู่

[อธิบายเภสัชว่าด้วยน้ำผึ้ง]

สองบทว่า มธุ นาม มกฺขิกามธุ ได้แก่ น้ำหวานที่พวกผึ้ง

ใหญ่แมลงผึ้งตัวเล็ก และจำพวกแมลงภู่ ซึ่งมีชื่อว่าแมลงทำน้ำหวาน

(น้ำผึ้ง) ทำแล้ว. น้ำผึ้งนั้น ภิกษุรับประเคนก่อนฉัน แม้จะบริโภคเจือ

อามิสในปุเรภัตก็ควร. ตั้งแต่ปัจฉาภัตไป ควรบริโภคปราศจากอามิส

อย่างเดียวตลอด ๗ วัน ในเมื่อล่วง ๗ วันไป ถ้าน้ำผึ้งชนิดหนามากเป็น

เช่นกับยาง (เคี่ยวให้แข้น ) ทำเป็นชิ้นเล็กชิ้นใหญ่เก็บไว้ หรือน้ำผึ้งชนิด

บางนอกนี้เก็บไว้ในภาชนะต่าง ๆ กัน เป็นนิสสัคคีย์ มากตามจำนวน

วัตถุ, ถ้ามีเพียงชิ้นเดียวเท่านั้น หรือน้ำผึ้งบางนอกนี้ ก็เก็บรวมไว้ใน

ภาชนะเดียว. เป็นนิสสัคคีย์เพียงตัวเดียว. น้ำผึ้งที่เป็นอุคคหิตก์พึงทราบ

ตามนัยที่กล่าวนั่นแล. พึงน้อมเข้าไปในกิจอื่นมีทาแผลเป็นต้น. รังผึ้ง

หรือขี้ผึ้ง ถ้าน้ำผึ้งไม่ดี บริสุทธิ์ เป็นยาวชีวิก. แต่ที่มีน้ำผึ้งติดอยู่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1048

มีคติอย่างน้ำผึ้งเหมือนกัน. แมลงผึ้งตัวยาวมีปีก ชื่อว่า จิริกะ, แมลงภู่

ใหญ่ตัวดำมีปีกแข็ง มีชื่อว่า ตุมพละ. ในรังของแมลงผึ้งเหล่านั้น มีน้ำผึ้ง

คล้ายกับยาง. น้ำผึ้งนั้นเป็นยาวชีวิก.

[อธิบายเภสัชว่าด้วยน้ำอ้อย]

ข้อว่า ผาณิตนินาม อจฺฉุมฺหา นิพฺพตฺต มีความว่า น้ำอ้อยชนิด

ที่ยังไม่ได้เคี่ยว หรือที่เคี่ยวแล้วไม่มีกาก หรือที่ไม่มีกากแม้ทั้งหมดจน

กระทั่งน้ำอ้อยสดพึงทราบว่า น้ำอ้อย. น้ำอ้อยนั้นที่ภิกษุรับประเคนก่อน

ฉัน แม้เจืออามิส ก็ควรในปุเรภัต. ตั้งแต่ปัจฉาภัตไป ไม่เจืออามิสเลย

จึงควรตลอด ๗ วัน . ในเมื่อล่วง ๗ วันไป เป็นนิสสัคคีย์ตามจำนวนวัตถุ.

ก้อนน้ำอ้อยแม้มากภิกษุย่อยให้เเหลกแล้ว ใส่ไว้ในภาชนะเดียวกัน ย่อม

จับรวมกันแน่น, เป็นนิสสัคคีย์เพียงตัวเดียว. น้ำอ้อยที่เป็นอุคคหิตก์

พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ. พึงน้อมเข้าไปในกิจอื่นมีการอบ

เรือนเป็นต้น .

ผาณิตที่เขาทำด้วยน้ำอ้อยสดที่ยังไม่ได้กรอง ซึ่งภิกษุรับประเคนไว้

ในเวลาก่อนฉัน ถ้าอนุปสัมบันทำ แม้เจืออามิส ก็ควร. ถ้าภิกษุทำเอง

ไม่เจืออามิสเลย จึงควร. ก็จำเดิมแต่ปัจฉาภัตไป ไม่ควรกลืนกิน เพราะ

เป็นของรับประเคนทั้งวัตถุ. แม้ในเมื่อล่วง ๗ วันไปก็ไม่เป็นอาบัติ.

แม้ที่เขาทำด้วยน้ำอ้อยสด ที่ภิกษุรับประเคนทั้งที่ยังไม่ได้กรองในปัจฉาภัต

ก็ไม่ควรกลืนกินเหมือนกัน . แม้ในเมื่อล่วง ๗ วันไปก็ไม่เป็นอาบัติ แม้

ในผาณิตที่ภิกษุรับประเคนอ้อยลำทำ ก็มีนัยอย่างนี้.

ก็ผาณิตที่ทำด้วยน้ำอ้อยสดที่กรองและรับประเคนไว้ในกาลก่อนฉัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1049

ถ้าอนุปสัมบันทำ แม้เจืออามิส ก็ควรในปุเรภัต. ตั้งแต่ปัจฉาภัตไป

ไม่เจืออามิสเลย จึงควรตลอด ๗ วัน. ที่ทำเองไม่เจืออามิสเลย ย่อมควร

แม้ในปุเรภัต, จำเดิมแต่ปัจฉาภัตไปไม่เจืออามิสเหมือนกัน ควรตลอด

๗ วัน. แต่ผาณิตทำด้วยน้ำอ้อยสด ที่กรองและรับประเคนแล้ว ใน

ปัจฉาภัต ปราศจากอามิสเท่านั้น จึงควรตลอด ๗ วัน, ผาณิตที่เป็น

อุคคหิตก์ มีดังกล่าวแล้วเหมือนกัน.

ในมหาอรรถกถาท่านกล่าวว่า ผาณิตที่ทำด้วยน้ำอ้อยเผาก็ดี ผาณิต

ที่ทำด้วยน้ำอ้อยหีบก็ดี ควรแต่ในปุเรภัตเท่านั้น. ส่วนในมหาปัจจรี

ท่านตั้งคำถามว่า ผาณิตที่เคี่ยวทั้งวัตถุ (กาก) นี้ ควรหรือไม่ควร ? ดังนี้

แล้วกล่าวว่า ผาณิตที่ทำด้วยน้ำอ้อยสด ชื่อว่าไม่ควรในปัจฉาภัต ย่อม

ไม่มี. คำนั้นถูกแล้ว.

ผาณิตดอกมะซางที่เขาทำด้วยน้ำเย็น แม้เจืออามิส ก็ควรในปุเรภัต.

จำเดิมแต่ในปัจฉาภัต ไป ไม่เจืออามิสเลย จึงควรตลอด ๗ วัน. ในเมื่อ

ล่วง ๗ วันไป เป็นทุกกฏตามจำนวนวัตถุ, ส่วนผาณิตมะซางที่เขาเติม

นมสดทำ เป็นยาวกาลิก. แต่ชนทั้งหลายตักเอาฝ้า (ฟอง) นมสดออก

แล้ว ๆ ชำระขัณฑสกรให้สะอาด; เพราะฉะนั้น ขัณฑสกรนั้น ก็ควร.

ส่วนดอกมะซางสดย่อมควรแม้ในปุเรภัต คั่วแล้วก็ควร . คั่วแล้วตำผสมด้วย

ของอื่นมีเมล็ดงาเป็นต้น หรือไม่ผสม ก็ควร.

แต่ถ้าว่า ชนทั้งหลายถือเอามะซางนั้นประกอบเข้ากัน (ปรุง) เพื่อ

ต้องการเมรัย, ดอกมะซางที่ปรุงแล้วนั้น ย่อมไม่ควรตั้งแต่พืช. ผาณิต

แห่งผลไม้ที่เป็นยาวกาลิกทั้งหมด มีกล้วย ผลอินทผลัม (เป้งก็ว่า) มะม่วง

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1050

สาเก ขนุน และมะขามเป็นต้น เป็นยาวกาลิกเหมือนกัน ชนทั้งหลาย

ทำผาณิตด้วยพริกสุก, ผาณิตนั้นเป็นยาวกาลิก.

สองบทว่า ตานิ ปฏิคฺคเหตฺวา มีความว่า ถ้าภิกษุรับประเคน

เภสัช ๕ อย่าง มีเนยเป็นต้นแม้ทั้งหมด เก็บไว้ไม่แยกกันในหม้อเดียว

ในเมื่อล่วง ๗ วันไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์เพียงตัวเดียว, เมื่อแยกกันเก็บ

เป็นนิสสัคคีย์ ๕ ตัว. เอาเภสัช ๕ นี้ ยังไม่ล่วง ๗ วัน ภิกษุผู้อาพาธก็ดี

ไม่อาพาธก็ดี ควรบริโภคตามสบาย โดยนัยดังกล่าวแล้ว.

[อธิบายข้อที่ทรงอนุญาตไว้เฉพาะ ๗ อย่าง]

ก็ข้อที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะ มี ๗ อย่าง คือ อนุญาตเฉพาะ

อาพาธ ๑ เฉพาะบุคคล ๑ เฉพาะกาล ๑ เฉพาะสมัย ๑ เฉพาะประเทศ ๑

เฉพาะมันเปลว ๑ เฉพาะเภสัช ๑.

บรรดาอนุญาตเฉพาะ ๗ อย่างนั้น ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะอาพาธ

ได้แก่ ข้อที่ทรงอนุญาตเฉพาะอาพาธอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย !

เราอนุญาตเนื้อสด เลือดสด ในเพราะอาพาธอันเกิดจากมนุษย์*. เนื้อสด

และเลือดสดนั้น ควรแก่ภิกษุผู้อาพาธด้วยอาพาธนั้นอย่างเดียว ไม่ควร

แก่ภิกษุอื่น. ก็แล เนื้อสดและเลือดสดนั้นเป็นกัปปิยะก็ดี เป็นอกัปปิยะ

ก็ดี ย่อมควรทั้งนั้น ทั้งในกาลทั้งในวิกาล.

ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะบุคคล ได้แก่ ข้อที่ทรงอนุญาตเฉพาะ

บุคคลอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตการเรออวกแก่ภิกษุผู้

มักเรออวก, ภิกษุทั้งหลาย ! แต่ที่เรออวกมานอกทวารปากแล้ว ไม่ควร

* วิ. มหา. ๕/๓๕

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1051

กลืนกิน. การเรออวกนั้น ควรแก่ภิกษุผู้มักเรออวกนั้นเท่านั้น ไม่ควร

แก่ภิกษุอื่น.

ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะกาล ได้แก่ ข้อที่ทรงอนุญาตเฉพาะกาล

ที่ภิกษุถูกงูกัดอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตยามหาวิกัฏ ๔

คือ คูถ มูตร เถ้า ดิน. ยามหาวิกัฎนั้น เฉพาะในกาลนั้น แม้ไม่รับ

ประเคน ก็ควร, ในกาลอื่นหาควรไม่.

ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะสมัย ได้แก่ อนาบัติทั้งหลาย ที่ทรง

อนุญาตไว้เฉพาะสมัยนั้น ๆ โดยนัยมีว่า (เป็นปาจิตตีย์) ในเพราะคุณ-

โภชนะ เว้นแต่สมัย ดังนี้ เป็นต้น. อาบัติเหล่านั้นเป็นอาบัติเฉพาะใน

สมัยนั้น ๆ เท่านั้น, ในสมัยอื่นหาเป็นไม่.

ที่ชื่อว่าอนุญาตเฉพาะประเทศ ได้แก่ สังฆกรรมมีอุปสมบท

เป็นต้น ที่ทรงอนุญาตเฉพาะในปัจจันตประเทศอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ

ทั้งหลาย ! เราอนุญาตการอุปสมบท ด้วยคณะมีพระวินัยธรเป็นที่ ๕ ใน

ปัจจันตชนบทเห็นปานนี้. สังฆกรรมมีอุปสมบทเป็นต้นนั้น ย่อมควร

เฉพาะในปัจจันตชนบทนั้นเท่านั้น, ในมัชฌิมประเทศหาควรไม่.

ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะมันเปลว ได้แก่ ข้อที่ทรงอนุญาตเภสัช

โดยชื่อแห่งมันเปลวอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตเปลวมัน

เป็นเภสัช. เปลวมันเภสัชนั้น ของจำพวกสัตว์มีเปลวมันเป็นกัปปิยะและ

อกัปปิยะทั้งหมด เว้นเปลวมันของมนุษย์เสียย่อมควร เพื่อบริโภคอย่าง

บริโภคน้ำมัน แก่พวกภิกษุผู้มีความต้องการด้วยน้ำมันนั้น.

๑. วิจุล. ๗/๔๘. ๒. มหา. ๒/๓๑๒. ๓. ๔. วิ. มหา. ๕/๕๑-๓๖-๔๑-๓๙.

๕. วิ. มหา. ๕/๕๑-๓๖-๔๑-๓๙.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1052

ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะเภสัช ได้แก่ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง

และน้ำอ้อย ที่สามารถแผ่ไปเพื่อสำเร็จอาหารกิจ ซึ่งทรงอนุญาตไว้ โดย

ชื่อแห่งเภสัชอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตเภสัช ๕. เภสัช ๕

เหล่านั้น ภิกษุรับประเคนแล้ว พึงบริโภคได้ตามสบายในปุเรภัตในวัน

นั้น, ตั้งแต่ปัจฉาภัตไป เมื่อมีเหตุ พึงบริโภค ได้ตลอด ๗ วัน โดย

นัยดังกล่าวแล้ว.

[อธิบายบทภาชนีย์และอนาปัตติวาร]

ข้อว่า สตฺตาหาติกฺกนฺเต อติกฺกนฺตสญฺี นิสฺสคฺคิย ปาจิตฺติย

มีความว่า แม้ถ้าว่า เภสัชนั้นมีประมาณเท่าเมล็คพันธุ์ผักกาด พอจะเอา

นิ้วแตะแล้วลมด้วยลิ้นคราวเดียว อันภิกษุจำต้องเสียสละแท้ และพึง

แสดงอาบัติปาจิตตีย์เสีย.

ข้อว่า น กายิเกน ปริโภเคน ปริภุญฺชิตพฺพ มีความว่า ภิกษุ

อย่าพึงเอาทาร่างกาย หรือทาแผลที่ร่างกาย. แม้บริขารมีผ้ากาสาวะ

ไม้เท้า รองเท้า เขียงเช็ดเท้า เตียงและตั่งเป็นต้น ถูกเภสัชที่เป็นนิสสัคคิย-

วัตถุเหล่านั้นเปื้อนแล้ว เป็นของไม่ควรบริโภค ในมหาปัจจรี กล่าวว่า

ที่สำหรับมือจับแม้ในบานประตูและหน้าต่างก็ไม่ควรทำ. ในมหาอรรถ-

กถาท่านกล่าวว่า แต่ผสมลงในน้ำฝาดแล้วควรทาบานประตูและหน้าต่าง

ได้.

ข้อว่า อนาปตฺติ อนฺโตสตฺตาห อธิฏฺเติ มีความว่า ในภายใน

๗ วัน ภิกษุอธิษฐานเนยใส น้ำมัน และเปลวมันไว้เป็นน้ำมันทาศีรษะ

หรือเป็นน้ำมันสำหรับหยอด, อธิษฐานน้ำผึ้งไว้เป็นยาทาแผล น้ำอ้อย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1053

เป็นเครื่องอบเรือน ไม่เป็นอาบัติ. ถ้าภิกษุประสงค์จะรินน้ำมันที่อธิษฐาน

เอาไว้แล้ว ลงในภาชนะใส่น้ำมันที่ยังไม่ได้อธิษฐาน, ถ้าในภาชนะมี

ช่องแคบ น้ำมันที่ค่อย ๆ ไหลเข้าไป ถูกน้ำมันเก่าล้นขึ้นมาท่วม, พึง

อธิษฐานใหม่. ถ้าภาชนะปากกว้าง น้ำมันมาก ไหลเข้าไปอย่างรวดเร็วจน

ท่วมน้ำมันเก่า ไม่มีกิจที่จะต้องอธิษฐานใหม่. แท้จริง น้ำมันนั้น มีคติ

อย่างน้ำมันที่อธิษฐานแล้ว. ผู้ศึกษาพึงทราบแม้การรินน้ำมันที่ไม่ได้

อธิษฐานลงในภาชนะใส่น้ำมันที่อธิษฐานแล้วโดยนัยนี้.

ในบทว่า วิสฺสชฺเชติ นี้มีวินิจฉัยดังนี้:- ถ้าเภสัชนั้นเป็นของ

สองเจ้าของ ภิกษุรูปหนึ่งรับประเคนไว้ ยังไม่ได้แบ่งกัน, ในเมื่อล่วง

๗ วันไปไม่เป็นอาบัติแม้ทั้ง ๒ รูป, แต่ไม่ควรบริโภค. ถ้ารูปใดรับ

ประเคนไว้ รูปนั้นกล่าวกะอีกรูปหนึ่งว่า ท่านผู้มีอายุ ! น้ำมันนี้ถึง ๗วัน

แล้ว, ท่านจงบริโภคน้ำมันนั้นเสีย ดังนี้ และเธอก็ไม่ทำการบริโภค จะ

เป็นอาบัติแก่ใคร ? ไม่เป็นอาบัติแม้แก่ใคร ๆ ทั้งนั้น. เพราะเหตุไร ?

เพราะรูปที่รับประเคนก็สละแล้ว แสะเพราะอีกรูปหนึ่งก็ไม่ได้รับประ-

เคน.

บทว่า วินสฺเสติ ได้แก่ เป็นของบริโภคไม่ได้.

ในคำว่า จตฺเตน เป็นต้น มีวินิจฉัยดังนี้:- เภสัชอันภิกษุสละ

แล้ว ปล่อยแล้ว ด้วยจิตใด, จิตนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า

สละแล้ว ทิ้งแล้ว ปล่อยแล้ว. ตรัสเรียกบุคคลผู้ไม่มีความห่วงใยด้วยจิต

นั้น. อธิบายว่า ผู้ไม่มีความห่วงใยอย่างนั้นให้แล้วแก่สามเณร. คำนี้ตรัสไว้

เพราะเหตุไร ? ท่านพระมหาสุมเถระกล่าวว่า ตรัสไว้เพื่อแสดงว่าไม่เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1054

อาบัติ แก่ภิกษุผู้ให้แล้วในภายใน ๗ วันอย่างนั้น ภายหลังได้คืนมา

แล้วฉัน.

ส่วนท่านพระมหาปทุมเถระกล่าวว่า น้ำมันนี้ ภิกษุไม่ควรขอ.

ด้วยว่าในเพราะการบริโภคใหม่ ซึ่งน้ำมันที่ให้ไปแล้วในภายใน ๗ วัน

ไม่มีอาบัติเลย, แต่ตรัสคำนี้ไว้ ก็เพื่อแสดงว่าไม่เป็นอาบัติในเพราะบริโภค

น้ำมันที่ล่วง ๗ วันไป. เพราะเหตุนั้น เภสัชที่เขาถวายแล้วอย่างนี้

ถ้าสามเณรปรุงแล้ว หรือไม่ได้ปรุง ถวายแก่ภิกษุนั้นเพื่อกระทำการนัตถุ์.

ถ้าสามเณรเป็นผู้เขลา ไม่รู้เพื่อจะถวาย, ภิกษุอื่นพึงบอกเธอว่า แน่ะ

สามเณร ! เธอมีน้ำมันหรือ ? เธอรับว่า ขอรับ มีอยู่ ท่านผู้เจริญ !

ภิกษุนั้นพึงบอกเธอว่า นำมาเถิด, เราจักทำยาถวายพระเถร ะ. น้ำมัน

ย่อมควรแม้ด้วย (การถือเอา) อย่างนี้. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐานดุจกฐินสิกขาบท เป็นอกิริยา โนสัญญา-

วิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓

มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

เภสัชชสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๔

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๔๕] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน

อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น พระ-

ผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตผ้าอาบน้ำฝนแก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว พระฉัพ-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1055

พัคคีย์ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตผ้าอาบน้ำฝนแล้ว จึง

แสวงหาจีวรคือผ้าอาบน้ำฝนเสียก่อนบ้าง ทำแล้วนุ่งเสียก่อนบ้าง ครั้นผ้า

อาบน้ำฝนเก่าแล้ว ก็เปลือยกายอาบน้ำฝน

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์

จึงได้แสวงหาจีวร คือผ้าอาบน้ำฝนเสียก่อนบ้าง ทำแล้วนุ่งเสียก่อนบ้าง

เมื่อผ้าอาบน้ำฝนเก่าแล้ว จึงได้เปลือยกายอาบน้ำฝนเล่า แล้วกราบทูล

เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอแสวงหาจีวรคือผ้า

อาบน้ำฝนเสียก่อนบ้าง ทำแล้วนุ่งเสียก่อนบ้าง เมื่อผ้าอาบน้ำฝนเก่า

แล้ว เปลือยกายอาบน้ำฝน จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช่ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้แสวงหาจีวรคือผ้า

อาบน้ำฝนเสียก่อนบ้าง ทำแล้วนุ่งเสียก่อนบ้าง เมื่อผ้าอาบน้ำฝนเก่า

แล้ว จึงได้เปลือยกายอาบน้ำฝนเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่

เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1056

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวก

เธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และ

เพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยาย ดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการ

ที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดุก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1057

พระบัญญัติ

๔๓. ๔. ภิกษุรู้ว่า ฤดูร้อนยังเหลืออีก ๑ เดือน พึงแสวงหา

จีวร คือผ้าอาบน้ำฝนได้ รู้ว่า ฤดูร้อนยังเหลืออีกกึ่งเดือน พึงทำนุ่งได้

ถ้าเธอรู้ว่า ฤดูร้อนเหลือล้ำกว่า ๑ เดือน แสวงหาจีวร คือผ้าอาบน้ำฝน

รู้ว่า ฤดูร้อนเหลือล้ำกว่ากึ่งเดือน ทำนุ่ง เป็นนิสสัคคีย์ปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๔๖] คำ ว่า ภิกษุรู้ว่า ฤดูร้อนยังเหลืออีก ๑ เดือน พึงแสวงหา

จีวร คือผ้าอาบน้ำฝนได้ นั้น อธิบายว่า ภิกษุพึงเข้าไปหาชาวบ้าน

บรรดาที่เคยถวายจีวร คือ ผ้าอาบน้ำฝนมาก่อน แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า

ถึงกาลแห่งผ้าอาบน้ำฝนแล้ว ถึงสมัยแห่งผ้าอาบน้ำฝนแล้ว แม้ชาวบ้าน

เหล่าอื่น ก็ถวายจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน ดังนี้ แต่อย่าพูดว่า จงให้จีวรคือ

ผ้าอาบน้ำฝนแก่อาตมา จงหาจีวร คือผ้าอาบน้ำฝนมาให้อาตมา จงแลก

เปลี่ยนจีวรคือผ้าอาบน้ำฝนมาให้อาตมา จงจ่ายจีวรคือผ้าอาบน้ำฝนมาให้

อาตมา ดังนี้เป็นต้น

คำว่า รู้ว่า ฤดูร้อนยังเหลืออีกกึ่งเดือน พึงทำนุ่งได้ นั้น คือ เมื่อ

ฤดูร้อนยังเหลืออยู่กึ่งเดือน พึงทำนุ่งได้

คำว่า ถ้าเธอรู้ว่า ฤดูร้อนเหลือล้ำกว่า ๑ เดือน นั้น คือ เมื่อฤดู

ร้อนยังเหลือเกินกว่า ๑ เดือน แสวงหาจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน เป็นนิสสัคคีย์

คำว่า รู้ว่า ฤดูร้อนเหลือล้ำกว่ากึ่งเดือน นั้น คือ เมื่อฤดูร้อน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1058

ยังเหลือเกินกว่ากึ่งเดือน ทำนุ่ง เป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสีย

สละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน

นั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ของข้าพเจ้า แสวงหาได้

มาในฤดูร้อนซึ่งยังเหลือเกินกว่า ๑ เดือน ทำนุ่งในฤดูร้อนซึ่งยังเหลือ

อยู่เกินกว่าถึงเดือน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรคือผ้าอาบน้ำ

ฝนผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรคือผ้าอาบน้ำฝนที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ของ

ภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อม

พรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ แก่ภิกษุ

มีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1059

ท่านเจ้าข้า จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ของข้าพเจ้า แสวงหาได้

มาในฤดูร้อน ซึ่งยังเหลืออยู่เกินกว่า ๑ เดือน ทำนุ่งในฤดูร้อนซึ่งยัง

เหลืออยู่เกินกว่ากึ่งเดือน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรคือผ้า

อาบน้ำฝนผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรคือผ้าอาบน้ำฝนที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ของ

ภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความ

พร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรคือผ้า

อาบน้ำฝนผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนผืนนี้ของข้าพเจ้า แสวงหาได้มาใน

ฤดูร้อนซึ่งยังเหลืออยู่เกินกว่า ๑ เดือน ทำนุ่งในฤดูร้อนซึ่งยังเหลืออยู่

เกินกว่ากึ่งเดือน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน

ผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวร คือผ้าอาบน้ำฝนที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรคือผ้า

อาบน้ำฝนผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1060

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์ (แสวงหา)

[๑๔๗] ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่า ๑ เดือน ภิกษุสำคัญว่าเกิน

แสวงหาจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่า ๑ เดือน ภิกษุสงสัย แสวงหาจีวรคือผ้า

อาบน้ำฝน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่า ๑ เดือน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ถึง แสวง

หาจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์ (ทำนุ่ง)

ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่ากึ่งเดือน ภิกษุสำคัญว่าเกิน ทำนุ่ง เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่ากึ่งเดือน ภิกษุสงสัย ทำนุ่ง เป็นนิส-

สัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ฤดูร้อนยังเหลือเกินกว่ากึ่งเดือน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ถึง ทำนุ่ง

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

เมื่อผ้าอาบน้ำฝนมี ภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝน ต้องอาบัติทุกกฏ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึง ๑ เดือน ภิกษุสำคัญว่าเกิน...ต้องอาบัติทุกกฏ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึง ๑ เดือน ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1061

ไม่ต้องอาบัติ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึง ๑ เดือน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ถึง...ไม่ต้อง

อาบัติ

ทุกกฏ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึงกึ่งเดือน ภิกษุสำคัญว่าเกิน...ต้องอาบัติทุกกฏ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึงเดือน ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึงกึ่งเดือน ภิกษุสำคัญว่า ยังไม่ถึง...ไม่ต้อง

อาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๔๘] ภิกษุรู้ว่าฤดูร้อนยังเหลืออีกหนึ่งเดือน แสวงหาจีวร คือ

ผ้าอาบน้ำฝน ๑ ภิกษุรู้ว่าฤดูร้อนยังเหลืออีกกึ่งเดือน ทำนุ่ง ๑ ภิกษุ

รู้ว่าฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึงกึ่งเดือน แสวงหาจีวรคือผ้าอาบน้ำฝน ๑ ภิกษุ

รู้ว่าฤดูร้อนยังเหลือไม่ถึงกึ่งเดือน ทำนุ่ง ๑ เมื่อผ้าอาบน้ำฝน ภิกษุ

แสวงหาได้เเล้ว ฝนแล้ง เมื่อผ้าอาบน้ำฝน ภิกษุทำนุ่งแล้ว ฝนแล้ง

ซักเก็บไว้ ๑ ภิกษุนุ่งในสมัย ๑ ภิกษุมีจีวรถูกโจรชิงไป ๑ ภิกษุมีจีวร

หากเสีย ๑ มีอันตราย ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๔ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1062

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๔

พรรณนาวัสสิกสาฏิกสิกขาบท

วัสสิกสาฎิกสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในวัสสิกสาฎิกสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

สองบทว่า วสฺสิกสาฏิกา อนุญฺาตา มีความว่า ผ้าอาบน้ำฝน

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้แล้วในเรื่องนางวิสาขาในจีวรขันธกะ.

บทว่า ปฏิกจฺเจว แปลว่า ก่อนนั่นเทียว.

หลายบทว่า มาโส เสโส คิมฺหาน มีความว่า ฤดูร้อน ๔ เดือน

ยังเหลือเดือนสุดท้ายอีก ๑ เดือน.

บทว่า กตฺวา มีความว่า ให้สำเร็จลงด้วยการเย็บ ย้อมและกัปปะ

เป็นที่สุด และภิกษุเมื่อจะทำพึงกระทำผืนเดียวเท่านั้น แล้วอธิษฐานใน

สมัย จะอธิษฐาน ๒ ผืน ไม่ควร.

ข้อว่า อติเรกมาเส เสเส คิมฺหาเน ได้แก่ เมื่อเดือนที่มีชื่อว่า

ฤดูร้อน ยังเหลือเกิน ๑ เดือน.

แต่ผู้ศึกษาตั้งอยู่ในคำว่า อติเรกฑฺฒมาเส เสเส คิมฺหาเน กตฺวา

นิวาเสติ (ทำนุ่งในเมื่อฤดูร้อนยังเหลืออยู่เกินว่ากึ่งเดือน) นี้แล้ว พึงทราบ

เขตแห่งผ้าอาบน้ำฝน ๔ เขต คือเขตแห่งการแสวงหา ๑ เขตแห่งการ

กระทำ ๑ เขตแห่งการนุ่งห่ม ๑ เขตแห่งการอธิษฐาน ๑, และสมัย ๒

สมัย คือ กุจฉิสมัย ๑ ปิฎฐิสมัย ๑, และจตุกกะ ๒ คือ ปิฎฐิสมัย-

จตุกกะ ๑ กุจฉิสมัยจตุกกะ ๑.

บรรดาเขต สมัย และจตุกกะเหล่านั้น กึ่งเดือนหนึ่ง ตั้งแต่วัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1063

แรมค่ำหนึ่งหลังวันเพ็ญของเดือน ๗ ต้น ไปจนถึงวันอุโบสถในกาฬปักษ์

นี้เป็นเขตแห่งการแสวงหา และเขตแห่งการกระทำ, แท้จริง ในระหว่าง

นี้ ภิกษุจะแสวงหาผ้าอาบน้ำฝน ที่ยังไม่ได้ และจะทำผ้าอาบน้ำฝนที่ได้

แล้ว ควรอยู่. จะนุ่งห่มและจะอธิษฐานไม่ควร. กึ่งเดือนหนึ่ง ตั้งแต่

วันแรมค่ำหนึ่ง หลังวันอุโบสถในกาฬปักษ์ไปจนถึงวันเพ็ญเดือน ๘ นี้

เป็นเขตแห่งการแสวงหา การกระทำและการนุ่งห่ม แม้ทั้ง ๓. จริงอยู่

ในระหว่างนี้ จะแสวงหาผ้าอาบน้ำฝนซึ่งยังไม่ได้ กระทำผ้าที่ได้แล้วและ

จะนุ่งห่ม ควรอยู่. จะอธิษฐานอย่างเดียวไม่ควร. ตั้งแต่วันแรมค่ำหนึ่ง

หลังวันเพ็ญเดือน ๘ ไป จนถึงวันเพ็ญเดือนกัตติกา (เดือน ๑๒) ๔ เดือน

นี้เป็นเขตแห่งการแสวงหาการกระทำ การนุ่งห่ม และอธิษฐาน แม้ทั้ง๔.

จริงอยู่ ในระหว่างนี้ จะแสวงหาผ้าอาบน้ำฝนที่ยังไม่ได้ หรือจะกระทำ

ผ้าที่ได้แล้ว จะนุ่งห่ม และจะอธิษฐาน ควรอยู่. พึงทราบเขต ๔ อย่าง

นี้ก่อน.

อนึ่ง ตั้งแต่วันแรมค่ำหนึ่งหลังวันเพ็ญเดือน ๑๒ ไปจนถึงวันเพ็ญ

แห่งเดือน ๘ ต้น, ๗ เดือนนี้ ชื่อว่าปิฏฐิสมัย (หลังสมัย ). จริงอยู่ ใน

ระหว่างนี้ เมื่อภิกษุทำการเตือนสติ โดยนัยเป็นต้นว่า กาลแห่งผ้าอาบ

น้ำฝน แล้วให้จีวร คือ ผ้าอาบน้ำฝนสำเร็จจากที่ของคนผู้ไม่ใช่ญาติ

และไม่ใช่ปวารณา เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ด้วยสิกขาบทนี้, เมื่อกระทำ

วิญญัตติโดยนัยเป็นต้นว่า ท่านจงให้จีวรคือผ้าอาบน้ำฝนแก่เรา แล้วให้

สำเร็จ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ด้วยอัญญาตกวิญญัตติสิกขาบท. เมื่อกระทำ

การเตือนสติ โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแหละ ให้สำเร็จจากที่แห่งญาติและ

คนปวารณา เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ด้วยสิกขาบทนี้แล, เมื่อกระทำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1064

วิญญัตติให้สำเร็จไม่เป็นอาบัติ ด้วยอัญญาตกวิญญัตติสิกขาบท. สมจริง

ดังพระดำรัสที่ตรัสไว้ในคัมภีร์ปริวารว่า

ขอจีวรกะมารดา และไม่ได้น้อมลาภไปเพื่อสงฆ์ เพราะ

เหตุไร ภิกษุนั้น จึงต้องอาบัติ แต่ไม่ต้องอาบัติ เพราะ

บุคคลผู้เป็นญาติ ปัญหาข้อนี้ ท่านผู้ฉลาดทั้งหลายติดกัน* แล้ว

ก็ปัญหาข้อนี้ ท่านกล่าวหมายถึงเนื้อความนี้แล. พึงทราบปิฏฐิสมัย

จตุกกะอย่างนี้.

อนึ่ง ตั้งแต่วันแรมค่ำหนึ่งหลังวันเพ็ญแห่งเดือน ๗ ต้น ไปจน

ถึงวันเพ็ญเดือนกัตติกา ๕ เดือนนี้ ชื่อว่ากุจฉิสมัย (ท้องสมัย). จริงอยู่

ในระหว่างนี้ เมื่อภิกษุทำการเตือนสติ โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแหละ

ให้จีวร คือผ้าอาบน้ำฝนสำเร็จจากที่แห่งคนผู้มิใช่ญาติ และมิได้ปวารณา

เป็นทุกกฏในเพราะเสียธรรมเนียม. แต่พวกชาวบ้าน ซึ่งเคยถวายจีวร

คือผ้าอาบน้ำฝนแม้ในกาลก่อน ถึงหากว่าจะเป็นผู้มิใช่ญาติ และมิใช่

ผู้ปวารณาของตน ก็ไม่มีการเสียธรรมเนียม เพราะทำการเตือนสติ ใน

ชนเหล่านั้น ทรงอนุญาตไว้. เมื่อภิกษุกระทำวิญญัตติให้สำเร็จเป็นนิส-

สัคคิยปาจิตตีย์ ด้วยอัญญาตกวิญญัตติสิกขาบท. เพราะเหตุไร ? เพราะ

ตรัสไว้ว่า ภิกษุเข้าไปหาพวกชาวบ้านผู้เคยถวายจีวร คือผ้าอาบน้ำฝนใน

ก่อน แล้วพึงกล่าวอย่างนี้ ดังนี้เป็นต้น.

ก็จีวร คือผ้าอาบน้ำฝนนี้ ตามปกติ ย่อมมีเเม้ในหมู่ทายกผู้ถวาย

ผ้าอาบน้ำฝนนั่นแล. เมื่อภิกษุเตือนให้เกิดสติ โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นเอง

แล้วให้สำเร็จจากที่แห่งคนผู้เป็นญาติและคนปวารณา ไม่เป็นอาบัติด้วย

* วิ. ปริวาร. ๘/๕๓๕.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1065

สิกขาบทนี้, เมื่อกระทำวิญญัตติให้สำเร็จมา ไม่เป็นอาบัติด้วยอัญญาตก-

วิญญัตติสิกขาบท. จริงอยู่ คำว่า ไม่พึงบอกเขาว่า จงถวายแก่เรา นี้

ตรัสหมายถึงคนผู้มิใช่ญาติและมิใช่ปวารณานั่นเอง. พึงทราบกุจฉิสมัย-

จตุกกะ (หมวด ๔ ท้องสมัย) อย่างนี้.

ในคำว่า นคฺโค กาย โอวสฺสาเปติ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส นี้ มี

วินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนนั้น พระวินัยธรอย่าปรับ

ตามจำนวนเมล็ดน้ำฝน พึงปรับด้วยทุกกฏ ทุก ๆ ประโยค ด้วยอำนาจ

เสร็จการอาบน้ำ. ก็แล ภิกษุนั้นอาบน้ำที่ตกลงมาจากอากาศอยู่ ในลาน

ที่เปิดเผย (กลางแจ้ง) เท่านั้น (จึงต้องทุกกฏ). เมื่ออาบอยู่ในซุ้มอาบน้ำ

และในบึงเป็นต้น หรือด้วยน้ำที่ใช้หม้อตักรด (ตักอาบ) ไม่เป็นอาบัติ.

ในคำ วสฺส อุกฺกฑฺฒียติ นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ถ้าเมื่อผ้า

อาบน้ำฝนทำเสร็จแล้ว พวกภิกษุให้เดือนท้ายฤดูสิ้นไปแล้วเลื่อนเดือนต้น

ฤดูฝนนั่นแหละขึ้นมาเป็นเดือนท้ายฤดูร้อนอีก, พึงซักผ้าอาบน้ำฝนเก็บ

ไว้. ไม่ต้องอธิษฐานไม่ต้องวิกัป ได้บริหารตลอด ๒ เดือน. พึง

อธิษฐาน ในวันวัสสูปนายิกา (วันเข้าพรรษา). ถ้าว่าผ้าอาบน้ำฝนภิกษุ

มิได้ทำ เพราะหลงลืมสติ หรือเพราะผ้าไม่พอก็ดี ย่อมได้บริหารตลอด

๖ เดือน คือ ๒ เดือนนั้นด้วย เดือนฤดูฝนด้วย. แต่ถ้าภิกษุกราน

กฐินในเดือนกัตติกา ย่อมได้บริหารอีก ๔ เดือน. รวมเป็น ๑ เดือน

ด้วยประการอย่างนี้. แม้ต่อจาก ๑๐ เดือนนั้นไป เมื่อมีความหวัง (จะ

ได้ผ้าอาบน้ำฝน) ของภิกษุผู้ทำให้เป็นจีวรเดิมเก็บไว้ ได้บริหารอีก

เดือนหนึ่ง ดังนั้น จึงได้บริหารตลอด ๑๑ เดือน ด้วยประการอย่างนี้.

ถามว่า ก็ถ้าว่า ผ้าอาบน้ำฝนที่ได้แล้วและสำเร็จแล้ว ในเมื่อวัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1066

เข้าพรรษายังไม่มาถึง ด้วยอำนาจแห่งวันหนึ่งและสองวันเป็นต้นจนถึง

๑๐ วัน หรือในภายในพรรษา จะพึงอธิษฐานเมื่อไร ?

ตอบว่า คำนี้ ท่านไม่ได้วิจารณ์ไว้ในอรรถกถาทั้งหลาย. พวกเรา

มีอัตโนมัติอย่างนี้ว่า ก็แล ผ้าอาบน้ำฝนที่สำเร็จแล้ว ภายใน ๑๐ วัน

ตั้งแต่วันที่ได้มา พึงอธิษฐานภายใน ๑๐ วันนั้นนั่นเอง. ที่สำเร็จในเมื่อ

ล่วง ๑๐ วันไป พึงอธิษฐานในวันนั้น, เมื่อยังไม่ครบ ๑๐ วัน ไม่พึง

ให้เลยจีวรกาลไป. เพราะเหตุไร ? เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตให้อธิษฐานไตรจีวร ไม่ใช่ให้วิกัป,

ให้อธิษฐานผ้าอาบน้ำฝนตลอด ๔ เดือนฤดูฝน ต่อจากนั้นไปให้วิกัป.*

เพราะฉะนั้น จึงไม่เป็นอาบัติ แม้เพราะล่วง ๑๐ วันไป ก่อนแต่วันเข้า

พรรษา. สมจริง ดังที่ตรัสไว้ว่า ภิกษุพึงทรงอติเรกจีวรได้ ๑๐ วันเป็น

อย่างมาก. เพราะฉะนั้น ผ้าอาบน้ำฝนที่ได้มาและสำเร็จแล้วในเมื่อวัน

เข้าพรรษา ยังมาไม่ถึงด้วยอำนาจแห่งวันหนึ่ง และสองวัน เป็นต้น จน

ถึง ๑๐ วัน หรือในภายในพรรษา พึงอธิฐานในภายใน ๑๐ วัน หรือ

ในวันนั้น โดยนัยดังกล่าวแล้วนั่นแหละ, เมื่อยังไม่ครบ ๑๐ วัน ก็ไม่

พึงให้ล่วงเลยจีวรกาลไป.

ในอธิการแห่งผ้าอาบน้ำฝนนั้น จะพึงมีการท้วงว่า เพราะพระบาลี

ว่า เราอนุญาตให้อธิษฐานตลอด ๔ เดือน ฤดูฝน, ในภายใน ๔ เดือน

จะอธิษฐานในเวลาใดเวลาหนึ่ง ก็น่าจะใช้ได้. ถ้าเมื่อมีคำอย่างนี้, คำที่

ตรัสไว้ว่า เราอนุญาตให้อธิษฐานผ้าปิดฝีได้ตลอดเวลาที่ยังมีอาพาธ และ

แม้ผ้าปิดฝีนั้น ก็ไม่ควรให้ล่วง ๑๐ วัน, และเมื่อมีการล่วง ๑๐ วันไป

๑. วิ. มหา. ๕/๒๑๘. ๒. วิ. มหา. ๒/๓.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1067

อย่างนั้น คำว่า พึงทรงอติเรกจีวรได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง นี้ก็จะผิดไป;

เพราะฉะนั้น บัณฑิตจึงควรเชื่อถือคำตามที่กล่าวแล้วนั่นแล. หรือว่าได้

เหตุที่ไม่หละหลวมอย่างอื่นแล้ว ก็ควรสลัดทิ้งเสีย.

อนึ่ง แม้ในกุรุนที ก็กล่าวไว้ในที่สุดแห่งนิสสัคคีย์ว่า ผ้าอาบน้ำ

ฝนควรอธิษฐานเมื่อไร ? ก็แล ผ้าอาบน้ำฝนที่สำเร็จแล้วภายใน ๑๐ วัน

ตั้งแต่วันที่ได้มา ควรอธิษฐานภายใน ๑๐ วันนั้นนั่นแหละ, ถ้าผ้าไม่พอ

ย่อมได้บริหารไปจนถึงเพ็ญเดือน ๑๒.

คำว่า อจฺฉินฺนจีวรสฺส นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายเอาเฉพาะ

ผ้าอาบน้ำฝนเท่านั้น. จริงอยู่ ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุเหล่านั้นผู้เปลือยกาย

ในเพราะยังน้ำฝนให้รดร่างกาย.

ก็ในบทว่า อาปทาสุ นี้ อุปัทวะคือโจร ชื่อว่าอันตราย แห่ง

ภิกษุผู้นุ่งผ้าอาบน้ำฝนมีราคาแพง อาบน้ำอยู่. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้

มีอรรถตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฏฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

วัสสิกสาฏิกสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๕

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๑๔๙] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1068

ท่านพระอุปนันทศากยบุตร ได้กล่าวชวนภิกษุสัทธิวิหาริกของภิกษุผู้เป็น

พี่น้องกันว่า อาวุโส จงมา เราจักพากนหลีกไปเที่ยวตามชนบท

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า ผมไม่ไปขอรับ เพราะมีจีวรเก่า

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรกล่าวขยั้นขยอว่า ไปเถิด อาวุโส ผม

จักให้จีวรแก่ท่าน แล้วได้ให้จีวรแก่ภิกษุรูปนั้น

ภิกษุรูปนั้นได้ทราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจักเสด็จเที่ยวจาริก

ไปตามชนบท จึงคิดว่า บัดนี้ เราจักไม่ไปเที่ยวตามชนบทกับท่านพระ-

อุปนันทศากยบุตรละ จักตามเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเที่ยวจาริกไปตาม

เสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเที่ยวจาริกไปตามชนบท

ครั้นถึงกำหนด ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้กล่าวคำนี้กะภิกษุ

รูปนั้นว่า มาเถิด อาวุโส เราจักพากันไปเที่ยวตามชนบทในบัดนี้

ภิกษุรูปนั้นตอบว่า ผมไม่ไปกับท่านละ ผมจักตามเสด็จพระผู้มี-

พระภาคเจ้าเที่ยวจาริกไปตามชนบท

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรกล่าวว่า ผมได้ให้จีวรแก่ท่านไปด้วย

หมายใจว่าจักไปเที่ยวตามชนบทด้วยกัน ดังนี้แล้วโกรธ น้อยใจ ได้ชิง

จีวรที่ให้นั้นคืนมา

ภิกษุรูปนั้นจึงได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันท-

ศากยบุตรให้จีวรแก่ภิกษุไปเองแล้ว จึงได้โกรธ น้อยใจ ชิงเอาคืนมา

เล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1069

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธอให้จีวรแก่ภิกษุ

เองแล้ว โกรธ น้อยใจ ชิงเอาคืนมาจริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การ

กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ

ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอให้จีวรแก่ภิกษุเองแล้ว จึงได้โกรธ

น้อยใจ ชิงเอาคืนมาเล่า การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อ

ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่น

ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตรโดยอเนก

ปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคน

บำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุก-

คลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็น

คนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1070

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดย

อเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่

เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๔. ๕. อนึ่ง ภิกษุใดให้จีวรแก่ภิกษุเองแล้ว โกรธ น้อยใจ

ชิงเอามาก็ดี ให้ชิงเอามาก็ดี เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[ ๑๕๐] บทว่า อนึ่ง...ใ ด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการงาน

อย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1071

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฎิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้

ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น

ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ

ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.

บทว่า แก่ภิกษุ คือ แก่ภิกษุรูปอื่น.

บทว่า เอง คือ ให้เอง.

ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ ผ้าจีวร ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้า

องค์กำหนดแห่งผ้าต้องวิกัปเป็นอย่างต่ำ.

บทว่า โกรธ น้อยใจ คือ ไม่ชอบใจ มีใจฉุนเฉียว เกิดมีใจ

กระด้าง.

บทว่า ชิงเอามา คือ ยื้อแย่งเอามาเอง จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์.

บทว่า ให้ชิงเอามา คือ ใช้คนอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ.

ภิกษุรับคำสั่งครั้งคราวเดียว ชิงเอามาแม้หลายคราว ก็เป็นนิส-

สัคคีย์ คือ เป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1072

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้แก่ภิกษุเองแล้วชิงเอามา

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุ ผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้แก่ภิกษุเองแล้วชิงเอามา

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1073

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้แก่ภิกษุเองแล้วชิงเอามา เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๕๑] อุปสัมบัน ภิกษุสำคัญว่าอุปสัมบัน ให้จีวรเองแล้ว โกรธ

น้อยใจ ชิงเอามาก็ดี ให้ชิงเอามาก็ดี เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

อุปสัมบัน ภิกษุสงสัย ให้จีวรเองแล้ว โกรธ น้อยใจ ชิงเอามา

ก็ดี ให้ชิงเอามาก็ดี เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

อุปสัมบัน ภิกษุสำคัญว่าอนุปสัมบัน ให้จีวรเองแล้ว โกรธ น้อยใจ

ชิงเอามาก็ดี ให้ชิงเอามาก็ดี เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ภิกษุให้บริขารอย่างอื่นแล้ว โกรธ น้อยใจ ชิงเอามาก็ดี ให้ชิง

เอามาก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

ภิกษุให้จีวรก็ดี บริขารอย่างอื่นก็ดี แก่อนุปสัมบันแล้ว โกรธ

น้อยใจ ชิงเอามาก็ดี ให้ชิงเอามาก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1074

อนุปสัมบัน ภิกษุสำคัญว่าอุปสัมบัน...ต้องอาบัติทุกกฏ

อนุปสัมบัน ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

อนุปสัมบัน ภิกษุสำคัญว่าอนุปสัมบัน...ต้องอาบัติทุกกฏ.

อนาปัตติวาร

[๑๕๒] ภิกษุผู้ได้รับไปนั้นให้คืนเองก็ดี ภิกษุเจ้าของเดิมถือวิสาสะ

แก่ผู้ได้รับไปนั้นก็ดี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๕ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๕

พรรณนาจีวรอัจฉินทนสิกขาบท

จีวรอัจฉินทนสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในจีวรอัจฉินทนสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

หลายบทว่า ยปิ ตฺยาห ตัดบทเป็น ยปิ เต อห แปลว่า เรา

ได้ให้จีวรแม้ใดแก่ท่าน. ไ่ด้ยินว่า พระอุปนนท์นั้น คิดว่า ภิกษุนี้จัก

นำบาตร จีวร รองเท้า และผ้าปูนอนเป็นต้นของเรา ไปสู่ที่จาริกกับ

เรา จึงได้ให้แล้ว; เพราะเหตุนั้นแล เธอจึงได้กล่าวอย่างนั้น.

[ว่าด้วยการชิงคืน ของภิกษุผู้ให้จีวร]

บทว่า อจฺฉินฺทิ แปลว่า ได้ถือเอาแล้วโดยพลการ. แต่เพราะ

ถือเอาด้วยสำคัญว่าของตน จึงไม่เป็นปาราชิกแก่เธอ. เพราะเธอทำให้

ลำบากแล้วถือเอาจีวร พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงบัญญัติอาบัติไว้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1075

ข้อว่า สย อจฺฉินฺทติ นิสฺสคฺคิย ปาจิตฺติย มีความว่า สำหรับ

ภิกษุผู้ชิงเอาจีวรผืนเดียว และมากผืนซึ่งเนื่องเป็นอันเดียวกัน เป็นอาบัติ

ตัวเดียว. เมื่อภิกษุชิงเอาจีวรมากผืนซึ่งไม่เนื่องเป็นอันเดียวกัน และตั้ง

อยู่แยกกัน และเมื่อใช้ให้ผู้อื่นนำมาให้โดยสั่งอย่างนี้ว่า เธอจงนำสังฆาฎิ

มา, จงนำผ้าอุตราสงค์มา เป็นอาบัติมากตัวตามจำนวนวัตถุ. แม้เมื่อ

กล่าวว่า เธอจงนำจีวรทั้งหมดที่เราให้เเล้วคืนมา ก็เป็นอาบัติจำนวนมาก

เพราะคำพูดคำเดียวนั่นแล.

ข้อว่า อญฺ อาณาเปติ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส มีความว่า สั่งว่า

เธอจงถือเอาจีวร เป็นทุกกฏตัวเดียว. ภิกษุผู้รับสั่งถือจีวรหลายตัว, ก็

เป็นปาจิตตีย์ตัวเดียว เมื่อภิกษุกล่าวว่า เธอจงเอาสังฆาฎิมา, จงเอา

อุตราสงค์มา เป็นทุกกฏ ทุก ๆ คำพูด. เมื่อกล่าวว่า เธอจงเอาจีวรที่เรา

ให้ทั้งหมดคืนมา เป็นอาบัติจำนวนมาก เพราะคำพูดคำเดียว.

สองบทว่า อญฺ ปริกฺขาร มีความว่า บริขารอย่างใดอย่างหนึ่ง

เว้นจีวรอย่างเล็กที่ควรจะวิกัปได้ โดยที่สุดแม้แต่เข็ม. แม้ในจำพวกเข็ม

ที่ห่อเก็บไว้ ก็เป็นทุกกฏหลายตัวตามจำนวนวัตถุ. ในเข็มที่ห่อไว้หลวม ๆ

(ก็เป็นทุกกฏมากตัวตามจำนวนวัตถุ) อย่างนั้นเหมือนกัน . ในมหาปัจจรี

ท่านกล่าวว่า ก็ในเข็มทั้งหลายที่เขามัดไว้เเน่นเป็นทุกกฏตัวเดียวเท่านั้น.

แม้ในเข็มที่เขาใส่ไว้ในกล่องเข็ม ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ถึงแม้ใน

เภสัชมีเครื่องเผ็ดร้อน ๓ ชนิด ที่เขาใส่ไว้ในถุงย่ามมัดไว้หย่อน และมัด

ไว้เป็น ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน.

[อธิบายการคืนให้เเก่เจ้าของเดิมแห่งภิกษุผู้รับไป]

สองบทว่า โส วา เทติ มีความว่า ให้คืนอย่างนี้ว่า ท่านขอรับ !

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1076

จีวรนี้สมควรแก่ท่านเท่านั้น ดังนี้ ก็ดี. อีกอย่างหนึ่ง ก็ภิกษุหนุ่มนั้นถูก

พระเถระนั้น กล่าวถ้อยคำมีอาทิอย่างนี้ว่า คุณ ! เราได้ให้จีวรแก่เธอ

ด้วยหวังว่า จักทำวัตรและปฏิวัตร จักถืออุปัชฌาย์ จักเรียนซึ่งธรรมใน

สำนักของเรา มาบัดนี้ เธอนั้นไม่กระทำวัตร ไม่ถืออุปัชฌาย์ ไม่เรียน

ธรรม ดังนี้ จึงให้คืนว่า ท่านขอรับ ! ดูเหมือนท่านพูดเพื่อต้องการ

จีวร, นี้จีวรของท่าน. ภิกษุผู้รับไปนั้น ให้คืนแม้ด้วยอาการอย่างนี้ก็ดี.

ก็หรือว่าพระเถระกล่าวถึงภิกษุหนุ่มผู้หลีกไปสู่ทิศว่า พวกท่านจงให้เธอ

กลับ. เธอไม่กลับ. พระเถระสั่งว่า พวกท่านจงยึดจีวรกันไว้ ถ้าอย่างนี้

เธอกลับเป็นการดี. ถ้าเธอกล่าวว่า พวกท่านดูเหมือนจะพูด เพื่อต้อง

การบาตรและจีวร, พวกท่านจงรับเอามันไปเถิด แล้วให้คืน. แม้อย่างนี้

ก็ชื่อว่าภิกษุผู้รับไปนั้นให้คืนเองก็ดี.

อนึ่ง พระเถระเห็นเธอสึกแล้วกล่าวว่า เราได้ให้บาตรและจีวรแก่

เธอด้วยหวังว่า จักกระทำวัตร บัดนี้ เธอนั้นก็สึกไปแล้ว. ฝ่ายภิกษุ

หนุ่มที่สึกไปพูดว่า ขอท่านโปรดรับเอาบาตรและจีวรของท่านไปเถิด

แล้วให้คืน. แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าภิกษุผู้รับไปนั้นนั่นแล ให้คืนเองก็ดี.

แต่จะให้ด้วยกล่าวอย่างนี้ว่า เราให้แก่เธอผู้ถืออุปัชฌาย์ในสำนักของเรา

เท่านั้น เราไม่ให้แก่ผู้ถืออุปัชฌาย์ในที่อื่น, เราให้เฉพาะแก่ผู้กระทำวัตร,

ไม่ให้เเก่ผู้ไม่กระทำวัตร เราให้แก่ผู้เรียนธรรมเท่านั้นไม่ให้แก่ผู้ไม่เรียน

เราให้แก่ผู้ไม่สึกเท่านั้น ไม่ให้แก่ผู้สึก ดังนี้ ไม่ควร. เป็นทุกกฏแก่ผู้

ให้. แต่จะใช้ให้นำคืนมาควรอยู่. ภิกษุผู้ชิงเอาจีวรที่ตนสละให้แล้วคืนมา

พระวินัยธรพึงปรับตามราคาสิ่งของ. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ ตื้น

ทั้งนั้นแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1077

สิกขาบทนี้ มี ๓ สมุฏฐาน ย่อมเกิดทางกายกับจิต ๑ ทางวาจา

กับจิต ๑ ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็นกิริยา สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ

โลกวัชชะ กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต เป็นทุกขเวทนา ฉะนี้แล.

จีวรอัจฉินทนสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๖

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๕๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ-

เวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราช-

คฤห์ ครั้งนั้นถึงคราวทำจีวร พระฉัพพัคคีย์ขอด้ายเขามาเป็นอันมาก

แม้ทำจีวรเสร็จแล้ว ด้ายก็ยังเหลืออยู่เป็นอันมาก จึงพระฉัพพัคคีย์ได้

ปรึกษากันว่า อาวุโสทั้งหลาย ผิฉะนั้น พวกเราพากันไปขอด้ายแม้อื่นมา

ให้ช่างหูกทอจีวรเถิด ครั้นไปขอด้ายแม้อื่นมาแล้ว ให้ช่างหูกทอจีวร

แม้ทอจีวรแล้ว ด้ายก็ยังเหลืออยู่อีกมากมาย จึงไปขอด้ายแม้อื่นมา ให้

ช่างหูกทอจีวรอีกเป็นครั้งที่สอง แม้ทอจีวรแล้ว ด้ายก็ยังเหลืออยู่อีกมาก

มาย จึงไปขอด้ายแม้อื่นมา ให้ช่างหูกทอจีวรอีกเป็นครั้งที่สาม

ชาวบ้านพากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อ-

สายพระศากยบุตรจึงได้ขอด้ายเขามาเองแล้ว ยังช่างหูกให้ทอจีวรเล่า

ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่

บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1078

ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้ขอ

ด้ายเขามาเองแล้ว ยังช่างหูกให้ทอจีวรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่

พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระ-

ฉัพพัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอขอด้ายเขามาเองแล้ว

ยังช่างหูกให้ทอจีวร จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้

ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ขอด้ายเขามาเองแล้วยังช่างหูกให้ทอ

จีวรเล่า การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของ

ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใส

แล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใส

ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวก

ที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1079

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดยอเนกปริยาย ทรง

กระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ

ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รันว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจักบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๕. ๖. อนึ่ง ภิกษุใดขอด้ายมาเองแล้ว ยังช่างหูกให้ทอจีวร

เป็นนิสัคคิยปาจิตตีย์

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1080

สิกขาบทวิภังค์

[๑๕๔] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติ

อย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม

เป็นนวกะก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า

เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียง

กันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบควรแก่ฐานะ บรรดา

ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถ-

กรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ใน

อรรถนี้.

บทว่า เอง คือ ขอเขามาเอง

ด้ายมี ๖ อย่าง

ที่ชื่อว่า ด้าย นั้น มี ๖ อย่าง คือ ทำด้วยเปลือกไม้ ๑ ทำด้วย

ฝ้าย ๑ ทำด้วยไหม ๑ ทำด้วยขนสัตว์ ๑ ทำด้วยป่าน ๑ ทำด้วยสัมภาระ

เจือกันใน ๕ อย่างนั้น ๑.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1081

บทว่า ยังช่างหูก คือ ยังช่างหูกให้ทอ เป็นทุกกฏในประโยคที่

ช่างหูกจัดทำอยู่นั้น เป็นนิสสัคคีย์ ด้วยได้จีวรมา จำต้องเสียสละแก่สงฆ์

คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอด้ายมาเองแล้วยังช่างหูก

ให้ทอ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงพึงข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้

ป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์

ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอด้ายมาเองแล้วยังช่างหูก

ให้ทอ เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1082

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับ

อาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอด้ายมาเองแล้วยังช่างหูกให้ทอ

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๕๕] ให้เขาทอ ภิกษุสำคัญว่าให้เขาทอ เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

อาบัติปาจิตตีย์

ให้เขาทอ ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ให้เขาทอ ภิกษุสำคัญว่าไม่ได้ให้เขาทอ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ

ปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1083

ทุกกฏ

ไม่ได้ให้เขาทอ ภิกษุสำคัญว่าให้เขาทอ ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ได้ให้เขาทอ ภิกษุสงสัย ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ไม่ได้ให้เขาทอ ภิกษุสำคัญว่าไม่ได้ให้เขาทอ ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๕๖] ภิกษุขอด้ายมาเพื่อเย็บจีวร ๑ ภิกษุขอด้ายมาทำผ้ารัดเข่า ๑

ภิกษุขอด้ายมาทำประคดเอว ๑ ภิกษุขอด้ายมาทำผ้าอังสะ ๑ ภิกษุขอด้าย

มาทำถุงบาตร ๑ ภิกษุขอด้ายมาทำผ้ากรองน้ำ ๑ ภิกษุขอต่อญาติ ๑

ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุขอเพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุ

จ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๖ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๖

พรรณนาสุตตวิญญัตติสิกขาบท

สุตตวิญญัตติสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในสุตตวิญญัตติสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1084

[ว่าด้วยกำเนิดด้าย ๖ ชนิด]

บทว่า โขม ได้แก่ ด้ายที่ทำด้วยเปลือกไม้โขมะ.

บทว่า กปฺปาสิก ได้แก่ ด้ายที่เกิดจากฝ้าย.

บทว่า โกเสยฺย ได้แก่ ด้ายที่กรอด้วยใยไหม.

บทว่า กมฺพล ได้แก่ ด้ายทำด้วยขนแกะ.

บทว่า สาณ ได้แก่ ด้ายที่ทำด้วยเปลือกไม้สาณะ (ป่าน).

บทว่า ภงฺค อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า ได้แก่ ด้ายที่ทำด้วยปอ

ชนิดหนึ่งต่างหาก. แต่ด้ายที่เขาทำผสมกันด้วยสัมภาระทั้ง ๕ อย่างนั่น

ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ภังคะ.

หลายบทว่า วายาเปติ ปโยเค ทุกฺกฏ มีความว่า ถ้าช่างหูกไม่มี

กระสวยและฟืมเป็นต้น, เขาคิดว่า เราจักนำของเหล่านั้นมาจากป่า จึง

ลับมีดหรือขวาน, ตั้งแต่นั้นไปเขากระทำประโยคใดๆ เพื่อต้องการเครื่อง

อุปกรณ์ก็ดี เพื่อต้องการจะทอจีวรก็ดี เป็นทุกกฏแก่ภิกษุทุก ๆ ประโยค

นั้นของช่างหูกในกิจทั้งปวง. เมื่อช่างหูกทอผ้าได้ด้านยาวประมาณคืบ ๑

และด้านกว้างประมาณศอก ๑ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. แต่ในมหาปัจจรี

ท่านกล่าวว่า เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ทุก ๆ ผัง* ( ทุก ๆ ช่วงผัง) แก่

ภิกษุผู้ให้ช่างหูกทออยู่จนถึงที่สุด (จนสำเร็จ). แม้คำนั้น ก็พึงทราบว่า

ท่านกล่าวหมายเอาประมาณนี้นั่นแหละ. จริงอยู่ ประมาณผ้าอย่างต่ำควร

วิกัปได้ จึงถึงการนับว่าจีวรแล.

[อธิบายการใช้ช่างหูกทอด้วยด้ายกัปปิยะเป็นต้น]

อนึ่ง บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในคำว่า วายาเปติ ปโยเค ทุกฺกฏ

นี้อย่างนี้:- จะกล่าวถึงด้ายก่อน ที่ภิกษุขอเองเป็นอกัปปิยะ. ด้ายที่เหลือ

* ไม้สำหรับถ่างผ้าที่ทอให้ตึง ปลายทั้งสองมีเข็มสำหรับเสียบที่ริมผ้า.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1085

อันบังเกิดขึ้นด้วยอำนาจแห่งญาติเป็นต้น เป็นกัปปิยะ. แม้ช่างหูกก็ไม่ใช่

ญาติและไม่ใช่คนปวารณา ภิกษุได้มาด้วยการขอ เป็นอกัปปิยะ. ช่าง

หูกที่เหลือเป็นกัปปิยะ. บรรดาด้ายและช่างหูกเหล่านั้น ด้ายที่เป็นอกัป-

ปิยะ เป็นนิสสัคคีย์แก่ภิกษุผู้ให้ช่างหูกที่เป็นอกัปปิยะทอ โดยนัยดังกล่าว

แล้วในก่อน.

อนึ่ง เมื่อภิกษุให้ช่างหูกที่เป็นอกัปปิยะนั้นแลทอด้ายที่เป็นกัปปิยะ

เป็นทุกกฏ เหมือนเป็นนิสสัคคีย์ในเบื้องต้นนั่นแล. เมื่อภิกษุให้ช่างหูก

อกัปปิยะนั้นแล ทอด้ายกัปปิยะและอกัปปิยะ ถ้าจีวรเป็นดุจกระทงนา

เนื่องกันเท่าประมาณแห่งจีวรขนาดเล็ก อย่างนี้ คือ ตอนหนึ่งสำเร็จ

ด้วยด้ายกัปปิยะล้วน ๆ ตอนหนึ่งสำเร็จด้วยด้ายอกัปปิยะ. เป็นปาจิตตีย์

ในทุก ๆ ตอนที่สำเร็จด้วยด้ายอกัปปิยะ. เป็นทุกกฏใน (ตอนที่สำเร็จด้วย

ด้ายเป็นกัปปิยะ) นอกนี้ อย่างนั้นเหมือนกัน. ถ้ามีหลายตอนหย่อนกว่า

ขนาดจีวรที่ควรวิกัปเป็นอย่างต่ำนั้น โดยที่สุด แม้ขนาดเท่าดวงไฟก็เป็น

ทุกกฏตามจำนวนตอนในทุก ๆ ตอน. ถ้าจีวรทอด้วยด้ายที่คั่นลำดับกัน

ทีละเส้นก็ดี ทอให้ด้ายกัปปิยะอยู่ทางด้านยาว (ด้านยืน) ให้ด้ายอกัปปิยะ

อยู่ทางด้านขวาง (ด้านพุ่ง) ก็ดี, เป็นทุกกฏทุก ๆ ผัง.

จริงอยู่ เมื่อภิกษุใช้ให้ช่างหูกกัปปิยะทอด้ายที่เป็นอกัปปิยะ เป็น

ทุกกฏ เหมือนเป็นนิสสัคคีย์ในเบื้องต้น. เมื่อภิกษุให้ช่างหูกกัปปิยะนั้น

นั่นเอง ทอด้ายที่เป็นกัปปิยะและอกัปปิยะ ถ้าว่า มีตอนแห่งด้ายอกัปปิยะ

หลายตอนขนาดเท่าจีวรอย่างเล็ก หรือหย่อนกว่า, ในตอนด้ายอกัปปิยะ

เหล่านั้น เป็นทุกกฏด้วยจำนวนตอน. ในตอนด้ายที่เป็นกัปปิยะทั้งหลาย

ไม่เป็นอาบัติ. ถ้าจีวรทอด้วยด้ายคั่นลำดับกันทีละเส้นก็ดี ทอให้ด้าย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1086

กัปปิยะอยู่ทางด้านยาว (ด้านยืน) ให้ด้ายอกัปปิยะอยู่ด้านขวาง (ด้านพุ่ง)

ก็ดี, เป็นทุกกฏในทุก ๆ ผัง (ทุก ๆ ช่วงผัง).

[ว่าด้วยช่างหูก ๒ คนผลัดกันทอ]

ก็ถ้ามีช่างหูก ๒ คน คนหนึ่งเป็นกัปปิยะ คนหนึ่งเป็นอกัปปิยะ

และด้ายก็เป็นอกัปปิยะ, ถ้าช่างหูก ๒ คนนั้นผลัดกันทอ, เป็นปาจิตตีย์

ในทุก ๆ ผังที่ช่างหูกอกัปปิยะทอ เป็นทุกกฏ ในจีวรที่หย่อนลงมา.

เป็นทุกกฏในตอนทั้งสองที่ช่างหูกกัปปิยะนอกนี้ทอ. ถ้าช่างหูกทั้ง ๒ คน

จับฟืมทอด้วยกัน, เป็นทุกกฏในทุก ๆ ผัง. ถ้าด้ายเป็นกัปปิยะ และ

จีวรมีตอนด้วยการกั้นดังกระทงนาเป็นต้น, เป็นทุกกฏในทุก ๆ ตอนที่

ช่างหูกกัปปิยะทอ. ในตอนที่ช่างหูกกัปปิยะนอกนี้ทอ ไม่เป็นอาบัติ.

ถ้าช่างหูกทั้ง ๒ คน จับฟืมทอด้วยกัน เป็นทุกกฏในทุก ๆ ผัง.

ถ้าแม้ด้ายเป็นทั้งกัปปิยะทั้งอกัปปิยะ, ถ้าช่างหูกทั้งสองคนนั้นผลัด

กันทอ, ในตอนที่สำเร็จด้วยด้ายอกัปปิยะ มีขนาดเท่าจีวรอย่างเล็ก ซึง

ช่างหูกอกัปปิยะทอ เป็นปาจิตตีย์ ตามจำนวนตอน. เป็นทุกกฏในตอน

ทั้งหลายที่หย่อนลงมา และที่สำเร็จด้วยด้ายกัปปิยะ. เป็นทุกกฏเหมือนกันใน

ตอนที่สำเร็จด้วยด้ายอกัปปิยะ ซึ่งได้ขนาดหรือหย่อนลงมา ที่ช่างหูก

กัปปิยะทอ. ในตอนที่สำเร็จด้วยด้ายกัปปิยะ ไม่เป็นอาบัติ.

ถ้าช่างหูกทั้ง ๒ คนทอด้วยด้ายที่สลับกันทีละเส้นก็ดี ทอให้ด้าย

อกัปปิยะอยู่ทางด้านยาว (ด้านยืน) ให้ด้ายกัปปิยะอยู่ทางด้านขวาง (ด้าน

พุ่ง) ก็ดี แม้ทั้งสองคนจับฟืมทอด้วยกันก็ดี, เป็นทุกกฏทุก ๆ ผัง ใน

จีวรที่ไม่มีตอน. ส่วนเนื้อความว่า ในจีวรที่มีตอนเป็นทุกกฏหลายตัว

ด้วยอำนาจแห่งตอน นี้ไม่ปรากฏในมหาอรรถกถา ปรากฏแต่ในมหา-

ปัจจรีเป็นต้น, ในอรรถกถานี้ปรากฏโดยอาการทุกอย่างแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1087

ถ้าทั้งด้ายก็เป็นกัปปิยะ ทั้งช่างหูกก็เป็นกัปปิยะ คือ เป็นญาติ

และเป็นคนปวารณา หรือภิกษุจ้างมาด้วยมูลค่า ไม่เป็นอาบัติ เพราะ

การใช้ให้ทอเป็นปัจจัย. แต่ภิกษุเมื่อจะป้องกันอาบัติ เพราะการล่วง ๑๐

วันเป็นปัจจัย พึงอธิษฐานจีวรที่ทอแล้วนั่นแหละ ในเมื่อหูกที่ช่างหูกทอ

ได้ขนาดเท่าจีวรที่ควรวิกัป. เพราะว่า จีวรที่ช่างหูกทอให้สำเร็จลงโดย

ล่วง ๑๐ วันไป จะพึงเป็นนิสสัคคีย์ ฉะนี้แล.

แม้ในจีวรที่พวกญาติเป็นต้นยกหูขึ้นแล้วมอบถวายว่า ท่านผู้เจริญ !

ท่านพึงรับเอาจีวรนี้ เพื่อท่าน ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ถ้าช่างหูกอัน

ภิกษุว่าจ้างมาอย่างนี้ หรือเป็นผู้ประสงค์จะถวายเสียเอง จึงกล่าวว่า ท่าน

ขอรับ ! ผมจักทอจีวรถวายท่านในวันชื่อโน้นแล้วจักเก็บไว้, และภิกษุ

ให้ล่วง ๑๐ วันไปจากวันที่ช่างหูกนั้นกำหนดไว้ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

แต่ช่างหูกกล่าวว่า ผมจักทอจีวรเขาถวายท่านแล้วจักส่งข่าวไปให้ทราบ แล้ว

ทำเหมือนอย่างที่พูดไว้, แก่ภิกษุที่เขาวานไป ไม่บอกแก่ภิกษุนั้น, ภิกษุ

รูปอื่นเห็น หรือได้ยินแล้วบอกว่า ท่านขอรับ ! จีวรของท่านสำเร็จแล้ว,

การบอกของภิกษุนี้ ไม่เป็นประมาณ. แต่ในเวลาเมื่อเธอให้ล่วง ๑๐ วัน

ไป จำเดิมแต่วันที่เธอได้ยินคำของภิกษุที่ช่างหูกนั้นวานไปนั่นแหละบอก

จึงเป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

ถ้าช่างหูกกล่าวว่า กระผมทอจีวร เพื่อท่านแล้ว จักส่งไปถวาย

ในมือของภิกษุบางรูป แล้วกระทำตามที่พูดนั้น, แต่ภิกษุที่รับจีวรไปเก็บ

ไว้ที่บริเวณของตน ไม่บอกแก่เธอ ภิกษุอื่นบางรูปกล่าวว่า ท่านขอรับ !

จีวรที่มาใหม่สวยดีบ้างหรือ ? เธอกล่าวว่า จีวรที่ไหนกัน คุณ ! ? ภิกษุ

นั้นจึงตอบว่า ที่เขาส่งมาในมือแห่งภิกษุชื่อนี้, คำพูดแม้ของภิกษุนี้ ก็

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1088

ไม่เป็นประมาณ. ต่อเมื่อใดภิกษุนั้นถวายจีวร, เมื่อเธอให้ล่วง ๑๐ วัน

ไปนับแต่วันที่ตนได้จีวรมานั้น เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. แต่ถ้าค่าจ้างให้ทอ

เป็นของที่ภิกษุยังไม่ได้จ่ายให้, ยังรักษาอยู่ตราบเท่าที่ค่าจ้างทำยังเหลืออยู่

แม้เพียงกากณิกหนึ่ง.

ข้อว่า อนาปตฺติ จีวร สิพฺพิตุ มีความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ

ผู้ขอด้ายเพื่อต้องการเย็บจีวร.

ในจีวรทั้งหลายมีว่า ผ้ารัดเข่า เป็นต้น มีอธิบายว่า คำว่า อาโยเค

เป็นต้น เป็นสัจจมีวิภัตติลงในอรรถแห่งนิมิต. ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ขอ

ด้ายมีผ้ารัดเข่าเป็นต้นเป็นนิมิต. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ มีอรรถตื้น

ทั้งนั้นแล.

สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

สุตตวิญญัติสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิขาบทที่ ๗

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร

[๑๕๗] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

บุรุษผู้หนึ่ง เมื่อจะไปแรมคืนต่างถิ่น ได้กล่าวคำนี้กะภรรยาว่า จงกะ

ด้ายให้แก่ช่างหูกคนโน้นให้ทอจีวรแล้วเก็บไว้ ฉันกลับมาแล้วจักนิมนต์

พระคุณเจ้าอุปนันทะให้ครองจีวร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1089

ภิกษุรูปหนึ่ง ผู้ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ได้ยินบุรุษผู้นั้นกล่าว

วาจานี้ จึงเข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตรถึงสำนัก ครั้นแล้วได้

กล่าวคำนี้แก่ท่านพระอุปนันทศากยบุตรว่า อาวุโส อุปนันทะ ท่านเป็น

ผู้มีบุญมาก ณ สถานตำบลโน้น บุรุษผู้หนึ่ง เมื่อจะไปแรมคืนต่างถิ่น

ได้กล่าวคำนี้กะภรรยาว่า จงกะด้ายให้แก่ช่างหูกดนโน้นให้ทอจีวรแล้ว

เก็บไว้ ฉันกลับมาแล้วจักนิมนต์พระคุณเจ้าอุปนันทะให้ครองจีวร ดังนี้

ท่านพระอุปนันทะกล่าวรับรองว่า มีขอรับ เขาเป็นอุปัฏฐากของผม

แม้ช่างหูกผู้นั้น ก็เป็นอุปัฏฐากของท่านพระอุปนันทศากยบุตร

จึงท่านพระอุปนันทศากยบุตร เข้าไปหาช่างหูกผู้นั้นถึงบ้าน ครั้นแล้วได้

กล่าวคำนี้กะช่างหูกผู้นั้นว่า ท่าน จีวรผืนนี้แล เขาให้ท่านทอเฉพาะเรา

ท่านจงทำให้ยาว ให้กว้าง ให้แน่น ให้เป็นของที่ขึงดี ให้เป็นของที่

ทอดี ให้เป็นของที่สางดี และให้เป็นของที่กรีดดี

ช่างหูกกล่าวว่า เขากะด้ายส่งมาให้กระผมเท่านี้เอง ขอรับ แล้ว

สั่งว่า จงทอจีวรด้วยด้ายเท่านี้ กระผมไม่สามารถจะทำให้ยาว ให้กว้าง

หรือให้แน่นได้ แต่สามารถจะทำให้เป็นของที่ขึงดี ให้เป็นของที่ทอดี

ให้เป็นของสางดี และให้เป็นของที่กรีดดีได้ ขอรับ

ท่านพระอุปนันทะ กล่าวรับรองว่า เชิญท่านช่วยทำให้ยาว ให้

กว้าง และให้แน่นเถิด ความขัดข้องด้วยด้ายนั้น จักไม่มี

ครั้นช่างหูกนำด้ายตามที่เขาส่งมาเข้าไปในหูกแล้ว ด้ายไม่พอ จึง

เข้าไปหาสตรีเจ้าของ แจ้งว่า ต้องการด้าย ขอรับ

สตรีเจ้าของกล่าวค้านว่า ดิฉันสั่งคุณแล้วมิใช่หรือว่า จงทอจีวร

ด้วยด้ายเท่านี้

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1090

ช่างหูกอ้างเหตุว่า ท่านสั่งผมไว้จริง ขอรับ แต่พระคุณเจ้าอุป-

นันทะบอกผมอย่างนี้ว่า เชิญท่านช่วยทำให้ยาว ให้กว้าง และให้เป็นเถิด

ความขัดข้องด้วยด้ายนั้น จักไม่มี

จึงสตรีผู้นั้นได้ให้ด้ายเพิ่มไปอีกเท่าที่ให้ไว้คราวแรก

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้ทราบข่าวว่า บุรุษนั้นกลับมาจากที่

แรมคืนต่างถิ่นแล้ว จึงเข้าไปหาถึงเรือนบุรุษนั้น ครั้นแล้ว นั่งบน

อาสนะะที่เขาจัดไว้

จึงบุรุษนั้นเข้าไปหาท่านพระอุปนันทศากยบุตร กราบแล้วนั่ง ณ

ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วได้ถามภรรยาว่า จีวรที่ให้ทอเสร็จแล้วหรือยัง

ภรรยาตอบว่า เสร็จแล้ว เจ้าค่ะ

บุรุษนั้นสั่งว่า จงหยิบมา ฉันจักยังพระคุณเจ้าอุปนันทะให้ครอง

จีวร

จึงสตรีนั้นหยิบจีวรออกมาให้สามี แล้วได้เล่าเรื่องนั้นให้ทราบ

บุรุษนั้นถวายจีวรนั้นแก่ท่านพระอุปนันทศากยบุตรแล้ว ได้เพ่งโทษ

ติเตียนโพนทะนาขึ้น ในขณะนั้นแลว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร

เหล่านี้ เป็นคนมักมาก ไม่สันโดษ จะให้ครองจีวรก็ทำไม่ได้ง่าย ไฉน

พระคุณเจ้าอุปนันทะอันเราไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน จึงได้เข้าไปหาช่างหูก

แล้วถึงการกำหนดในจีวร

ภิกษุทั้งหลายได้ยินบุรุษนั้นเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาอยู่ บรรดาที่

เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา

ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุปนันทศากยบุตร อัน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1091

เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน จึงได้เข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือน แล้วถึงการ

กำหนดในจีวรเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่าน

พระอุปนันทศากยบุตรว่า ดูก่อนอุปนันทะ ข่าวว่า เธออันเขาไม่ได้

ปวารณาไว้ก่อน ได้เข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนแล้ว ถึงการกำหนด

ในจีวร จริงหรือ

ท่านพระอุปนันทศากยบุตรทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ภ. เขาเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ

อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ

ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่

ได้ ไม่ควรทำ คนที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร หรือ

ไม่สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มี ของคนที่มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น

เธออันเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ยังเข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนผู้มิใช่

ญาติ แล้วถึงการกำหนดในจีวรได้ การกระทำของเธอนั้นไม่เป็นไป

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใส

ยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็น

ไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น

อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1092

ทรงบัญญัติสิกขาบท

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอุปนันทศากยบุตรโดย

อเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็น

คนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ

คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความ

เป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ

กำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียรโดย

อเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม

แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๖. ๗. อนึ่ง พ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติ

สั่งช่างหูกให้ทอจีวรเฉพาะภิกษุ ถ้าภิกษุนั้นเขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1093

เข้าไปหาช่างหูกแล้ว ถึงความกำหนดในจีวรในสำนักของเขานั้นว่า

จีวรผืนนี้ทอเฉพาะรูป ขอท่านจงทำให้ยาว ให้กว้าง ให้แน่นให้เป็น

ของที่ขึงดี ให้เป็นของที่ทอดี ให้เป็นของที่สางดี ให้เป็นของที่กรีดดี

แม้ไฉนรูปจะให้ของเล็กน้อยเป็นรางวัลแก่ท่าน ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว

ภิกษุนั้นให้ของเล็กน้อยเป็นรางวัล โดยที่สุดแม้สักว่าบิณฑบาต เป็น

นิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๕๘] บทว่า อนึ่ง...เฉพาะภิกษุ ความว่า เพื่อประโยชน์ของ

ภิกษุ ทำภิกษุให้เป็นอารมณ์แล้ว ใคร่จะให้ภิกษุครอง

ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี

ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗ ชั่วอายุของบุรพชนก

ผู้ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน

ผู้ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่ สตรีผู้ครอบครองเรือน

บทว่า ช่างหูก ได้แก่ คนทำการทอ

ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ ผ้าจีวร ๖ ชนิด ๆ ใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์

กำหนดแห่งผ้าต้องวิกัปเป็นอย่างต่ำ

บทว่า ให้หอ คือ ให้ทออยู่

บทว่า ถ้าภิกษุนั้น...ในสำนักของเขานั้น ได้แก่ ภิกษุที่เขาสั่งให้

ช่างหูกทอจีวรไว้ถวายเฉพาะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1094

บทว่า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน คือ เป็นผู้อันเขาไม่ได้บอกไว้

ก่อนว่า ท่านเจ้าข้า ท่านจะต้องการจีวรเช่นไร ผมจักทอจีวรเช่นไรถวาย

บทว่า เข้าไปหาช่างหูกแล้ว คือ ไปถึงเรือนแล้ว เข้าไปหาใน

ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง

คำว่า ถึงความกำหนดในจีวรนั้น คือการกำหนดในจีวรว่า จีวร

ผืนนี้ทอเฉพาะรูป ขอท่านจงทำให้ยาว ให้กว้าง ให้เเน่น ให้เป็นของ

ที่ขึงดี ให้เป็นของที่ทอดี ให้เป็นของที่สางดี ให้เป็นของที่กรีดดี แม้

ไฉนรูปจะให้ของเล็กน้อยเป็นรางวัลแก่ท่าน

คำว่า ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ภิกษุนั้นให้ของเล็กน้อยเป็นรางวัล

โดยที่สุดแม้สักว่าบิณฑบาต อธิบายว่า ยาคูก็ดี ข้าวสารก็ดี ของเคี้ยว

ก็ดี ก้อนจุรณก็ดี ไม้ชำระฟันก็ดี ด้วยเชิงชายก็ดี โดยที่สุดแม้กล่าว

ธรรมก็ชื่อว่าบิณฑบาต เขาทำให้ยาวก็ดี ให้กว้างก็ดี ให้แน่นก็ดี ตาม

คำของเธอเป็นทุกกฏในประโยคที่เขาทำ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา ต้อง

เสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าเข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ถึงความกำหนดใน

จีวร เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1095

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่

แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน

ข้าพเจ้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนผู้ใช่ญาติ ถึงความกำหนดในจีวร

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน ข้าพเจ้า

เข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ถึงความกำหนดในจีวร เป็น

ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1096

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรแก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

ติกนิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๕๙] เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ เขาไม่ได้

ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนแล้ว ถึงความกำหนดใน

จีวร เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย เขาไม่ได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไป

หาช่างหูกของเจ้าเรือนแล้ว ถึงความกำหนดในจีวร เป็นนิสสัคคีย์ ต้อง

เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ เขาไม่ได้ปวารณาไว้

ก่อน เข้าไปหาช่างหูกของเจ้าเรือนแล้ว ถึงความกำหนดในจีวร เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ...ต้องอาบัติทุกกฏ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ...ไม่ต้องอาบัติ.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1097

อนาปัตติวาร

[๑๖๐] ภิกษุขอต่อญาติ ๑ ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุขอ

เพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์ของตนเอง ๑ เจ้า-

เรือนใคร่จะให้ทอจีวรมีราคามาก ภิกษุให้ทอจีวรมีราคาน้อย ๑ ภิกษุ

วิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๗ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๗

พรรณนามหาเปสการสิกขาบท

มหาเปสการสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในมหาเปสการสิกขาบทนั้นมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

สองบทว่า สุตฺต ธารยิตฺวา ได้แก่ ชั่งด้ายให้ได้กำหนดหนึ่งปละ.

บทว่า อปฺปิต แปลว่า ให้แน่น.

บทว่า สุวีต ได้แก่ ให้เป็นของที่ทอดี คือ ให้เป็นของที่ทอ

เสมอในที่ทุกแห่ง.

บทว่า สุปฺปวายิต ได้แก่ ขึงให้ดี คือ ขึงหูกให้ตึงเสมอในที่

ทุกแห่ง.

บทว่า สุวิเลขิต แปลว่า ให้เป็นของสางดีด้วยเครื่องสาง.

บทว่า สุวิตจฺฉิต แปลว่า ให้เป็นของกรีดดีด้วยหวี (ด้วยแปรง).

อธิบายว่า ให้เป็นของชำระเรียบร้อย.

บทว่า ปฏิพทฺธ แปลว่า ความขาดแคลน.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1098

บทว่า ตนฺเต มีความว่า นำเข้าไปในหูกที่ขึงไปทางด้านยืนนั่นแล.

(ด้านยาว).

หลายบทว่า ตตฺร เจโส ภิกขุ มีความว่า ในคามหรือนิคมที่พวก

ช่างหูกเหล่านั้นอยู่.

สองบทว่า วิกปฺป อาปชฺเชยฺย มีความว่า ถึงความกำหนดเอา

พิเศษ คือจัดแจงเอาอย่างยิ่ง. แต่ในบาลี เพื่อทรงแสดงอาการที่เป็น

เหตุให้ภิกษุถึงความกำหนดเอา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อิท โข

อาวุโส เป็นต้น.

สองบทว่า ธมฺมปิ ภณติ ได้แก่ กล่าวธรรมกถา. พระผู้มีพระ-

ภาคเจ้าทรงแสดงอาการ คือการเพิ่มด้ายเท่านั้น ด้วยคำว่า เขาทำให้ยาว

ก็ดี ให้กว้างก็ดี ให้แน่นก็ดี ตามคำของภิกษุนั้น.

สองบทว่า ปุพฺเพ อปฺปวาริโต ได้แก่ เป็นผู้อันเจ้าของแห่งจีวร

ทั้งหลายมิได้ปวารณาไว้. คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้นแล.

สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐาน ๖ เป็นกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ

ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

มหาเปสการสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๘

เรื่องมหาอำมาตย์คนหนึ่ง

[๑๖๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1099

พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

มหาอำมาตย์ผู้หนึ่ง เมื่อจะไปแรมคืนต่างถิ่น ได้ส่งทูตไปในสำนักภิกษุ

ทั้งหลายว่า นิมนต์ท่านผู้เจริญทั้งหลายมา ข้าพเจ้าจักถวายผ้าจำนำพรรษา

ภิกษุทั้งหลายไม่ไป รังเกียจอยู่ว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตผ้าจำนำ

พรรษาแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ออกพรรษาแล้ว จึงท่านมหาอำมาตย์ผู้นั้นเพ่ง

โทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่านผู้เจริญทั้งหลาย เมื่อเราส่งทูตไปแล้ว

จึงได้ไม่มาเล่า เพราะเราจะไปในกองทัพ จะเป็นหรือจะตายก็ยากที่จะรู้ได้

ภิกษุทั้งหลายได้ทราบข่าวมหาอำมาตย์ผู้นั้น เพ่งโทษ ติเตียน

โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตอัจเจกจีวร

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถา ไม่เพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตเพื่อรับอัจเจกจีวรแล้วเก็บไว้ได้

สมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายทราบพระพุทธานุญาตินั้นแล้ว รับอัจเจก-

จีวรเก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล จีวรเหล่านั้น ภิกษุห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง

ท่านพระอานนท์เที่ยวจาริกไปตามเสนาสนะได้พบเห็นจีวรเหล่านั้นที่

ภิกษุทั้งหลายห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง ครั้นแล้วได้เรียกภิกษุทั้งหลายมา

ถามว่า อาวุโสทั้งหลาย จีวรเหล่านี้ของใครห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง

ภิกษุทั้งหลายตอบว่า อัจเจกจีวรของพวกกระผม ขอรับ

ท่านพระอานนท์ซักว่า เก็บไว้นานเท่าไรแล้ว

จึงภิกษุเหล่านั้นได้แจ้งแก่ท่านพระอานนท์ ตามที่ตนได้เก็บไว้

นานเท่าไร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1100

ท่านพระอานนท์เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย

รับอัจเจกจีวรแล้ว จึงได้เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาลเล่า แล้วกราบทูลเรื่อง

นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลายรับอัจเจกจีวรแล้ว

เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล จริงหรือ

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่

ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จึงได้รับอัจเจกจีวรแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาลเล่า การกระทำของ

ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยัง

ไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดย

ที่เเท้ การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชน

บางพวกที่เลื่อมใส

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว

ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1101

เป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจ-

คร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า

เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑

เพื่อถือตามพระวินัย ๑

ก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๗. ๘. วันปุรณมีที่ครบ ๓ เดือน แห่งเดือนกัตติกา ยังไม่

มาอีก ๑๐ วัน อัจเจกจีวรเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ภิกษุรู้ว่าเป็นอัจเจกจีวร

พึงรับไว้ได้ ครั้นรับไว้แล้ว พึงเก็บไว้ได้จนตลอดสมัยที่เป็นจีวรกาล

ถ้าเธอเก็บไว้ยิ่งกว่านั้น เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องมหาอำมาตย์คนหนึ่ง จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1102

สิกขาบทวิภังค์

[๑๖๒] บทว่า ยังไม่มาอีก ๑๐ วัน คือ ก่อนวันปวารณา ๑๐ วัน

บทว่า วันปุรณมีที่ครบ ๓ เดือน แห่งเดือนกัตติกา นั้น คือวัน

ปวารณา ท่านกล่าวว่าวันเพ็ญเดือนกัตติกา

ที่ชื่อว่า อัจเจกจีวร อธิบายว่า บุคคลประสงค์จะไปในกองทัพก็ดี

บุคคลประสงค์จะไปแรมคืนต่างถิ่นก็ดี บุคคลเจ็บไข้ก็ดี สตรีมีครรภ์ก็ดี

บุคคลยังไม่มีศรัทธา มามีศรัทธาเกิดขึ้นก็ดี บุคคลที่ยังไม่เลื่อมใส มามี

ความเลื่อมใสเกิดขึ้นก็ดี ถ้าเขาส่งทูตไปในสำนักภิกษุทั้งหลายว่า นิมนต์

ท่านผู้เจริญมา ข้าพเจ้าจัดถวายผ้าจำนำพรรษา ผ้าเช่นนี้ชื่อว่าอัจเจกจีวร

คำว่า ภิกษุรู้ว่าเป็นอัจเจกจีวร พึงรับไว้ได้ ครั้นรับไว้แล้ว พึง

เก็บไว้ได้จนตลอดสมัยที่เป็นจีวรกาล ดังนี้นั้น คือ พึงทำเครื่องหมาย

ว่า นี้อัจเจกจีวร แล้วเก็บไว้

ที่ชื่อว่า สมัยที่เป็นจีวรกาล คือ เมื่อไม่ได้กรานกฐิน ได้ท้าย

ฤดูฝน ๑ เดือน เมื่อกรานกฐินแล้ว ได้ขยายออกไปเป็น ๕ เดือน

คำว่า ถ้าเธอเก็บไว้ยิ่งกว่านั้น คือ เมื่อไม่ได้กรานกฐิน เก็บไว้

ล่วงเลยวันสุดท้ายแห่งฤดูฝน เป็นนิสสัคคีย์ เมื่อได้กรานกฐินแล้ว เก็บ

ไว้ล่วงเลยวันกฐินเดาะ เป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์

คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละอัจเจกจีวรนั้น

อย่างนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1103

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเขาไปหาสงฆ์ ห่มผาอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เก็บไว้ล่วงเลยสมัย

จีวรกาล เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงพึงข้าพเจ้า อัจเจกจีวรผืนนี้ของภิกษุมี

ชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่ง

ของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เป็นไว้ล่วงเลยสมัย

จีวรกาล เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ของจงฟังข้าพเจ้า ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้ของภิกษุมี

ชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1104

พร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้ผ้าอัจเจกจีวร

ผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า เก็บไว้ล่วงเลยสมัยจีวรกาล

เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้ผ้าอัจเจกจีวรผืนนี้แก่ท่าน

ดังนี้.

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

[๑๖๓] อัจเจกจีวร ภิกษุสำคัญว่าเป็นอัจเจกจีวร เก็บไว้ล่วงสมัย

จีวรกาล เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

อัจเจกจีวร ภิกษุสงสัย เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล เป็นนิสสัคคีย์

ต้องอาบัติปาจิตตีย์

อัจเจกจีวร ภิกษุสำคัญว่ามิใช่อัจเจกจีวร เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เก็บไว้ล่วง

สมัยจีวรกาล เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1105

จีวรยังไม่ได้สละ ภิกษุสำคัญว่าสละแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัยจีวรกาล

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัยจีวร

กาล เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เก็บไว้ล่วงสมัย

จีวรกาล เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว เก็บไว้ล่วงสมัย

จีวรกาล เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุยังไม่ได้สละ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ใช่อัจเจกจีวร ภิกษุสำคัญว่าอัจเจกจีวร ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ใช่อัจเจกจีวร ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ไม่ใช่อัจเจกจีวร ภิกษุสำคัญว่าไม่ใช่อัจเจกจีวร...ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๖๔] ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัป ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1106

หาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑ จีวรถูกไฟไหม้ ๑ จีวรถูกชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือ

วิสาสะ ๑ ในภายในสมัย ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้อง

อาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๘ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๘

พรรณนาอัจเจกจีวรสิกขาบท

อัจเจกจีวรสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว

ต่อไป:- ในอัจเจกจีวรสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า ทสาหานาคต มีความว่า วันทั้งหลาย ๑๐ ชื่อว่า ทสาหะ.

(วันปุรณมีที่ครบ ๓ เดือนแห่งเดือนกัตติกา) ยังไม่มาโดยวัน ๑๐ นั้น

ชื่อว่า ทสาหานาคตะ. อธิบายว่า ยังไม่มาถึง ๑๐ วัน. ในวันปุรณมีที่

ยังไม่มาถึงอีก ๑๐ วันนั้น. ทุติยาวิภัตติลงในอรรถแห่งสัตตมีวิภัตติ ด้วย

อำนาจแห่งอัจจันตสังโยค. เพราะเหตุนั้นแล ในบทภาชนะแห่งบทว่า

ทสาหานาคต นั้น จึงตรัสว่า ทสาหานาคตาย.

ก็คำว่า ปวารณาย นี้ เป็นคำประกอบตามหลัง เพื่อความไม่ฉงน

เพื่อจะแสดงปวารณาที่ตรัสไว้ว่า ทสาหานาคตา โดยสรูป.

[อธิบายการเกิดแห่งอัจเจกจีวร]

บทว่า กตฺติกเตมาสิกปุณฺณม แปลว่า วันปุรณมีที่ครบ ๓ เดือน

แห่งเดือนกัตติกาต้น. แม้ในบทว่า กตฺติกเตมาสิกปุณฺณม นี้ ก็เป็น

ทุติยาวิภัตติลงในอรรถแห่งสัตตมีวิภัตติ โดยนัยก่อนเหมือนกัน เพราะ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1107

ประกอบตามหลังบทต้น. มีคำอธิบายว่า วันมหาปวารณาแรก ตรัสเรียก

ว่า ทสาหานาคตา ตั้งแต่กาลใดไป. ถ้าแม้นว่าอัจเจกจีวร พึงเกิดขึ้น

แก่ภิกษุแน่นอนตลอดวันเหล่านั้นทีเดียว (ใน ๑๐ วันนั้น วันใดวันหนึ่ง).

ภิกษุรู้ว่า นี้เป็นอัจเจกจีวร (จีวรรีบด่วน) พึงรับไว้ได้เเม้ทั้งหมด.

ด้วยคำว่า ทสาหานาคต กตฺติกเตมาสิกปุณฺณม นั้น เป็นอัน

พระองค์ทรงแสดงกาลเป็นที่เก็บจีวรซึ่งเกิดขึ้นจำเดิมแต่วันที่ ๕ ค่ำ แห่ง

ชุณหปักษ์ของเดือนปวารณา. ก็กาลเป็นที่เก็บจีวรนั่นสำเร็จด้วยคำว่า พึง

ทรงอติเรกจีวรได้ ๑๐ วัน เป็นอย่างยิ่ง นี้ ก็จริงแล แต่ทรงแสดง

เรื่องเหมือนไม่เคยมี ด้วยอำนาจแห่งเรื่องที่เกิดขึ้น แล้วทรงตั้งสิกขาบท

ไว้.

จีวรรีบด่วนตรัสเรียกว่า อัจเจกจีวร. ก็เพื่อแสดงจีวรนั้นเป็นผ้า

รีบด่วน จึงตรัสคำว่า บุคคลประสงค์จะไปในกองทัพก็ดี เป็นต้น .

บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยบทว่า สทฺธา นี้ ทรงแสดงเหตุเพียง

สัทธาธรรมดาเท่านั้น.

ด้วยบทว่า ปสาโท นี้ ทรงแสดงสัทธาอย่างแรงกล้า มีความ

ผ่องใสดี.

จีวรที่ทายกมีความประสงค์จะถวายด้วยเหตุเหล่านี้จึงส่งทูตมา หรือ

มาบอกเองอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าจักถวายผ้าจำนำพรรษา ได้ชื่อว่า อัจเจก-

จีวร ในคำว่า เอต อจฺเจกจีวร นาม นี้แล. แต่ถึงจีวรที่ภิกษุปัจจุทธรณ์

(ถอน) แม้ซึ่งจีวรที่มิใช่อัจเจกจีวร อันเกิดขึ้นตั้งแต่วัน ๖ ค่ำแล้ว เก็บ

ไว้ ก็ได้บริหารนี้เหมือนกัน .

หลายบทว่า สญฺาณ กตฺวา นิกฺขิปิตฺพฺพ ได้แก่ พึงทำเครื่องหมาย

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1108

บางอย่างแล้ว เก็บไว้. คำว่า พึงทำเครื่องหมายแล้วเก็บไว้ นี้ พระผู้มี-

พระภาคเจ้าตรัสไว้ทำไม ? เพราะว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายแจกอัจเจกจีวรนั้น

ก่อนวันปวารณา, ภิกษุที่ได้ผ้าอัจเจกจีวรนั้นไป ต้องไม่เป็นผู้ขาดพรรษา.

แต่ถ้าเป็นผู้ขาดพรรษา จีวรจะกลายเป็นของสงฆ์ไปเสีย; เพราะฉะนั้น

จักต้องกำหนดแจกให้ดี; (เพราะเหตุนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำนี้ไว้).

คำอย่างนี้ว่า อจฺเจกจีวเร อจฺเจกจีวรสญฺี เป็นต้น พระผู้มี-

พระภาคเจ้าตรัสหมายเอาเฉพาะจีวรที่แจกกันไปแล้ว. แต่ถ้ายังไม่ได้แจก

กัน หรือเป็นจีวรที่เก็บไว้ในเรือนคลังของสงฆ์, แม้ในเพราะล่วงสมัยไป

ก็ไม่เป็นอาบัติ. อติเรกจีวรได้บริหาร ๑๐ วัน ด้วยประการฉะนี้ ไตรจีวร

ไม่มีบริหารเลยแม้วันเดียว.

ผู้ศึกษาพึงทราบว่า จีวร คือ ผ้าอาบน้ำฝนที่ยังไม่ได้ทำ เมื่อ

ไม่ได้กรานกฐิน ได้บริหาร ๕ เดือน, เมื่อเพิ่มฤดูฝน (เพิ่มอธิกมาส)

ได้บริหาร ๖ เดือน, เมื่อได้กรานกฐินได้บริหารอีก ๔ เดือน, ได้บริหาร

อีกหนึ่งเดือน ด้วยอำนาจการอธิษฐานให้เป็นจีวรเดิม เมื่อมีความหวังจะ

ได้ (ผ้า) ในวันสุดท้ายแห่งฤดูหนาว รวมเป็นได้บริหาร ๑๑ เดือน

อย่างนี้. อัจเจกจีวร เมื่อไม่ได้กรานกฐิน ได้บริหาร ๑ เดือนกับ ๑๑ วัน,

เมื่อได้กรานกฐิน ได้บริหาร ๕ เดือนกับ ๑๑ วัน, ต่อจากนั้นไป ไม่

ได้บริหาร แม้วันเดียว.

บทว่า อนจฺเจกจีวเร ได้แก่ ในจีวรอื่นที่คล้ายกับอัจเจกจีวร. คำ

ที่เหลือในสิกขาบทนี้ ตื้นทั้งนั้นแล.

สิกขาบทนี้ มีกฐินเป็นสมุฏฐาน เป็นอกิริยา โนสัญญาวิโมกข์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1109

อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓

ฉะนี้แล.

อัจเจกจีวรสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๙

เรื่องภิกษุหลายรูป

[๑๖๕] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ภิกษุทั้งหลายออกพรรษาแล้วยับยั้งอยู่ในเสนาสนะป่า พวกโจรเดือน ๑๒

เข้าใจว่า ภิกษุทั้งหลายจึงได้ลาภแล้ว จึงพากันเที่ยวปล้น ภิกษุทั้งหลาย

ได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ทรงอนุญาตให้เก็บจีวรไว้ในละแวกบ้าน

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมีกถา ในเพราะเหตุ

เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะป่า เก็บไตร

จีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้านได้

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

อนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะป่า เก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวก

บ้านได้ จึงเก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้าน แล้วอยู่ปราศเกิน

๖ คืน จีวรเหล่านั้นหายบ้าง ฉิบหายบ้าง ถูกไฟไหม้บ้าง ถูกหนูกัด

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1110

บ้าง ภิกษุทั้งหลายมีแต่ผ้าไม่ดี มีแต่จีวรปอน จึงถามกันขึ้นอย่างนี้ว่า

ท่านทั้งหลาย เพราะเหตุใด พวกท่านจึงมีแต่ผ้าไม่ดี มีแต่จีวรปอน

ครั้นแล้วภิกษุเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้

ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึง

เก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้าน แล้วอยู่ปราศเกิน ๖ คืนเล่า

แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุ

ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกภิกษุเก็บไตรจีวรผืนใด

ผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้าน แล้วอยู่ปราศเกิน ๖ คืน จริงหรือ

ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การ

กระทำของพวกภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร

ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉน ภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

จึงได้เก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งในละแวกบ้าน แล้วอยู่ปราศเกิน ๖

คืนเล่า การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ

เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ

ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1111

นั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อ

ความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยาย ดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความ

รับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อ-

ยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะ

อันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑

เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่ง

ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อ

ถือตามพระวินัย ๑

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1112

พระบัญญัติ

๔๘. ๙. อนึ่ง ภิกษุจำพรรษาแล้ว จะอยู่ในเสนาสนะป่า ที่

รู้กันว่าเป็นที่มีรังเกียจ มีภัยจำเพาะหน้า ตลอดถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒

ปรารถนาอยู่ พึงเก็บจีวร ๓ ผืน ๆ ใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้านได้

และปัจจัยอะไร ๆ เพื่อจะอยู่ปราศจากจีวรนั้น จะพึงมีแก่ภิกษุนั้น

ภิกษุนั้นพึงอยู่ปราศจากจีวรนั่นได้ ๖ คืนเป็นอย่างยิ่ง ถ้าเธออยู่ปราศ

ยิ่งกว่านั้น เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องภิกษุหลายรูป จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๖๖] บทว่า อนึ่ง...จำพรรษาแล้ว คือ ภิกษุออกพรรษาแล้ว

วันเพ็ญเดือน ๑๒ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ตรงกับวันปุรณมีดิถีเป็น

ที่เต็ม ๔ เตือน ในกัตติกมาส

คำว่า เสนาสนะป่า เป็นต้น ความว่า เสนาสนะที่ชื่อว่า ป่า

นั้นมีระยะไกล ๕๐๐ ชั่วธนูเป็นอย่างน้อย

ที่ชื่อว่า เป็นที่รังเกียจ คือ ในอาราม อุปจารแห่งอาราม มี

สถาน ที่อยู่ ที่กิน ที่ยืน ที่นั่ง ที่นอน ของพวกโจรปรากฏอยู่

ที่ชื่อว่า มีภัยเฉพาะหน้า คือ ในอาราม อุปจารแห่งอาราม มี

มนุษย์ถูกพวกโจร ฆ่า ปล้น ทุบตี ปรากฏอยู่

คำว่า ภิกษุ...จะอยู่ในเสนาสนะป่า... ความว่า ภิกษุจะยับยั้งอยู่

ในเสนาสนะเห็นปานนั้น.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1113

บทว่า ปรารถนาอยู่ คือ พอใจอยู่

คำว่า จีวร ๓ ผืน ๆ ใดผืนหนึ่ง ได้แก่ ผ้าสังฆาฏิ ผ้าอุตราสงค์

หรือผ้าอันตรายวาสก

คำว่า พึงเก็บ...ไว้ในละแวกบ้านได้ คือ พึงเก็บไว้ในโคจรคาม

โดยรอบได้

คำว่า และปัจจัยอะไร ๆ เพื่อจะอยู่ปราศจากจีวรนั้น จะพึงมี

แก่ภิกษุนั้น คือ มีเหตุ มีกิจจำเป็น

คำว่า ภิกษุนั้นพึงอยู่ปราศจากจีวรนั้นได้ ๖ คืนเป็นอย่างยิ่ง ความ

ว่า พึงอยู่ปราศจากได้เพียง ๖ คืนเป็นอย่างมาก.

บทว่า เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ คือ ยกเว้นภิกษุผู้ได้รับสมมติ

คำว่า ถ้าเธออยู่ปราศยิ่งกว่านั้น ความว่า เมื่ออรุณที่ ๗ ขึ้นมา

จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือ

บุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วเกิน ๖ คืน เป็น

ของจำจะสละ เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรนี้แก่สงฆ์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1114

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึง

ที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วเกิน ๖ คืน

เป็นของจำจะสละ เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่

ท่านทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่ง

กระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วเกิน ๖ คืน เป็นของ

จำจะสละ เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1115

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย

[๑๖๗] จีวรเกิน ๖ คืน ภิกษุสำคัญว่าเกิน อยู่ปราศ เว้นไว้แต่

ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรเกิน ๖ คืน ภิกษุสงสัย อยู่ปราศ เว้นไว้แต่ภิกษุได้สมมติ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรเกิน ๖ คืน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ถึง อยู่ปราศ เว้นไว้เเต่ภิกษุ

ได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้ถอน ภิกษุสำคัญว่าถอนแล้ว อยู่ปราศ เว้นไว้แต่

ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ได้สละ ภิกษุสำคัญว่าสละแล้ว อยู่ปราศ เว้นไว้เเต่ภิกษุ

ได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว อยู่ปราศ เว้นไว้เเต่ได้สมมติ

เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว อยู่ปราศ เว้นไว้แต่

ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว อยู่ปราศ เว้น

ไว้เเต่ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1116

จีวรยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว อยู่ปราศ เว้นไว้

แต่ภิกษุได้สมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุไม่ได้สละ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ

จีวรยังไม่ถึง ๖ ราตรี ภิกษุสำคัญว่าเกิน...ต้องอาบัติทุกกฏ

จีวรยังไม่ถึง ๖ ราตรี ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

จีวรยังไม่ถึง ๖ ราตรี ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ถึง ๖ ราตรี บริโภค

ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๖๘] ภิกษุอยู่ปราศ ๖ ราตรี ๑ ภิกษุอยู่ปราศไม่ถึง ๖ ราตรี ๑

ภิกษุอยู่ปราศ ๖ ราตรีแล้วกลับมายังคามสีมา อยู่แล้วหลีกไป ๑ ภิกษุ

ถอนเสียภายใน ๖ ราตรี ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวรหาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑

จีวรถูกไฟไหม้ ๑ จีวรถูกชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุได้สมมติ ๑

ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๙ จบ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1117

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขาบทที่ ๙

พรรณนาสาสังกสิกขาบท

สาสังกสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในสาสังกสิกขาบทนั้นมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

สองบทว่า วุฏฺวสฺสา อารญฺเกสุ มีความว่า ภิกษุทั้งหลาย

เหล่านั้น แม้ในกาลก่อน ก็อยู่ในป่าเหมือนกัน. แต่ภิกษุเหล่านั้นอยู่

จำพรรษาในเสนาสนะใกล้เเดนบ้าน ด้วยสามารถแห่งปัจจัย เพราะเป็น

ผู้มีจีวรคร่ำคร่า เป็นผู้มีจีวรสำเร็จแล้ว ปรึกษากันว่า บัดนี้พวกเราหมด

กังวลแล้ว จักกระทำสมณธรรม จึงพากันอยู่ในเสนาสนะป่า.

บทว่า กตฺติกโจรกา ได้แก่ พวกโจรในเดือน ๑๒.

บทว่า ปริปาเตนฺติ มีความว่า ย่อมรบกวน คือ วิ่งขวักไขว่ไป

มาในที่นั้น ๆ แล้วทำให้หวาดเสียว ให้หนีไป.

สองบทว่า อนฺตรฆเร นิกฺขิปิตุ ได้แก่ เพื่อเก็บไว้ในภายในบ้าน.

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตให้เก็บไว้ในละแวกบ้าน เพื่อ

สงวนจีวรไว้ เพราะธรรมดาว่า ปัจจัยทั้งหลาย เป็นของหาได้ยากโดย

ชอบธรรม, จริงอยู่ ภิกษุผู้มีความขัดเกลา ไม่อาจเพื่อจะขอจีวร แม้

กะมารดา. แต่พระองค์ไม่ทรงห้ามการอยู่ป่า เพราะเป็นการสมควรแก่

ภิกษุทั้งหลาย.

ในคำว่า อุปวสฺส โข ปน นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า อุปวสฺส คือ เข้าอยู่แล้ว. มีคำอธิบายว่า เข้าอยู่จำพรรษา

แล้ว. แท้จริง บัณฑิตพึงเห็นนิคหิตในคำว่า อุปวสฺส นี้ ดุจในคำมี

คำว่า อุปสมฺปชฺช เป็นต้น. ความว่า เข้าถึงฤดูฝนและอยู่แล้ว (เข้าจำ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1118

พรรษาและปวารณาแล้ว). และบทว่า อุปวสฺส นี้ สัมพันธ์ด้วยคำนี้ว่า

ตถารูเปสุ ภิกฺขุ เสนาสเนสุ วิหรนฺโต แปลว่า ภิกษุอยู่ในเสนาสนะ

เห็นปานนั้น.

ท่านกล่าวอธิบายไว้อย่างไร ? ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุเข้าถึงฤดูฝน

และอยู่แล้ว (เข้าจำพรรษาและปวารณาแล้ว) จะอยู่ในเสนาสนะป่าที่รู้กัน

ว่าเป็นที่รังเกียจ มีภัยจำเพาะหน้าเห็นปานนั้น ตลอดกาลอันเป็นที่สุดแห่ง

วันเพ็ญเดือนกัตติกาหลัง ต่อจากนั้นมา เมื่อปรารถนาพึงเก็บจีวร ๓ ผืน

ผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้านได้

อนึ่ง เพราะว่า ภิกษุใด เข้าจำพรรษาแล้ว อยู่มาจนถึงวันเพ็ญ

เดือนกัตติกาต้น, ภิกษุรูปนั้น เป็นผู้อยู่ภายในแห่งพวกภิกษุผู้อยู่จำพรรษา

แล้ว; ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะไม่ทรงทำการวิจารณ์พยัญชนะ

ที่รกรุงรังยิ่งนี้ แสดงบุคคลผู้ควรแก่การเก็บจีวรอย่างเดียวในบทภาชนะ

จึงตรัสคำว่า วุฏฺวสฺสาน ดังนี้. ถึงบทว่า วุฏฺวสฺสาน นั้น ก็สัมพันธ์

กับคำนี้ว่า ภิกษุเมื่ออยู่ในเสนาสนะ. จริงอยู่ ในคำว่า วุฏฺวสฺสาน นี้

มีใจความดังนี้ว่า อยู่ในเสนาสนะทั้งหลาย ของพวกภิกษุผู้อยู่จำพรรษา

แล้ว. มีคำอธิบายว่า ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งอยู่ภายในแห่งภิกษุทั้งหลายผู้เห็น

ปานนี้. ลักษณะแห่งป่า ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้วในวรรณนาแห่งอทินนาทาน.

ส่วนความแปลกกันดังต่อไปนี้:- ถ้าว่า วัดมีเครื่องล้อม พึงวัดตั้งแต่

เสาเขื่อนแห่งบ้านซึ่งมีเครื่องล้อม และจากสถานที่ควรล้อมแห่งบ้านที่ไม่

ได้ล้อมไป จนถึงเครื่องล้อมวัด. ถ้าเป็นวัดที่ไม่ได้ล้อม, สถานที่ใดเป็น

แห่งแรกเขาทั้งหมด จะเป็นเสนาสนะก็ดี โรงอาหารก็ดี สถานที่ประชุม

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1119

ประจำก็ดี ต้นโพธิ์ก็ดี เจดีย์ก็ดี, ถ้าแม้นมีอยู่ห่างไกลจากเสนาสนะ,

พึงวัดเอาที่นั้นให้เป็นเขตกำหนด.

ถ้าแม้นว่า มีหมู่บ้านอยู่ใกล้, พวกภิกษุอยู่ที่วัด ย่อมได้ยินเสียง

ของพวกชาวบ้าน, แต่ไม่อาจจะไปทางตรงได้ เพราะมีภูเขาและแม่น้ำ

เป็นต้นกั้นอยู่ และทางใดเป็นทางตามปกติของบ้านนั้น ถ้าแม้นจะต้อง

โดยสารไปทางเรือ, ก็พึงกำหนดเอาที่ห้าร้อยชั่วธนู จากบ้านโดยทางนั้น.

แต่ภิกษุใดปิดกั้นหนทางในที่นั้น ๆ เพื่อยังบ้านใกล้ให้ถึงพร้อมด้วยองค์

ภิกษุนี้ พึงทราบว่า ผู้ขโมยธุดงค์.

บทว่า สาสงฺกสมฺมตาน แปลว่า รู้กันว่า เป็นที่มีรังเกียจ.

อธิบายว่า เขารู้กันแล้วอย่างนั้น. แต่ในบทภาชนะ เพื่อจะทรงแสดง

การณ์เป็นเหตุให้เสนาสนะเหล่านั้นเป็นที่รู้กันว่า เป็นที่มีรังเกียจ จึงตรัส

คำมีว่า อาราเม อารามูปจาเร เป็นต้น. เสนาสนะที่เป็นไปกับด้วยภัย

เฉพาะหน้า ชื่อว่า สปฏิภยะ (มีภัยเฉพาะหน้า). อธิบายว่า มีภัยร้ายแรง

ชุกชุม. แต่ในบทภาชนะ เพื่อทรงแสดงการณ์เป็นเหตุให้เสนาสนะ

เหล่านั้นเป็นที่มีภัยจำเพาะหน้า จึงตรัสคำว่า อาราเม อารามูปจาเร

เป็นต้น.

ข้อว่า สมนฺตา โคจรคาเม นิกฺขิเปยฺย มีความว่า เมื่อมีองค์ครบ

พึงเก็บไว้ ในโคจรคามที่ตนพอใจ ในทุกทิศาภาคโดยรอบแห่งเสนาสนะ

ในเสนาสนะป่านั้น มีองคสมบัติดังต่อไปนี้:- ภิกษุเข้าพรรษา

ในวันเข้าพรรษาแรก ปวารณาในวันมหาปวารณา, นี้เป็นองค์อันหนึ่ง.

ถ้าภิกษุเข้าพรรษาในวันเข้าพรรษาหลังก็ดี มีพรรษาขาดก็ดี ย่อมไม่ได้

เพื่อจะเก็บไว้. เป็นเดือน ๑๒ เท่านั้น, นี้เป็นองค์ที่ ๒. นอกจากเดือน

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1120

๑๒ ไป ย่อมไม่ได้เพื่อจะเก็บ. เป็นเสนาสนะที่ประกอบด้วยประมาณ

อย่างต่ำ ๕๐๐ ชั่วธนูเท่านั้น, นี้เป็นองค์ที่ ๓. ในเสนาสนะที่มีขนาด

หย่อน หรือมีขนาดเกินคาวุตไป ย่อมไม่ได้ (เพื่อจะเก็บไว้). จริงอยู่

ภิกษุเที่ยวบิณฑบาตแล้วอาจเพื่อกลับมาสู่วัดทันเวลาฉัน ในเสนาสนะใด,

เสนาสนะนั้น ทรงประสงค์เอา ในสิกขาบทนี้. แต่ภิกษุผู้รับนิมนต์ไว้

ไปสิ้นทางกึ่งโยชน์บ้าง โยชน์หนึ่งบ้าง แล้วกลับมาเพื่อจะอยู่. ที่นี้ไม่ใช่

ประมาณ. เป็นเสนาสนะมีความรังเกียจ และมีภัยเฉพาะหน้าเท่านั้น, นี้

เป็นองค์ที่ ๔ จริงอยู่ ภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะ ไม่มีความรังเกียจ ไม่มีภัย

เฉพาะหน้า แม้ประกอบด้วยองค์ก็ไม่ได้ เพื่อจะเก็บไว้ ฉะนี้แล.

สองบทว่า อญฺตฺร ภิกฺขุสมฺมติยา มีความว่า เว้นไว้เเต่โกสัม-

พิกสมมติ ที่ทรงอนุญาตไว้ในอุทโทสิตสิกขาบท. ก็ถ้าว่า มีภิกษุได้

สมมตินั้นไชร้, จะอยู่ปราศจากเกิน ๖ ราตรีไปก็ได้.

คำว่า ปุน คามสีม โอกฺกมิตฺวา มีความว่า ถ้ามีเสนาสนะอยู่ทาง

ทิศตะวันออกจากโคจรคาม และภิกษุนี้ จะไปยังทิศตะวันตก, เธอไม่

อาจจะมายังเสนาสนะให้ทันอรุณที่ ๗ ขึ้น แวะลงสู่แม้คามสีมาพักอยู่ใน

สภาหรือในที่แห่งใดแห่งหนึ่ง ทราบข่าวคราวแห่งจีวรแล้วจึงหลีกไป

ควรอยู่.

ภิกษุผู้ไม่อาจอย่างนั้น พึงยืนอยู่ในที่ที่ตนไปแล้วนั้นนั่นแล ปัจจุท-

ธรณ์ (ถอน) เสีย. จีวรจักตั้งอยู่ ในฐานแห่งอติเรกจีวร ฉะนี้แล. คำ

ที่เหลือในสิกขาบทนี้ ตื่นทั้งนั้นแล.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1121

สิกขาบทนี้ มีกฐินเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้นทางกายกับวาจา ๑ ทาง

กายวาจากับจิต ๑ เป็นอกิริยา โนสัญญาวิโมกข์ อจิตตกะ ปัณณัตติวัชชะ

กายกรรม วจีกรรม มีจิต ๓ มีเวทนา ๓ ดังนี้แล.

สาสังกสิกขาบท จบ

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๑๐

เรื่องพระฉัพพัคคีย์

[๑๖๙] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ-

เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น

ในพระนครสาวัตถี มีชาวบ้านหมู่หนึ่ง จัดภัตตาหารพร้อมทั้งจีวรไว้ถวาย

สงฆ์ ด้วยตั้งใจว่าจักให้ฉันแล้วจึงให้ครองจีวร ณ เวลาเดียวกันนั้นแล

พระฉัพพัคคีย์ได้เข้าไปหาชาวบ้านหมู่นั้น ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะชาวบ้าน

หมู่นั้นว่า ท่านทั้งหลาย ขอพวกท่านจงให้จีวรเหล่านี้แก่พวกอาตมา

ชาวบ้านหมู่นั้นกล่าวว่า ท่านเจ้าข้า พวกกระผมจะถวายไม่ได้

เพราะพวกกระผม จัดภิกษาหารพร้อมทั้งจีวรได้ถวายแก่พระสงฆ์ทุกปี

พระฉัพพัคคีย์กล่าวว่า ดูก่อนท่านทั้งหลาย ทายกของสงฆ์มีมาก ภัตตา-

หารของสงฆ์ก็มีมาก พวกอาตมาอาศัยพวกท่าน เห็นอยู่แต่พวกท่าน จึง

อยู่ในที่นี้ ถ้าพวกท่านไม่ให้แก่พวกอาตมา เมื่อเป็นเช่นนี้ ใครเล่าจัก

ให้แก่พวกอาตมา ขอพวกท่านจงให้จีวรเหล่านี้ แก่พวกอาตมาเถิด

เมื่อชาวบ้านหมู่นั้น ถูกพระฉัพพัคคีย์แค่นได้ จึงได้ถวายจีวรตาม

ที่ได้จัดไว้แก่พระฉัพพัคคีย์แล้วอังคาสพระสงฆ์เฉพาะภัตตาหาร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1122

บรรดาภิกษุที่ทราบว่า เขาจัดภัตตาหารพร้อมทั้งจีวรไว้ถวาย

พระสงฆ์ แต่ไม่ทราบว่า เขาได้ถวายจีวรแก่พระฉัพพัคคีย์ไปแล้ว จึง

ได้กล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย ขอพวกท่านจงน้อมถวายจีวรแก่พระสงฆ์

เถิด

ชาวบ้านหมู่นั้นกล่าวว่า ท่านเจ้าข้า จีวรตามที่ได้จัดไว้ไม่มี เพราะ

พระคุณเจ้าเหล่าพระฉัพพัคคีย์น้อมไปเพื่อตนแล้ว

บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ

ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์

รู้อยู่ จึงได้น้อมลาภที่เขาน้อมไว้เป็นของจะถวายสงฆ์มาเพื่อตนเล่า แล้ว

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ

เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพ-

พัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอรู้อยู่ น้อมลาภที่เขา

น้อมไว้เป็นของจะถวายสงฆ์มาเพื่อตน จริงหรือ

พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า

ทรงติเตียน

พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย

การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของ

สมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอรู้อยู่ จึงได้น้อมลาภที่เขา

น้อมไว้เป็นของจะถวายสงฆ์มาเพื่อตนเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1123

ไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวก

เธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และ

เพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว

ทรงบัญญัติสิกขาบท

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้

แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก

ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ

เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย

ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่

น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย

ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่

ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบท

แก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อ

ความรับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อข่มบุคคล

ผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกัน

อาสวะอันจักบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดใน

อนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความ

เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระ-

สัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1124

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง

อย่างนี้ ว่าดังนี้:-

พระบัญญัติ

๔๙. ๑๐. อนึ่ง ภิกษุใดรู้อยู่ น้อมลาภที่เขาน้อมไว้เป็นของจะ

ถวายสงฆ์มาเพื่อตน เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.

เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ

สิกขาบทวิภังค์

[๑๗๐] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการ

งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างโด มีปกติอย่างใด

มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ

ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.

บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ

อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ

โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกขุ ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ-

อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่าภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ

เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ

ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้

ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1125

ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ

ควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้

ที่ชื่อว่า รู้อยู่ คือ รู้เอง หรือคนอื่นบอกเธอ หรือเจ้าตัวบอก

ที่ชื่อว่า เป็นของจะถวายสงฆ์ ได้แก่ ของที่ถวายแล้ว บริจาค

แล้ว แก่สงฆ์

ที่ชื่อว่า ลาภ ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เภสัชบริขาร

อันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ โดยที่สุด แม้ก้อนแห่งจุรณ ไม้ชำระฟัน ด้าย

ชายผ้า

ที่ชื่อว่า ที่เขาน้อมไว้ คือ เขาได้เปล่งวาจาไว้ว่า จักถวาย จัก

กระทำ ภิกษุน้อมมาเพื่อตน ในประโยคที่ทำเป็นทุกกฏ ได้มาเป็นนิสสัคคีย์

คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละลาภนั้น อย่างนี้:-

วิธีเสียสละ

เสียสละแก่สงฆ์

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้า

ภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ลาภนี้เขาน้อมไปเป็นของจะถวายสงฆ์ ข้าพเจ้ารู้

อยู่ น้อมมาเพื่อตน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละลาภนี้แก่สงฆ์

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนลาภที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ลาภนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1126

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่

แล้ว สงฆ์พึงให้ลาภนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้

เสียสละแก่คณะ

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่านเจ้าข้า ลาภนี้เขาน้อมไปเป็นของจะถวายสงฆ์ ข้าพเจ้ารู้

อยู่ น้อมมาเพื่อตน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละลาภนี้แก่ท่าน

ทั้งหลาย

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ

พึงคืนลาภที่เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-

ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า ลาภนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็น

ของจำจะสละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของ

ท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้งหลายพึงให้ลาภนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.

เสียสละแก่บุคคล

ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า

นั่งกระโหย่งเท้าประณมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า

ท่าน ลาภนี้เขาน้อมไปเป็นของจะถวายสงฆ์ ข้าพเจ้ารู้อยู่

น้อมมาเพื่อตน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละลาภนี้แก่ท่าน

ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ

พึงคืนลาภที่เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้ลาภนี้แก่ท่าน ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1127

บทภาชนีย์

นิสสัคคิยปาจิตตีย์

ลาภที่เขาน้อมไว้ ภิกษุสำคัญว่าเขาน้อมไว้ น้อมมาเพื่อตน เป็น

นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์

ทุกกฏ

ลาภที่เขาน้อมไว้ ภิกษุสงสัย น้อมมาเพื่อตน ต้องอาบัติทุกกฏ

ไม่ต้องอาบัติ

ลาภที่เขาน้อมไว้ ภิกษุสำคัญว่าเขาไม่ได้น้อมไว้ น้อมมาเพื่อตน

ไม่ต้องอาบัติ

ทุกกฏ

ลาภที่เขาน้อมไว้เพื่อสงฆ์ ภิกษุน้อมมาเพื่อสงฆ์หมู่อื่นก็ดี เพื่อ

เจดีย์ก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

ลาภที่เขาน้อมไว้เพื่อเจดีย์ ภิกษุน้อมมาเพื่อเจดีย์อื่นก็ดี เพื่อสงฆ์

ก็ดี เพื่อคณะก็ดี เพื่อบุคคลก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

ลาภที่เขาน้อมไว้เพื่อบุคคล ภิกษุน้อมมาเพื่อบุคคลอื่นก็ดี เพื่อ

สงฆ์ก็ดี เพื่อคณะก็ดี เพื่อเจดีย์ก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ

ลาภที่เขาไม่ได้น้อมไว้ ภิกษุสำคัญว่าเขาน้อมไว้ น้อมมาเพื่อตน

ต้องอาบัติทุกกฏ

ลาภที่เขาไม่ได้น้อมไว้ ภิกษุสงสัย...ต้องอาบัติทุกกฏ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1128

ไม่ต้องอาบัติ

ลาภที่เขาไม่ได้น้อมไว้ ภิกษุสำคัญว่า เขาไม่ได้น้อมไว้ น้อมมา

เพื่อตน ไม่ต้องอาบัติ.

อนาปัตติวาร

[๑๗๑] ภิกษุอันพวกทายกถามว่า จะถวายที่ไหน ดังนี้ บอก

แนะนำว่า ไทยธรรมของพวกท่าน พึงได้รับการใช้สอย พึงได้รับการ

ปฏิสังขรณ์ หรือพึงตั้งอยู่ได้นาน ในที่ใด ก็หรือจิตของพวกท่านเลื่อมใส

ในภิกษุรูปใด ก็จงถวายในที่นั้น หรือภิกษุรูปนั้นเถิดดังนี้ ๑ ภิกษุวิกล-

จริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.

ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๑๐ จบ

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๓ จบ

หัวข้อประจำเรื่อง

๑. ปัตตสิกขาบท ว่าด้วยบาตร

๒. อูนปัญจพันธนสิกขาบท ว่าด้วยบาตรมีแผลหย่อนห้า

๓. เภสัชชสิกขาบท ว่าด้วยเภสัช

๔. วัสสิกสาฏิกสิกขาบท ว่าด้วยผ้าอาบน้ำฝน

๕. จีวรอัจฉินทนสิกขาบท ว่าด้วยการให้จีวรแล้วชิงเอามา

๖. สุตตวิญญัตติสิกขาบท ว่าด้วยการขอด้ายมาเอง

๗. เปสการสิกขาบท ว่าด้วยการสั่งช่างหูก ให้ทอจีวร

๘. อัจเจกจีวรสิกขาบท ว่าด้วยอัจเจกจีวร

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1129

๙. สาสังกสิกขาบท ว่าด้วยเสนาสนะป่าเป็นที่มีรังเกียจ

และ

๑๐. ปริณตสิกขาบท ว่าด้วยการน้อมลาภ ที่เขาจะถวาย

เป็นของสงฆ์

รวม ๑๐ สิกขาบทเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้แล้วดังนี้แล.

บทสรุป

[๑๗๒] ท่านทั้งหลาย ธรรม คือนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบท

ข้าพเจ้ายกขึ้นแสดงแล้วแล ข้าพเจ้าขอถามท่านทั้งหลายในธรรม คือ

นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบทเหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์

แล้วหรือ ข้าพเจ้าขอถามแม้ครั้งที่สองว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้ว

หรือ ข้าพเจ้าขอถามแม้ครั้งที่สามว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ

ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้ว ในธรรมคือนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบท

เหล่านี้ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

นิสสัคคิยกัณฑ์ จบ

ปัตตวรรคที่ ๓ สิกขายทที่ ๑๐

พรรณนาปริณตสิกขาบท

ปริณตสิกขาบทว่า เตน สมเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไป:-

ในปริณตสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-

บทว่า ปูคสฺส แปลว่า หมู่. ความว่า หมู่ผู้บำเพ็ญธรรม.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1130

บทว่า ปฏิยตฺต แปลว่า ตกแต่งแล้ว.

ด้วยคำว่า พหู สงฺฆสฺส ภตฺตา นี้ พวกภิกษุฉัพพัคคีย์ ย่อมแสดง

ความหมายว่า สงฆ์มีภัตมากมาย คือมีทางเกิดลาภมิใช่น้อย สงฆ์ไม่

บกพร่องด้วยอะไร ๆ.

บทว่า โอโณเชถ แปลว่า พวกท่านจงถวาย.

ถามว่า ก็การที่ภิกษุกล่าวอย่างนี้ ควรหรือ ?

ตอบว่า เพราะเหตุไร จะไม่ควร ? เพราะว่าภิกษาที่เขานำมา

จำเพาะนี้ เป็นของที่เขานำมาตกแต่งไว้ เพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ในคราว

หนึ่ง. ธรรมดาปยุตวาจา (การออกปากขอ) ย่อมไม่มีในปัจจัยมีจีวร

เป็นต้น ที่เขานำมาตระเตรียมไว้ และในส่วนที่เขาตั้งเจาะจงไว้.

[อธิบายลาภสงฆ์และการน้อมลาภสงฆ์]

บทว่า สงฺฆิก แปลว่า ของมีอยู่แห่งสงฆ์. จริงอยู่ ลาภนั้นแม้

ยังไม่ถึงมือ ก็จัดว่าเป็นของสงฆ์ โดยปริยายหนึ่ง เพราะเขาน้อมไปเพื่อ

สงฆ์แล้ว, แต่ในบทภาชนะ ท่านพระอุบาลีแสดงลาภของสงฆ์โดยตรง

ทีเดียว ด้วยอำนาจแห่งการขยายความ อย่างนี้ว่า ที่ชื่อว่าของสงฆ์ ได้แก่

ของที่เขาถวายแล้ว บริจาคแล้วแก่สงฆ์.

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสวัตถุที่สงฆ์ควรได้ ด้วยบทว่า ลาภ. ด้วย

เหตุนั้น แล ในนิเทศแห่งบทว่า ลาภ นั้น จึงตรัสคำว่า จีวรปิ เป็นต้น .

บทว่า ปริณต ได้แก่ ที่เขาถวายสงฆ์ คือ ที่เขาตั้งไว้เป็นของโอน

ไปเพื่อสงฆ์ เอนไปเพื่อสงฆ์. ก็เพื่อทรงแสดงการณ์เป็นเหตุที่เขาน้อมลาภ

นั้นไป พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทภาชนะว่า คือ ที่เขาเปล่งวาจาว่า

พวกข้าพเจ้า จักถวาย จักกระทำ ดังนี้.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1131

สองบทว่า ปโยเค ทุกฺกฏ มีความว่า เป็นทุกกฏ ทุกประโยคที่

น้อมลาภซึ่งเขาน้อมไป (เพื่อสงฆ์) มาเพื่อตน. เป็นนิสสัคคีย์เพราะได้มา

คือ เพราะลาภนั้นถึงมือ. แต่ถ้าว่าของนั้นเป็นอันเขาถวายสงฆ์แล้ว, จะ

รับเอาของที่เขาถวายสงฆ์แล้วนั้นมา ไม่ควร, พึงถวายแก่สงฆ์นั้นแล.

ก็ภิกษุใด พลอยกินกับพวกคนวัด, สงฆ์พึงให้ตีราคาภัณฑะนั้น ปรับ

อาบัติแก่ภิกษุนั้น . แต่เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์แก่ภิกษุผู้รู้ว่าลาภเขาน้อมไป

เพื่อสงฆ์ แล้วน้อมลาภที่เขาน้อมไปแล้ว ของพวกสหธรรมิกก็ดี ของพวก

คฤหัสถ์ก็ดี โดยที่สุดแม้ของมารดา มาเพื่อตนว่า ท่านจงให้สิ่งนี้แก่เรา

แล้วถือเอา. เป็นปาจิตตีย์ล้วน ๆ แก่ภิกษุผู้น้อมไปเพื่อคนอื่นอย่างนี้ว่า

ท่านจงให้แก่ภิกษุนี้. ภิกษุน้อมบาตรใบหนึ่ง หรือจีวรผืนหนึ่งมาเพื่อตน

น้อมไปเพื่อคนอื่นใบหนึ่ง หรือผืนหนึ่ง, เป็นทั้งนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ทั้ง

สุทธิกปาจิตตีย์. ในบาตรและจีวรมาก ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน. ข้อนี้

สมจริงดังคำที่พระอุบาลีเถระกล่าวไว้ว่า

ภิกษุพึงต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ และอาบัติปาจิตตีย์

ล้วน ที่ตรัสไว้ในขุททกสิกขาบทพร้อมกัน, ปัญหาข้อนี้ ท่าน

ผู้ฉลาดทั้งหลายคิดกันแล้ว

ก็ปัญหานี้ ท่านกล่าวหมายเอาการน้อม (ลาภ). ฝ่ายภิกษุใดทราบ

ว่า ผ้าอาบน้ำฝนเขาน้อมไปเพื่อสงฆ์แม้ในเรือนของมารดา ในสมัยแห่ง

ผ้าอาบน้ำฝนแล้วน้อมเอาไปเพื่อตน, เป็นนิสสัคคีย์แก่ภิกษุนั้น น้อมไป

เพื่อผู้อื่น เป็นปาจิตตีย์ล้วน. พวกชาวบ้าน ปรึกษากันว่า พวกเราจัก

กระทำสังฆภัต จึงนำเนยใสและน้ำมันเป็นต้นมา. ถ้าแม้นภิกษุอาพาธ

รู้ว่าเขาน้อมไปเพื่อถวายสงฆ์แล้ว ยังขออะไร ๆ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1132

เหมือนกัน. ก็ถ้าภิกษุอาพาธนั้นถามว่า เนยใสเป็นต้นของพวกท่านที่นำ

มา มีอยู่หรือ ? เมื่อพวกเขาตอบว่า มีอยู่ขอรับ ! แล้วกล่าวว่า พวก

ท่านจงให้แก่เราบ้าง ดังนี้ สมควร. ถ้าแม้นพวกอุบาสก รังเกียจภิกษุ

อาพาธนั้น พูดว่า แม้สงฆ์ย่อมได้เนยใสเป็นต้นที่พวกเราถวายนี้แหละ.

นิมนต์ท่านรับเถิด ขอรับ ! แม้อย่างนี้ ก็ควร.

ข้อว่า สงฺฆสฺส ปริณต อญฺสงฺฆสฺส มีความว่า น้อมลาภที่

เขาน้อมไปเพื่อถวายสงฆ์ในวัดหนึ่ง หรือที่เขาน้อมไปเฉพาะวัดอื่นด้วย

พูดว่า พวกท่านจงถวายแก่สงฆ์ในวัดชื่อโน้น.

บทว่า เจติยสฺส วา มีความว่า น้อมไปเพื่อเจดีย์อย่างนี้ว่า ถวาย

สงฆ์จะมีประโยชน์อะไร ? พวกท่านจงทำการบูชาแก่พระเจดีย์ ดังนี้ก็ดี.

ในคำว่า เจติยสฺส ปริณต นี้ มีวินิจฉัยดังนี้:- แม้จะบูชาดอกไม้

ที่เจดีย์อื่น จากต้นไม้ดอกที่เขากำหนดปลูกไว้ เพื่อประโยชน์แก่เจดีย์อื่น

ก็ไม่ควร. แต่เห็นฉัตรหรือธงแผ่นผ้าที่เขาบูชาไว้เเก่เจดีย์หนึ่ง แล้วให้

ถวายของที่เหลือแก่เจดีย์อื่น สมควรอยู่.

สองบทว่า ปุคฺคลสฺส ปริณต มีความว่า ชั้นที่สุดแม้อาหารที่เขา

น้อมไปเพื่อสุนัข ภิกษุน้อมไปเพื่อตัวอื่นอย่างนี้ว่า ท่านอย่าให้เเก่สุนัข

ตัวนี้ ดังนี้ ก็เป็นทุกกฏ. แต่ถ้าพวกทายกกล่าวว่า พวกเราอยากจะ

ถวายภัตแก่สงฆ์, อยากจะบูชาพระเจดีย์. อยากจะถวายบริขารแก่ภิกษุ

รูปหนึ่ง, จักถวายตามความพอใจของพวกท่าน, ขอท่านโปรดบอก,

พวกเราจะถวายในที่ไหน ? เมื่อพวกทายกกล่าวอย่างนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึง

บอกพวกเขาว่า พวกท่านจงถวายในที่ซึ่งพวกท่านปรารถนา. แต่ถ้าพวก

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 1133

ทายกถามอย่างเดียวว่า พวกข้าพเจ้า จะถวาย ณ ที่ไหน, ภิกษุพึงกล่าว

ตามนัยที่มาแล้วในบาลีนั่นแล. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มี ๓ สมุฏฐาน เกิดขึ้นทางกายกับจิต ๑ ทางวาจา

กับจิต ๑ ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็นกิริยา สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ

โลกวัชชะ กายกรรม วจีกรรม อกุศลจิต มีเวทนา ๓ ฉะนี้แล.

พรรณนาปริณตสิกขาบท ในอรรถกถาพระวินัย

ชื่อสมันตปาสาทิกา จบ

ติงสกกัณฑ์ จบ